SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 273
Baixar para ler offline
คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถ          ดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs                   (ฉบับราง)                    พัฒนาโดย บริษัท โลจิสติกส เทรนนิ่ง แอนด คอนซัลติ้ง จํากัด
สารบัญเรื่อง                                                                      หนาบทที่ 1 การใชคูมือ       หลักการ และเหตุผล                                                    2       วัตถุประสงคของโครงการ                                               2       กลุมเปาหมาย                                                        2       ขอบเขต และเนื้อหาของคูมอ  ื                                         3       ผูพัฒนาคูมือ                                                       4       สวนประกอบในคูมือ                                                   5       วิธการใชคูมือ           ี                                                                6บทที่ 2 ขีดความสามารถดานโลจิสติกส       รูจก SME’s             ั                                                              8       ภาพรวมของโลจิสติกส                                                  9       ความสําคัญ และประโยชนของโลจิสติกส                                  7       ความตองการโลจิสติกสในธุรกิจ                                        15       ขั้นตอนการพัฒนาระบบโลจิสติกสสําหรับผูประกอบการ SME’s               20       กุญแจแหงความสําเร็จ ในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส           27       ดรรชนีชี้วัดความสําเร็จในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส         31บทที่ 3 กระบวนการพัฒนาบุคลากรสําหรับโลจิสติกส       ลักษณะงานโลจิสติกส                                                  36       การพัฒนาบุคลากรดานโลจิสติกส                                        38       หลักสูตรโลจิสติกสสําหรับพัฒนาวิชาชีพโลจิสติกส                      42บทที่ 4 กระบวนการสํารวจความสามารถในการจัดการโลจิสติกส       การตรวจสอบโลจิสติกสภายในองคกร                                      50       การตรวจสอบลูกคาภายนอกองคกร                                         62       การวิเคราะหระยะเวลาของกิจกรรม(Lead Time)                            75บทที่ 5 เครื่องมือที่สําคัญในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกสขององคกร       วัตถุประสงคของโลจิสติกส                                            84       การเขาใจกลยุทธทางธุรกิจ                                            84       กิจกรรมโลจิสติกสที่ใชสรางขีดความสามารถในการแขงขัน                86                                             1
กิจกรรมในโซคุณคาในยุคโลกาภิวัตต                                90       กลยุทธซัพพลายเชน และการไหลของวัสดุ                               92       การจัดการการไหลของสารสนเทศ                                        97       เครื่องมือที่สําคัญในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส          104บทที่ 6 กรอบการวางแผน และเริ่มดําเนินการโลจิสติกส       การดําเนินงานพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส                     122       องคประกอบที่สําคัญของการพัฒนาโลจิสติกส                          126       การกําหนดระยะเวลาและทรัพยากรที่ตองใช                            129       การพัฒนาโลจิสติกสของ SME’s กับนโยบายดานโลจิสติกสของประเทศ      131บทที่ 7 การบริหารการเปลี่ยนแปลงในการพัฒนาขีดความสามารถในดานโลจิสติกส       โลจิสติกส และการเปลี่ยนแปลง                                      138       วิสัยทัศนโลจิสติกส มุมมอง และผลประโยชนทางธุรกิจ                140        การบริหารการเปลี่ยนแปลง                                          143บทที่ 8 การพัฒนาระบบเทคโนโลยี      ภาพรวมของการพัฒนาเทคโนโลยีโลจิสติกส                               168       เทคโนโลยีในการขนสง                                               168       เทคโนโลยีสารสนเทศโลจิสติกส                                       184       เทคโนโลยีการยกขนสินคา                                            195       เทคโนโลยีการจัดเก็บ                                               205       อุปกรณในการยกขนสินคาชนิดอื่นๆ                                   213       การเลือกอุปกรณสําหรับโลจิสติกส                                  218บทที่ 9. กรณีศึกษาการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs        บทนําเพื่อเขาสูกรณีศึกษา                                       228        การรวบรวมขอมูลสําหรับการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส        231        ตัวอยางการดําเนินการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส            256        กรณีศึกษาการพัฒนาระบบโลจิสติกสสําหรับ SME’s อยางงาย           267                                           2
บทที่ 1 การใชคูมือ 1                                                                            บทที่ 1                                                                           การใชคูมอ                                                                                     ื                                       วัตถุประสงค   หลักการ และเหตุผล                                           1. เพื่อใหทราบหลักการ และเหตุผลใน   วัตถุประสงคของโครงการ                                              การพัฒนาคูมือ                                                             กลุมเปาหมาย                                           2. เพื่อใหทราบวัตถุประสงคของโครงการ   ขอบเขต และเนื้อหาของคูมอ                           ื                                           3. เพื่อใหทราบวาผูที่ตองใชคูมือ   ผูพัฒนาคูมือ                                           4. เพื่อใหทราบขอบเขต และเนื้อหาของคูมือ   สวนประกอบในคูมือ                                           5. เพื่อใหทราบคณะทํางานพัฒนาคูมือ   วิธีการใชคูมือ                                           6. เพื่อใหทราบสวนประกอบในคูมือ                                           7. เพื่อใหสามารถใชคูมือไดอยางมี                                               ประสิทธิภาพ5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
บทที่ 1 การใชคูมือ 21. หลักการและเหตุผล     ปจจุบันธุรกิจตางๆ เริ่มมีความเขาใจ และ เห็นความสําคัญ ของ การบริหารจัดการโลจิสติกสอยางกวางขวาง ผูประกอบการตางๆ ตื่นตัว เมื่อพบวา บุคลากร ยังขาดความรูดานโลจิสติกส และกระบวนการดานโลจิสติกสในปจจุบัน ยังไมมีประสิทธิภาพดีพอ จึงไดสงพนักงานเขาฝกอบรมดานโลจิสติกส ที่สถาบันการศึกษาและหนวยงานตางๆ จัดขึ้น อยางมากมาย                 อยางไรก็ดี พบวาผูประกอบการและผูบริหารของผูประกอบการ SMEs แมนวาจะได เรียนรูโลจิสติกสและนําไปปรับปรุงงาน เปนเรื่องๆ แตยังไมสามารถเขาใจและมองเห็นเสนทาง (Roadmap) ในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส ไดตลอดทังเสนทาง ทั้ง ยังไมสามารถวางแผนและดําเนินการไดอยางเปนระบบ ไดดวย                              ้                                                                ตนเอง ซึ่งจะเปนอุปสรรคสําคัญในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส แบบยั่งยืน         แมนวา จะมีหนวยงานทีจดฝกอบรมหลักสูตรดานโลจิสติกส และ หนวยงานทีใหคําแนะนํา                                    ่ั                                                 ่ปรึกษาดานการบริหารจัดการโลจิสติกส เพิ่มขึ้นมาก แตกยังไมเพียงพอ และทายสุดผูประกอบการ ก็                                                            ็ตองดําเนินการดวยตนเองอยูดี ดังนั้นถาองคกรมีคูมือ แนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส ที่ดี            ก็จะชวยใหผูบริหารสามารถนํามาใชในการวางแผนพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส ไดอยางมีประสิทธิภาพ สอดคลองและสนับสนุนแผนธุรกิจขององคกร โดยเฉพาะผูประกอบการที่อยูในขั้นเริ่มตน ก็จะสามารถเริ่มดําเนินการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส ไดอยางมั่นใจ และ เหมาะสมกับองคกรของตน2. วัตถุประสงคของโครงการ       เพื่อจัดทําคูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส       สําหรับใหผูประกอบการ SMEs ใชวางแผนและดําเนินการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกสของตนเองไดอยางเปนระบบ ตั้งแตเริ่มแรกจนถึง การพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกสอยางตอเนือง ซึ่งจะ                                                                                 ่นําไปสูการสรางความสามารถในการเขงขันแบบยั่งยืน โดยตองสามารถกําหนดขั้นตอน วิธีการระยะเวลาและทรัพยากรที่ตองใช และ การประเมินวัดผล ไดอยางชัดเจน งายตอการเขาใจและนําไป                             ปฏิบัติของพนักงานในองคกร3. กลุมเปาหมาย      1. ผูประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs)      2. ผูบริหาร และผูดําเนินงาน ในธุรกิจ SMEs      3. ผูใหบริการโลจิสติกส      4. นิสิต นักศึกษา ในสาขาการจัดการโลจิสติกส 5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
บทที่ 1 การใชคูมือ 34. ขอบเขตและเนื้อหาของคูมือ       คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส                    จะตองครอบคลุมหลักการแนวคิด วัตถุประสงค กลยุทธ เปาหมาย และวิธีการ ของ กระบวนการหรือกิจกรรมตางๆในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติสก (ในคูมือนี้ คําวาโลจิสติกส ใหรวม ซัพพลายเชนดวย) ในภาพรวม และทุกกระบวนการ/กิจกรรม ตั้งแตเริ่มแรกจนถึงการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกสอยางตอเนื่องเพื่อ สรางขีดความสามารถในการแขงขันอยางยั่งยืน ทั้งนี้ ตองรวมถึงแนวทางในการปรับเปลี่ยนโครงสรางการบริหารงาน วิธีการทํางาน บุคลากร และ วัฒนธรรมขององคกร โดยใชภาษาไทยทีเ่ ขาใจงาย ประกอบดวย ตัวอยาง กรณีศึกษา และ Check Sheet อยางงายๆ สําหรับดูทงภาพรวมและแตละั้กระบวนการ/กิจกรรม                   เพื่อใหผูประกอบการ SMEs สามารถวางแผนและดําเนินการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกสของตนเอง ไดอยางเปนระบบ สามารถกําหนดขันตอน วิธีการ ระยะเวลา                                                                                ้และทรัพยากรที่ตองใช                    และการประเมินวัดผลอยางชัดเจนงายตอการเขาใจและนําไปปฏิบัติของพนักงานในองคกร โดยเนนเนื้อหา ดังนี้            1. ความสําคัญ ประโยชน กุญแจแหงความสําเร็จ และ ดรรชนีชี้วัดความสําเร็จ ในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส ในภาพรวม และ ความสัมพันธของการพัฒนาขีดความสามารถขององคกร และ บุคลากร            2. ขั้นตอนหรือเสนทาง (Roadmap)ในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส ตั้งแตเริ่มแรกจนถึง การพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกสอยางตอเนือง เพื่อสรางความสามารถในการ                                                                         ่แขงขันอยางยังยืน ทั้งนี้ ใหรวมทั้งการพัฒนาขีดความสามารถขององคกร และ บุคลากร                ่            3. กระบวนการ/กิจกรรมตางๆ ในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส ขององคกร และบุคลากร ตลอดจนรายละเอียดของแตละกระบวนการ/กิจกรรม เชน                     การฝกอบรมความรูดานโลจิสติกส ซึ่งเปนสวนหนึ่งของการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกสของบุคลากร มีหลักสูตรอะไรบาง อะไรเปนหลักสูตรหลัก อะไรเปนหลักสูตรเสริม                     การสํารวจความสามารถในการบริหารจัดการโลจิสติกส ซึ่งเปนสวนหนึ่งของกระบวนการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส                   มีวิธีการใดบาง แตละวิธีมีขอดีขอเสียอยางไรดําเนินการอยางไร                     เครื่องมือที่สําคัญในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกสขององคกร มีอะไรบางแตละวิธีมีขอดีขอเสียอยางไร มีวิธีใชอยางไร            4. การวางแผนการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส ทําอยางไร แตละกระบวนการ/กิจกรรมอยางนอยตองประกอบดวยหลักการ แนวคิด วัตถุประสงค กลยุทธ เปาหมาย                          วิธีการระยะเวลาและทรัพยากรที่ตองใช และ การประเมินผล                                               5. การบริหารการเปลี่ยนแปลงในการพัฒนาขีดความสามารถในดานโลจิสติกส ทั้งในดานโครงสรางและวิธีการบริหารงาน บุคลากร และ วัฒนธรรม             6. เรื่องอื่นๆ ที่จําเปนตอการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส 5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
บทที่ 1 การใชคูมือ 45. ผูพัฒนาคูมือ และรายชื่อคณะทํางาน      ผูพัฒนาคูมือเลมนี้ คือ บริษัทโลจิสติกส เทรนนิ่ง แอนด คอนซัลติ้ง จํากัด โดยมีรายชื่อคณะที่ปรึกษาของโครงการ ประวัติการศึกษาโดยยอ ตําแหนงที่รับผิดชอบในโครงการและประสบการณปรากฏตามตารางตอไปนี้ที่             ชื่อ-นามสกุล                          สาขาที่จบ                          ตําแหนงที่รับผิดชอบ1.       ดร. คํานาย อภิปรัชญาสกุล บธ.บ. การตลาด,การจัดการกอสราง และ            ผูจัดการโครงการ         FCILT                          การจัดการทั่วไป – มสธ.                   ผูเชี่ยวชาญโลจิสติกส และการจัดการซัพ                                     บธ.บ. การจัดการขนสง มหาวิทยาลัยรามคําแหง   พลายเชน การขนสง การจัดการเชิงกลยุทธ                                     เศรษฐศาสตรบัณฑิต มสธ.                      การตลาด เศรษฐศาสตร วิศวกรรมโยธา                                     B. Eng .(Civil) มหาวิทยาลัยขอนแกน          วิศวกรรมอุตสาหการ ธุรกิจระหวางประเทศ                                     B.S.I.E – Petrochem. University             และเทคโนโลยีจัดเก็บเคลื่อนยาย รวมถึง                                     M.S.I.E. California State University        ระบบอัตโนมัติ                                     M. Sc. in Logistics – Aston University                                     MBA (International Business) -EAU                                     Ph.D. (Engineering Management) -USQ                                     Ph.D. (Supply Chain Management)- WU2        ดร. คงศักย ลอเลิศรัตนะ    B. Commerce จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย           ผูเชี่ยวชาญในการกําหนดรูปแบบทางธุรกิจ                                     M. S. (CEM) BAC                             ผูเชี่ยวชาญดานโลจิสติกส                                     Ph. D. (CEM) ABAC                           และการจัดการซัพพลายเชน3        นางสาวธรรญชนก บุษราคัม      ค.บ. มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม             เลขานุการโครงการ4        นางสาวปราณีต ละอองรัตน วท. บ. (คอมพิวเตอร) มหาวิทยาลัยรามคําแหง       ผูออกแบบกราฟฟค      5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
บทที่ 1 การใชคูมือ 56. สวนประกอบในคูมือ        ขอความ เนื้อหา ตัวอยาง และ กรณีศึกษา ที่ผูจัดทํานํามาใชในคูมือนี้ ไดมาอยางถูกตอง ไมมีการละเมิดลิขสิทธิ์ อยางเด็ดขาด และมีการอางถึงแหลงที่มาของขอมูลหรือขอความไวใหครบถวนดวย ทั้งใน คูมือ และ Presentation รวมทั้งจะตองมีการสรุปแหลงที่มาและเรื่องที่อางอิงทั้งหมดไวในทายบทของคูมือดวย โดยคูมือแนะนําแนวทางในการเพิ่มขีดความสามารถดานโลจิสติกส พรอมดวยเอกสาร และCDทั้งหมดถือเปนลิขสิทธิ์ของสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ซึ่งคูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส ในเลมประกอบดวย        1. รูปเลมขนาด A4 โดยจัดพิมพ และบันทึกดวย Microsoft Word 2003 เปนภาษาไทยตัวอักษรAngsana New ขนาด 16 Point โดยจัดพิมพ แยกเปนบท        2. ในเลมประกอบดวยแฟมบรรจุในแผน CD ในการนําเสนอ Microsoft Power Point 97-2003Presentation ซึ่งซึ่งพิมพดวยภาษาไทย Angsana New และภาษาอังกฤษ Tahoma        3. องคประกอบหลักในเลม                  หนารองปก                  ขอมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแหงชาติ                  กิตติกรรมประกาศ                  คํานําของ สถาบันสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม(สสว.)                  คํานําของสภาอุตสาหรรม                  สารบัญ (เนื้อหา)                  สารบัญรูปภาพ                  สารบัญตาราง                  บทที่ 1 การใชคูมือ                  บทที่ 2-9                  บรรณานุกรม                  ดัชนี       4. โครงสรางคูมือ เปนภาษาที่เขาใจงาย มีภาพมากขึน โดยภาพเปนภาพที่ตองคัดเลือกใหม มีกรณี                                                          ้ตัวอยางทีใชงานจริง ในการสรางขีดความสามารถในดานโลจิสติกส ทั้งในดานโครงสรางและวิธการ          ่                                                                                  ีบริหารงาน บุคลากร และ วัฒนธรรม โดยกรอบการจัดทําคูมือแบงเปน 9 บทดังนี้          1. การใชคูมือ          2. ขีดความสามารถดานโลจิสติกส          3. กระบวนการพัฒนาบุคลากรสําหรับโลจิสติกส 5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
บทที่ 1 การใชคูมือ 6          4. กระบวนการสํารวจความสามารถในการจัดการโลจิสติกส          5. เครื่องมือที่สําคัญในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกสขององคกร          6. กรอบการวางแผน และเริ่มดําเนินการโลจิสติกส          7. การบริหารการเปลี่ยนแปลงในการพัฒนาขีดความสามารถในดานโลจิสติกส          8. การพัฒนาระบบเทคโนโลยี          9. กรณีศึกษาการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs7. วิธีการใชคูมือ       1. ในคู มือแนะนํ าแนวทางในการพัฒนาขี ดความสามารถดานโลจิ สติก ส สําหรับ SME’sประกอบดวย คูมือ 1 เลม และ แผนซีดีแนะนําการใชคูมือ ซึ่งอยูในรูปแบบของ Microsoft Power Point(ภาษาไทย Tahoma) จํานวน 1 แผน       2. อานเนื้อหาที่สําคัญในบทที่ 2 ถึงบทที่ 8 เพื่อใหมพื้นความรูในการพัฒนาขีดความสามารถ                                                              ีดานโลจิสติกส สําหรับ SME’s       3. เมื่อตองการศึกษาเฉพาะเรืองที่สนใจ สามารถตรวจสอบหัวขอจาก สารบัญ                                   ่       4. เมื่อตองการศึกษาเนื้อหาทีเ่ กี่ยวกับเรื่องทีสนใจ สามารถตรวจสอบหัวขอจาก ดัชนี                                                       ่       5. เมื่อตองการประยุกตใชงานใหศกษาโดยตรงจาก บทที่ 9 โดยในบทนีจะเปนกรณีศกษา ซึ่ง                                             ึ                               ้           ึตัวอยางการรวบรวมขอมูล ประกอบดวยขอมูลที่ตองรวบรวม รายการตรวจเชค พรอมตาราง และตัวอยางแนวทางในการปรับปรุง และพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SME’s อยางเปนระบบ ซึ่งสามารถนําไปประยุกตใชไดทันทีสรุป     ในบทนีจะกลาวถึงหลักการ และเหตุผล วัตถุประสงคของโครงการ เพื่อใหทราบเจตนาในการ               ้พัฒนาคูมือเลมนี้ ผูที่ควรอานคูมือเลมนี้ ขอบเขตและเนื้อหาของคูมอ ผูพัฒนาคูมือ และวิธีการใชคูมือ                                                                     ืกอนที่จะเริ่มใชคูมือเพื่อใหสามารถใชคูมือไดอยางมีประสิทธิผล 5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
บทที่ 2 ขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs 7                                                                 บทที่ 2                              ขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs    รูจัก SME’s                         วัตถุประสงค    ภาพรวมของโลจิสติกส                      1. เขาใจลักษณะ SME’s    ความสําคัญ และประโยชนของโลจิสติกส      2. เขาใจภาพรวมของโลจิสติกส    ความตองการโลจิสติกสในธุรกิจ            3. ทราบความสําคัญ และโยชนของ    ขั้นตอนการพัฒนาระบบโลจิสติกสสําหรับ         โลจิสติกส     ผูประกอบการ SME’s                      4. ทราบความตองการโลจิสติกสในธุรกิจ    กุญแจแหงความสําเร็จ ในการพัฒนา          5. สามารถพัฒนาระบบโลจิสติกสสําหรับ    ขีดความสามารถดานโลจิสติกส                 SME’s    ดรรชนีชี้วัดความสําเร็จในการพัฒนา        6. ทราบกุญแจแหงความสําเร็จในการพัฒนา    ขีดความสามารถดานโลจิสติกส                  ขีดความสามารถดานโลจิสติกส                                             7. สามารถนํ า ดั ช นี ชี้ วั ด ความสํ า เร็ จ ในการ                                                พัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกสไป                                                ปรับใชได5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
บทที่ 2 ขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs 81. รูจัก SMEs        กอนที่จะ พัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SME’s ตองขอใหรูจักคําวา SMEs กอนธุรกิจทุกชนิดไมวาจะเปนการคาปลีก คาสง บริการ และการผลิต ที่จัดอยูอยูในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs :Small and Medium Enterprises) ตองมีขนาดสินทรัพยไมเกิน 100 ลาน (ธนาคารแหงประเทศไทยกําหนดที่ 50 ลานบาท) และมีคนงานไมเกิน 300 คน ซึ่งปจจุบันมักจะพูดกันถึงภาคการผลิต หรือโรงงานมากกวา ซึ่งมีคําศัพทอีกคําคือ SMIs (Small and Medium Industries SMIs) โดยที่SMIs ที่จดทะเบียนกับกระทรวงอุตสาหกรรมมีมากกวา 130,000 แหง การสราง SME’s ใหแข็งแกรงควรตองสรางเสนทางพัฒนาตนเอง และดําเนินการอยางตอเนื่อง ในสิ่งตอไปนี้                การรักษาองคความรูพื้นฐาน การคนควาวิจัย ตอยอดองคความรูเหลานั้น ความสามารถในการสรางนวตกรรมใหม และรับนวตกรรมใหม ตลอดจนการปรับการผสานองคความรูพื้นฐาน กับความรูใหมๆ ที่มาจากภายนอก                พัฒนาตนเองในฐานะผูประกอบการ ผูประกอบการที่ออนแอ โอกาสลมเหลวหรือปดตัวเองก็สูง โดย คุณสมบัติของผูประกอบการที่ดีมีดังนี้                  - การรูจักคิด หรือปจจุบันอาจเรียกวา มีวิสัยทัศน                  - ความกลาที่จะเสี่ยง โดยที่มีองคความรูพรอมเพรียงที่จะดําเนินการได                  - มีความสามารถแกสถานการณ และปรับตัวเขากับสถานการณได                  - มีความมุงมั่น และอดทน                  - มีคุณธรรม และจริยธรรมตอมนุษยและสังคมที่อยูอาศัยไว                ทุน หากไมใชเปนทุนที่สะสมมา หรือทุนมรดก ก็จะตองมีการแกปญหา โดยผูประกอบการทั้งรายใหมและรายเดิม ตองหาแหลงเงินกูจากสถาบันการเงินตางๆ เพื่อไมใหเกิดปญหาการขาดแคลนทุนดําเนินการของธุรกิจขนาดกลางและยอม                การพัฒนาขีดความสามารถด านโลจิสติกสใน SME’ ไมใชเรื่องงาย หากผูประกอบการที่ตองการประหยัดตนทุน เพิ่มยอดขาย สรางกําไรทางธุรกิจ และสรางขีดความสามารถในการแขงขันอย า งยั่ ง ยื น จํ า เป น ต อ งปรั บ การดํ า เนิ น งานทางธุ ร กิ จ ให เ ป น กระบวนการครอบคลุ ม ทุ ก กิ จ กรรมสอดคลองกับสภาพแวดลอมทางธุรกิจปจจุบัน โดยประกอบดวย คือ การรักษาความรูในทางธุรกิจ ปรับวัฒนธรรมองคกรใหสามารถแขงขันได การสรางขบวนการคิด พัฒนาบุคลากรใหมีองคความรู และการเตรียมเงินลงทุน ซึ่งการพัฒนาขีดความสามารถในองคกร แตกตางกันไป บางกิจการอาจปรับตัวสรางธุรกิจใหเติบโต บางรายก็ปดกิจการจากไปจากการหมดความสามารถที่จะแขงขัน ซึ่งเกิดขึ้นจํานวนมากในปจจุบัน  5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
บทที่ 2 ขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs 92. ภาพรวมของโลจิสติกส           โลจิสติกสถือวาเปนกลยุทธ ที่บริษัทชั้นนําทั่วโลกนํามาปรับปรุงความสามารถในการแขงขันทางธุรกิจ ซึ่งโลจิสติกส เกิดขึ้นมาพรอมมนุษย ซึ่งผูประกอบการ SME’ ดําเนินการอยูแลว ซึ่งแยกกันทําในรูปงานในแตละหนาที่ เชน งานจัดซื้อ งานผลิตหรือการบริการ และการจัดสง แตไมเชื่อมตอการอยางเปนระบบ ทําใหผลตอบแทนหรือประสิทธิผลต่ํา แตถาประสิทธิภาพสูงก็จะแขงขันไดงายฉะนั้นจําเปนอยางยิ่งที่ผูประกอบการตองมีความรูเกี่ยวกับโลจิสติกสกอน เพื่อนําไปพัฒนาตนเอง ซึ่งตองศึกษาในเรื่องตอไปนี้        2.1 ความหมายของโลจิสติกส           การจัดการโลจิสติกส เปนสวนหนึ่งของกระบวนการซัพพลายเชนทีวางแผนติดตั้ง ควบคุม                                                                                 ่ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการไหลไปขางหนาและยอนกลับ การจัดเก็บสินคา การบริการ และสารสนเทศที่เกี่ยวของระหวางจุดกําเนิดไปยังจุดของผูบริโภค เพื่อใหสอดคลองกับความตองการของลูกคา (The Council of Supply Chain Management Professionals :CSCMP)           การจัดการโลจิสติกส หมายถึงกระบวนการจัดการ การเคลื่อนยาย และจัดเก็บวัตถุดบ และ     ิสินคาจากผูขายวัตถุดิบ ไปยังผูบริโภครายสุดทาย (The Institute of Logistics and Transport, UK)           ซึ่งโลจิสติกส มีองคประกอบทั้งผูที่เกี่ยวของคือผูขายปจจัยการผลิต ผูประกอบการ SME’sและลูกคา ซึ่งประกอบดวยกิจกรรม การจัดซื้อ โลจิสติกสขาเขา และโลจิสติกสขาออก ดังแสดงในภาพที่ 2.1 ซึ่งโลจิสติกสมีหลายกิจกรรม คือ การพยากรณความตองการของลูกคา การวางแผนการผลิต การจัดซื้อ บรรจุภัณฑ การเคลื่อนยายสินคาภายในองคกร การผลิต คลังสินคา การขนสง การกระจายสินคา การบริการลูกคา เปนตน ทุกกิจกรรมในโลจิสติกสตองทํางานอยางตอเนื่อง และเกี่ยวของกันแบบเปนกระบวนการ การวัดผลงานการดําเนินงานในกระบวนการของบริษัททั้งหมด จะทําใหองคการมีการเจริญเติบโตอยางตอเนื่องมากกวาการแยกงานกันทํา หรือตางคนตางทํา ปจจุบันมีการแบงขอบเขตของโลจิสติกส เปน 2 กลุมกิจกรรมหลัก ดังตอไปนี้           1. โลจิสติกสขาเขา (Inbound Logistics) หรือ การจัดการวัสดุ (Material Management) จะสนับสนุนในการผลิตเปนหลัก มีงานที่เกียวของคือ การศึกษาความตองการพื้นที่จดเก็บ และการ                                          ่                                           ัเคลื่อนยายของวัตถุดิบ/สินคา/ชิ้นสวน บรรจุภัณฑ การจัดซื้อและจัดหา การผลิต รวมถึงตนทุนและบริการ เพื่อใหมีมูลคาเพิ่มในกิจกรรมทางเลือกที่ดีที่สุด           2. โลจิสติกสขาออก (Outbound Logistics) หรือ การจัดการการกระจายสินคา (PhysicalDistribution Management) จะสนองความตองการในการขาย และการตลาดเปนหลัก มีหนาทีหลักคือ            ่การจัดการคลังสินคา และการขนสง โดยคลังสินคาจะตองมีโครงสรางพื้นฐาน ระบบอํานวยความสะดวก อุปกรณตาง ๆ ระบบจัดการคลังสินคา และโครงสรางการบริหารจัดการ สวนงานขนสงจะเกี่ยวของกับการเลือกพนักงาน ที่มีทักษะ รูปแบบการขนสง วิธีการขนสง และมูลคาจากการทํางาน 5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
บทที่ 2 ขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs 10                             ภาพที่ 2.1 องคประกอบดานโลจิสติกส     2.2 กิจกรรมโลจิสติกส (Logistics Activities) กิจกรรมโลจิสติกสในแตละบริษัทมีการประยุกตใชในระดับที่แตกตางกัน บางบริษัทก็ใชเพียงบางกิจกรรม บางบริษัทก็ดําเนินงานครบถวนทุกกิจกรรมซึ่งมีหลายกิจกรรมดังแสดงในภาพที่ 2.2                          SME’s                                 ภาพที่ 2.2 กิจกรรมโลจิสติกส 5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
บทที่ 2 ขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs 11        2.3 การจัดการโซอุปทาน หรือการจัดการซัพพลายเชน (Supply Chain Management)           ซัพพลายเชน (Supply Chain) หมายถึง โรงงาน ทุกฝาย และกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการผลิตการจัดสงสินคา หรือการบริการจากผูขายปจจัยการผลิต (ผูขายของผูขาย )ลูกคา (ลูกคาของลูกคา)           ซึ่งปญหาที่กอใหการจัดการซัพพลายเชน คือ สินคาคงคลัง เพราะมีไวเพื่อรองรับความไมแนนอนในซัพพลายเชน การปรับปรุงพัฒนาซัพพลายเชนใหมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นจะนํามาซึ่งความพึงพอใจของลูก ค าที่ได รับสินค าที่ต องการ ในเวลาที่ถูกตอง และมี ปริมาณตามที่กํ าหนดไว โดยเสียคาใชจายรวมตลอดซัพพลายเชนที่ต่ํา ซึ่งจะมีผลใหองคการธุรกิจ สามารถหมุนเวียนเงินสดไดรวดเร็ว มีกําไรเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นการการจัดการซัพพลายเชนจึงกอใหเกิดประโยชนรวมกันทั้งตัวลูกคา และธุรกิจดังแสดงในภาพที่ 2.3                            ภาพที่ 2 .3 ความสัมพันธของซัพพลายเชน           การจัดการซัพพลายเชน หมายถึง กระบวนการบูรณาการ ประสานงาน และควบคุมการเคลื่อนยายสินคาคงคลังทั้งของวัตถุดิบ และสินคาสําเร็จรูป และ สารสนเทศที่เกี่ยวของในกระบวนการจากผูขายวัตถุดิบ ผานบริษัทไปยังผูบริโภค เพื่อใหเปนไปตามความตองการของผูบริโภค (Council ofLogistics Management)           ซึ่งโลจิสติกสมีความสัมพันธกับการจัดการซัพพลายเชน กลาวคือ โลจิสติกส จะควบคุมการไหลของวัสดุ และสินคาผานกิจกรรมโลจิสติกสตางๆ จากผูขายปจจัยการผลิตไปยังผูบริโภครายสุดทายสวน การจัดการซัพพลายเชน จะเปนการไหลของสารสนเทศ ยอนกลับจากผูบริโภครายสุดทายมายังผูขายปจจัยการผลิตรายแรก 5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
บทที่ 2 ขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs 12ตัวอยาง โลจิสติกส และการจัดการซัพพลายเชนของไวน        จากภาพที่ 2.4 จะเห็นไดวาการที่เรานั่งจิบทานไวนอยางดีกอนรับประทานอาหารทีบาน ทาน่ทราบมั๊ยวา กวาจะเปนองุน 1 พวง ไดผานกระบวนการซัพพลายเชนหลายขั้นตอน การไหลของวัตถุดิบที่อยูในรูปผลองุนหลังจากเก็บเกี่ยวที่ไรองุน จะมีการเคลื่อนยายเขาสูลานเก็บเพื่อเก็บหรือจําหนาย โดยอาจจะนําไปขายเปนผลไมเพื่อรับประทานสด ซึ่งวาเปนพื้นฐานในการบริโภคเบื้องตน บางครั้งมีการองุนมาแปรรูปตอเนื่องเปนหลายผลิตภัณฑ เชน องุนตากแหง น้ําองุนสด ลูกเกด หรือในโครงการหนึ่ง                                                                      ผลิตภัณฑหนึงตําบล(OTOP) จะนําไปแปรรูปเปนไวน ตองผานกระบวนการหมัก กรอง บรรจุขวด จะ              ่เห็นวาการไหลของวัตถุดิบตองผานอยางนอย 3 ฝายคือ ผูขายวัตถุดิบ(ไรองุน) ผูผลิตไวน(OTOP) และผูบริโภคหรือลูกคา โดยมีกจกรรมที่เกียวของอยางตอเนื่องอยางนอย 4 กิจกรรม คือการซื้อ การผลิต การ                           ิ           ่เคลื่อนยาย และการขาย การจัดการกิจกรรมในแตละบริษัทไมเหมือนกัน บริษัทใดที่สามารถทําใหตนทุนในกระบวนการต่ําสุดก็จะสามารถสรางความยั่งยืนในธุรกิจได        อุปทาน                           การไหลของวัตถุดิบ และสินคา                             อุปสงค                         จัดซื้อ     I     การผลิต I        จัดสง      I      การตลาด                            “ซื้อ”       “ผลิต”                              “เคลื่อนยาย“ขาย”                               การไหลของ                                     สารสนเทศ          วัตถุดิบ                                สินคาระหวางการผลิต                              สินคาสําเร็จรูป       ผูขายวัตถุดิบ                       การไหลของสินคาที่เกิดขึ้นรอบใหม                       ผูบริโภคสุดทาย        ผูขายสินคา                                              I = สิ นคาคงคลัง (INVENTORY)                        ภาพที่ 2.4 โลจิสติกส และการจัดการซัพพลายเชนของไวน 5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
บทที่ 2 ขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs 133. ความสําคัญ และประโยชนของโลจิสติกส      3.1 ความสําคัญของการจัดการโลจิสติกส ถามองบริษัทชั้นนําของไทย และตางประเทศ เชนบริษัทในเครือสหพัฒนพิบูลย โรงงานในเครือเจริญโภคภัณฑ (CPF) SME’s ผูผลิตชิ้นสวนยานยนตใหโตโยตา มิตซูบิชิ ฟอรด ฯลฯ โรงงานอาหารกระปอง ตางก็ใหความสําคัญ และลงทุนในการพัฒนาระบบโลจิสติกส และการจัดการซัพพลายเชน เนื่องจาก            1. การแขงขันรุนแรงไปทั่วโลก            2. ความตองการสินคาและบริการของลูกคามีหลากหลาย ไมมีขอบเขต            3. ตนทุนการดําเนินงานทั้งกระบวนการในบริษัท และซัพพลายเชนสูงขึ้น            4. ตนทุนในอนาคตทางธุรกิจไมแนนอน โดยเฉพาะอยางยิ่งคาน้ํามันเชื้อเพลิง            5. การบริการที่ไมสามารถตอบสนองความตองการของลูกคา ทําใหสูญเสียลูกคาได            6. ลูกคามีความตองการในการบริการในระดับที่สูงขึ้น            7. การจัดสงมีความซับซอนมากขึ้นทุกรูปแบบ ไมวาทางบก ทางเรือ และทางอากาศ            8. ธุรกิจตองการความถูกตองและรวดเร็ว            9. ธุรกิจตองการสรางขีดความสามารถในการแขงขันแบบยั่งยืน        3.2 ประโยชนจากโลจิสติกส โลจิสติกส สามารถสรางประโยชนทางธุรกิจใน SME’s ดังนี้             1. สามารถลดตนทุน และสรางกําไรทางธุรกิจ การใชประโยชนจากทรัพยากรที่ดีทําใหลดตนทุน และสรางกําไรทางธุรกิจได             2. เปนเครื่องมือสําคัญในการแขงขันทางธุรกิจ เปนที่ยอมรับกันในบริษัทที่มีการคาขามพรมแดนในยุคโลกาภิวัตต วาเปนกลยุทธ หรือ เครื่องมือสําคัญในการแขงขันทางธุรกิจ             3. เปลี่ยนการทํางานจากแบบทีแบงแยกแตละหนาที่เปนกระบวนการแทน การ                                               ่ดําเนินงานโลจิสติกสตองเชื่อมตอกับทุกกิจกรรมในองคกร             4. ประสานงานใหบรรลุเปาหมายและนโยบายขององคการ โลจิสติกส เปนการจัดการเชิงกลยุทธ ที่เกิดจากความพยายามในการจัดการใหบรรลุเปาหมายและนโยบายขององคการ             5. ทําใหงานทีเ่ กียวของกับฝายอื่นที่ตนทุนสูง สามารถลดตนทุนได โลจิสติกสตอง                                ่เกี่ยวของกับผูขายปจจัยการผลิต และลูกคา ของผูประกอบการขนาดกลางและขยาดยอม ฉะนันจึง                                                                                          ้สามารถหาแนวทางในการลดตนทุนทั้งซัพพลายเชนได             6. กอใหเกิดการใชทรัพยสินทีคุมคามากกวาเดิม การเชื่อมตอในซัพพลายเชนทําใหเกิดการ                                             ่ใชคลังสินคา ยานพาหนะ และอุปกรณอื่นๆ รวมกันได ทําใหสินทรัพยถูกใชอยางคุมคา             7. เพิ่มประสิทธิภาพในการบริการลูกคา การเชื่อมตอกันของทุกฝาย การใหขอมูลยอนกลับจากลูกคา สามารถตอบสนองความตองการลูกคาในเวลาอันสั้น และรวดเร็ว             8. สรางสัมพันธลูกคาภายในและภายนอกองคกร สืบเนื่องจากการดําเนินงานเปน 5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
บทที่ 2 ขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs 14กระบวนการทังภายในและภายนอกองคกร ทําใหทุกฝายมีความสัมพันธการมากขึ้น              ้            9. ทําใหเกิดความรวดเร็วในการสื่อสารอันเนื่องมาจากเทคโนโลยีสารสนเทศ การนําระบบบารโคด ระบบซอฟแวร ERP , eLogistics ,RFID ทําใหเกิดประสิทธิภาพในการดําเนินธุรกิจได            10. เปนพื้นฐานของการเจริญเติบโตของธุรกิจ จากประโยชนที่ไดกลาวมาขางตน จึงถือไดวาเปนพืนฐานในการขับเคลือนการเจริญเติบโตทางธุรกิจได         ้                ่            3.3 ประโยชนของการจัดการซัพพลายเชน ประโยชนที่ไดรับจากการจัดการซัพพลายเชนแบงเปน 5 สวนดังนี้                1. ประโยชนเชิงปฏิบติการ (Operational benefits) โดยทําใหกระบวนการทางธุรกิจสามารถ                                    ัดําเนินโดยอัตโนมัติ และสามารถมองเห็นการเปลี่ยนแปลงในกระบวนการ ทําใหลดตนทุน ลดรอบเวลาปรับปรุงผลิตผล ปรับปรุงคุณภาพ และปรับปรุงการใหบริการลูกคา                2. ประโยชนเชิงการจัดการ (Managerial benefits) การรวมขอมูลจากทุกฝายที่เกียวของ แลว                                                                                             ่นํามาวิเคราะหขอมูลภายในระบบ ชวยใหองคกรสามารถจัดการทรัพยากรไดดีขึ้น สามารถสนับสนุนในการตัดสินใจ และการวางแผน รวมถึงการปรับปรุงผลการดําเนินงาน                3. ประโยชนเชิงกลยุทธ(Strategic benefits) ภายใตสภาพแวดลอมทางธุรกิจที่เกียวของกัน                                                                                           ่จํานวนมาก ทําใหสามารถการบูรณาการทังภายในและภายนอก ชวยใหธุรกิจเจริญเติบโต เปนไปใน                                             ้ทิศทางเดียวกัน มีนวัตกรรม ตนทุนลดลง การสรางความแตกตางทั้งในสินคาและบริการ และสามารถเชื่อมตอกับภายนอกได                4. ประโยชนในโครงสรางพืนฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT infrastructure benefits)                                           ้จากการที่ไดเชือมตอซอฟแวรประยุกตที่สถาปตยกรรมเปนมาตรฐานเดียวกัน สามารถสนับสนุนความ                 ่ยืดหยุนทางธุรกิจ ลดตนทุนจากเทคโนโลยีสารสนเทศ และหนวยงานดานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่เพิ่มขึ้น ทําใหการติดตั้งซอฟแวรรวดเร็วขึ้น                5. ประโยชนเชิงองคกร (Organizational benefits) ทําใหองคกรมีความสามารถเพิ่มขึ้นสามารถสนับสุนการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสรางขององคกร ทําใหเกิดการเรียนรูแกพนักงาน สรางแรงจูงใจ และวิสัยทัศนทดีแกพนักงาน                            ี่         นอกจากนั้น Lawrence S. Gould, ShivaSoft Inc. ไดศึกษาพบวาในโรงงานที่ประยุกตใชโลจิสติกส และการจัดการซัพพลายเชน โดยใชซอฟแวรการวางแผนทรัพยากรองคกร (ERP) เพื่อปองกันความไมแนนอนของอุปสงค เครื่องจักรพัง พนักงานปวย วัตถุดิบมาชา การสั่งซื้อเรงดวนที่มการ    ีเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทําใหเกิดประโยชนดังนี้                   ผลงานการจัดสง(Delivery Performance)                    10-25%                   ลดสินคาคงคลังระหวางการผลิต (WIP reduction)            20-25%                   ลดเวลาในการตั้งเครื่องใหม (Setup time reduction)       สูงถึง 50% 5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
บทที่ 2 ขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs 15             ลดเวลาในการผลิต (Make time reduction)                  15-25%             ใชประโยชนจากแรงงาน และเครื่องจักร (Machine and labor utilization)15-25%             ลดเวลาที่ไมไดทํางาน (Reduction in idleness)                15-20%             ใชประโยชนทีมงานซอมบํารุง (Maintenance crew utilization) 10-15%       นอกจากนั้นยังมีประโยชนปลีกยอย ซึ่งยากที่อธิบายเปนตัวเลขได แตมีความสําคัญดังนี้             ทําใหกําหนดวันที่จดสงสินคาแมนยําและเปนจริงมากขึน                                  ั                               ้             ออกกําหนดการผลิตแบบทันเวลาพอดีได และลดงานระหวางการผลิต(WIP)             ลดเวลาในการผลิตหรือเพิ่มผลผลิต             สนองตอบรวดเร็ว อยางมีประสิทธิผลจากทุกระบบในการติดตอกัน             ทวนสอบสถานะใบสั่งงานและการใชประโยชนเครื่องจักรสําหรับงานระหวางการผลิต             บงชี้จุดที่มีโอกาสเกิดภาวะคอขวด เพื่อการวางแผนกลยุทธการผลิต             วางแผนการซอมบํารุงเชิงปองกัน เพื่อใหสามารถดําเนินการในชวงเวลาที่ไมไดทํางาน             ปรับปรุงการจัดการทรัพยากรสนับสนุน เชน เครื่องมือ แรงงาน วัตถุดบ และิ             สาธารณูปโภค             การคาดการณ การเปลี่ยนแปลงไวลวงหนา และ ลงมือปฏิบัติตามผลที่ไดจากการ             วิเคราะห4. ความตองการโลจิสติกสในธุรกิจ       4.1 กลยุทธองคกร กับโลจิสติกส ในปจจุบันการดําเนินการทางธุรกิจในแตละบริษท สวนมาก                                                                                   ัแยกงานทําในแตละฝาย ประโยชนเชิงบูรณาการขององคกรก็ต่ําลง เพราะในแตละฝายก็ใชทรัพยากรของตนเอง ไมสามารถใชรวมกัน จากภาพที่ 2.5 เกี่ยวกับกระบวนการดําเนินงานดานโลจิสติกส จะเห็นวาถาสามารถปรับการทํางานจากทีแยกกันทํา กลายเปนกระบวนการโลจิสติกส จะทําใหเกิดการใช                                 ่ทรัพยากรอยางมีประสิทธิผล ทําใหผลลัพธที่อยูในรูปของสินคาและบริการสูงขึ้น สามารถทําใหบริษัทสามารถบรรลุเปาหมายและสอดคลองกับกลยุทธองคกรในที่สุด 5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
บทที่ 2 ขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs 16                           ภาพที่ 2.4 กระบวนการดําเนินงานดานโลจิสติกส       4.2 ความขัดแยง ในสิงที่สนใจ (Conflicts of Interest) เนื่องจากโลจิสติกส ไมสามารถทํางาน                              ่แยกกันเปนแตละหนาที่ได ตองทํางานรวมกัน อาศัยซึ่งกันและกัน จึงทําใหมีโอกาสทีจะเกิดความขัดแยง                                                                                      ่ขึ้นได โดยธรรมเนียมปฏิบัติแลวโครงสรางองคการถูกกําหนดตามลักษณะหนาที่ของงาน แตละฝายปฏิบัติงานตามหนาที่เพียงกิจกรรมเดียวเทานั้น ซึ่งแตละฝายพยายามปรับปรุงใหการปฏิบัติงานดีขึ้นตามวัตถุประสงคของตน โดยปกติ SME’s มีวัตถุประสงค เพื่อดําเนินงานใหกจการมีกําไร และตนทุนต่ําลง                                                                           ิตัวอยางเชน           การจัดซื้อ มีจุดมุงหมายเพื่อหาแหลงจัดหาที่เชื่อถือได โดยมีตนทุนต่ําดวยการซื้อเปนจํานวน           มากจากหลายๆ แหลง           การผลิต มีจดมุงหมายอยูที่ตนทุนที่ต่ํา และการใชงานเครืองจักรสูงสุด โดยใชการผลิต                        ุ                                           ่           จํานวนมาก และผลิตอยางตอเนื่อง           การขนสง มีจดมุงหมายทีการใหบริการตองเชื่อถือได โดยมีตนทุนต่ําดวยการลดระยะทาง                          ุ         ่           ระหวางลูกคา กับโรงงานผลิตใหสั้นที่สุด           การคลังสินคา มีจุดมุงหมายอยูที่ตนทุนต่ํา ดวยการรวมสต็อกสินคาไวที่สวนกลาง เพื่อใหมี           การใชเครื่องจักรอุปกรณในการขนยายมากที่สุด       เมื่อตรวจสอบวัตถุประสงคเหลานี้โดยรอบคอบแลว จะพบวามีความขัดแยงระหวางหนาที่มากทีเดียว ถาขยายขอบเขตไปยังซัพพลายเชน ซึ่งบริษัทตางกัน ก็จะเพิ่มความขัดแยงมากขึ้น ซึ่งจําเปนตองคนหาวิธแกปญหาโดยรวมทั้งในปจจุบันและในอนาคต         ี  5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
บทที่ 2 ขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs 17      4.3 การแลกเปลี่ยน (Trade-Offs) หรือทางเลือก การตัดสินใจของบริษัท เพือใหมีการ                                                                                ่ปรับปรุงการดําเนินงานในกิจกรรมโลจิสติกสดานหนึ่งใหดีขึ้น โดยอาจจะทําใหอกดานหนึ่งดอยลง                                                                          ีฉะนั้นตองเลือกระหวางการลดตนทุนจากโลจิสติกส กับ ระดับการบริการ ดังแสดงในภาพที่ 2.6                                 ภาพที่ 2.6 ความสมดุลของตนทุนและการบริการ       โดยทั่วไปแลวถาตองการทําใหการบริการดีขึ้น ก็จะทําใหตนทุนเพิ่มตามไปดวย ถาตองการลดตนทุนก็อาจจะทําใหคณภาพการใหบริการดอยลงได ซึงสงผลใหเกิดทางเลือกซึ่งสามารถใหบริการใน                       ุ                                           ่ระดับตามที่ลกคาตองการดวยตนทุนทียอมรับได ทางเลือกในการตัดสินใจเกิดขึ้นไดในแตละระดับของ              ู                             ่กิจกรรมในซัพพลายเชน ซึงระดับของทางเลือกแบงเปน 4 ระดับดังนี้                            ่       ระดับที่ 1 ระดับซัพพลายเชน (Supply Chain) เปนระดับที่สูงที่สุดซึ่งเปนทางเลือกในระดั บ ซั พ พลายเชน ซึ่ ง เกี่ ย วข อ งกั บ การที่ บ ริ ษั ท ทํ า การตั ด สิ น ใจ ซึ่ ง อาจจะเพิ่ ม ต น ทุ น เพื่ อ ให ก ารดําเนินงานดานนี้มีประสิทธิผลมากขึ้น ซึ่งตองพิจารณาการแบงปนผลประโยชนดวย       ระดับที่ 2 ระดับบริษัท (Company) ในระดับนี้เปนทางเลือกระหวางตนทุน และการบริการ ซึ่งอยูในระดับของบริษัท       ระดับที่ 3 ระดับหนาที่ของงาน (Functional) ทางเลือกเชิงหนาที่ของงาน อาจเปนการตัดสินใจสรางคลังสินคาเพิ่มอีกหลายแหง เพื่อเก็บสินคาใหอยูใกลลูกคามากขึ้น และสงผลตอการลดตนทุนดาน                                                               การขนสง       ระดับที่ 4 ระดับกิจกรรม (Activity) เปนทางเลือกที่สามารถกระทําไดในสถานที่ประกอบกิจกรรมตัวอยางเชน สามารถตัดสินใจไดที่จะลงทุนจัดหาอุปกรณขนถายสินคาเพื่อลดตนทุนคาจางแรงงาน      ผลประโยชนที่ไดจากการพิจารณาการในการเพิ่มทางเลือกที่สูงขึ้น ยิ่งครอบคลุมผูที่เกี่ยวของในทางธุรกิจมาก ผลประโยชนยิ่งสูง จากการพิจารณาทางเลือกในระดับซัพพลายเชนจึงมีขนาดใหญที่สุดการมีขอมูลที่ชัดเจนเปนเรื่องสําคัญที่จะตองพิจารณา การกําหนดขอบเขตโดยรวมของซัพพลายเชน และ  5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
บทที่ 2 ขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs 18คนหาแนวทางที่จะทําใหไดทางเลือกดีที่สุด จึงเปนเปาหมายหลักทางธุรกิจ มากกวาที่จะมองหาทางเลือกยอยเพิ่มเติมในเฉพาะสวนใดสวนหนึ่ง       4.4 การตัดสินใจ และวัฏจักรการวางแผนงานโลจิสติกส (Decision Making and Planning Cycle)การจัดการโลจิสติกสอยางมีประสิทธิผลตองเกี่ยวของกับการตัดสินใจที่มีขอบเขตที่กวางขึ้น การตัดสินใจทางดานโลจิสติกส ขึ้นอยูกับขอบเขตของกิจกรรม ความตองการในการลงทุน ขอบเขตเวลาและความถี่ของการตัดสินใจที่เกี่ยวของทั้งหมด       ผลกระทบของการตัดสินใจในแตละระดับของธุรกิจ จะมีจุดที่สําคัญคือเรื่องการเงิน หรือตนทุนสวนอีก ดานหนึ่งที่มี ความสําคั ญในการพิจารณาคือการบริ การ ซึ่งทําใหมองเห็ นอยางชัดเจนวาการตัดสินใจแบบใด จะสงผลกระทบตอคุณคาการใหบริการลูกคามากที่สุด ซึ่งการตัดสินใจดานโลจิสติกสทั้งสามลักษณะ สามารถนํามาสรางความสัมพันธกับวัฏจักรการวางแผนงานดังภาพที่ 2.7                                ภาพที่ 2.7 วัฏจักรการวางแผนงาน      จากวัฏจักรการวางแผนงาน สามารถนํามาประกอบการตัดสินใจ เปน 3 ระดับดังนี้ 5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์Tongsamut vorasan
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑Tongsamut vorasan
 
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551Chao Chao
 
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒Tongsamut vorasan
 
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tongsamut vorasan
 
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒Tongsamut vorasan
 
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑Tongsamut vorasan
 
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัยมังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัยTongsamut vorasan
 
Ebook พระบรมสารีริกธาตุ น้อมนำปัญญา สู่สัมมาปฏิบัติ
Ebook พระบรมสารีริกธาตุ น้อมนำปัญญา สู่สัมมาปฏิบัติEbook พระบรมสารีริกธาตุ น้อมนำปัญญา สู่สัมมาปฏิบัติ
Ebook พระบรมสารีริกธาตุ น้อมนำปัญญา สู่สัมมาปฏิบัติPanda Jing
 
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tongsamut vorasan
 
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tongsamut vorasan
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑Tongsamut vorasan
 
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)chuvub
 
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔Tongsamut vorasan
 
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์Tongsamut vorasan
 
หลักสูตรปวส.(พาณิชยกรรม)
หลักสูตรปวส.(พาณิชยกรรม)หลักสูตรปวส.(พาณิชยกรรม)
หลักสูตรปวส.(พาณิชยกรรม)chuvub
 
Tri91 08+จุลวรรค+เล่ม+๖+ภาค+๑
Tri91 08+จุลวรรค+เล่ม+๖+ภาค+๑Tri91 08+จุลวรรค+เล่ม+๖+ภาค+๑
Tri91 08+จุลวรรค+เล่ม+๖+ภาค+๑Tongsamut vorasan
 
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์opalz
 

Mais procurados (20)

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
 
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
 
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
 
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
 
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒
 
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
 
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัยมังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
 
Ebook พระบรมสารีริกธาตุ น้อมนำปัญญา สู่สัมมาปฏิบัติ
Ebook พระบรมสารีริกธาตุ น้อมนำปัญญา สู่สัมมาปฏิบัติEbook พระบรมสารีริกธาตุ น้อมนำปัญญา สู่สัมมาปฏิบัติ
Ebook พระบรมสารีริกธาตุ น้อมนำปัญญา สู่สัมมาปฏิบัติ
 
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
 
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
 
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
 
ทาส1
ทาส1ทาส1
ทาส1
 
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
 
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
 
หลักสูตรปวส.(พาณิชยกรรม)
หลักสูตรปวส.(พาณิชยกรรม)หลักสูตรปวส.(พาณิชยกรรม)
หลักสูตรปวส.(พาณิชยกรรม)
 
Tri91 08+จุลวรรค+เล่ม+๖+ภาค+๑
Tri91 08+จุลวรรค+เล่ม+๖+ภาค+๑Tri91 08+จุลวรรค+เล่ม+๖+ภาค+๑
Tri91 08+จุลวรรค+เล่ม+๖+ภาค+๑
 
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์
 
Pttc195 b
Pttc195 bPttc195 b
Pttc195 b
 

Mais de Sompop Petkleang

คู่มือจัดการประชุมระหว่างประเทศ
คู่มือจัดการประชุมระหว่างประเทศคู่มือจัดการประชุมระหว่างประเทศ
คู่มือจัดการประชุมระหว่างประเทศSompop Petkleang
 
การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้
การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้
การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้Sompop Petkleang
 
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริ
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริคู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริ
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริSompop Petkleang
 
ประวัติศาสตร์พม่า
ประวัติศาสตร์พม่าประวัติศาสตร์พม่า
ประวัติศาสตร์พม่าSompop Petkleang
 
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่าคู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่าSompop Petkleang
 
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจคู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจSompop Petkleang
 
คู่มืออบรมอาสาสมัครดับไฟป่า เรื่องความปลอดภัยในการป้องกันและควบคุมไฟป่า
คู่มืออบรมอาสาสมัครดับไฟป่า เรื่องความปลอดภัยในการป้องกันและควบคุมไฟป่าคู่มืออบรมอาสาสมัครดับไฟป่า เรื่องความปลอดภัยในการป้องกันและควบคุมไฟป่า
คู่มืออบรมอาสาสมัครดับไฟป่า เรื่องความปลอดภัยในการป้องกันและควบคุมไฟป่าSompop Petkleang
 
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสานเอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสานSompop Petkleang
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้Sompop Petkleang
 
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์Sompop Petkleang
 
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์Sompop Petkleang
 

Mais de Sompop Petkleang (20)

คู่มือจัดการประชุมระหว่างประเทศ
คู่มือจัดการประชุมระหว่างประเทศคู่มือจัดการประชุมระหว่างประเทศ
คู่มือจัดการประชุมระหว่างประเทศ
 
การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้
การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้
การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้
 
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริ
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริคู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริ
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริ
 
ประวัติศาสตร์พม่า
ประวัติศาสตร์พม่าประวัติศาสตร์พม่า
ประวัติศาสตร์พม่า
 
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่าคู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
 
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจคู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
 
คู่มืออบรมอาสาสมัครดับไฟป่า เรื่องความปลอดภัยในการป้องกันและควบคุมไฟป่า
คู่มืออบรมอาสาสมัครดับไฟป่า เรื่องความปลอดภัยในการป้องกันและควบคุมไฟป่าคู่มืออบรมอาสาสมัครดับไฟป่า เรื่องความปลอดภัยในการป้องกันและควบคุมไฟป่า
คู่มืออบรมอาสาสมัครดับไฟป่า เรื่องความปลอดภัยในการป้องกันและควบคุมไฟป่า
 
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสานเอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
 
AEC Blue Print
AEC Blue PrintAEC Blue Print
AEC Blue Print
 
Flood r7 sainoi
Flood r7 sainoiFlood r7 sainoi
Flood r7 sainoi
 
Flood r6 bangyai
Flood r6 bangyaiFlood r6 bangyai
Flood r6 bangyai
 
Flood r5 bangkroi
Flood r5 bangkroiFlood r5 bangkroi
Flood r5 bangkroi
 
Flood r4 bangbuathong
Flood r4 bangbuathongFlood r4 bangbuathong
Flood r4 bangbuathong
 
Flood r3 paked
Flood r3 pakedFlood r3 paked
Flood r3 paked
 
Flood r2 nont
Flood r2 nontFlood r2 nont
Flood r2 nont
 
Flood r1
Flood r1Flood r1
Flood r1
 
Flood management
Flood managementFlood management
Flood management
 
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
 
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
 

คู่มือโลจิสติก Aec

  • 1. คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถ ดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs (ฉบับราง) พัฒนาโดย บริษัท โลจิสติกส เทรนนิ่ง แอนด คอนซัลติ้ง จํากัด
  • 2. สารบัญเรื่อง หนาบทที่ 1 การใชคูมือ หลักการ และเหตุผล 2 วัตถุประสงคของโครงการ 2 กลุมเปาหมาย 2 ขอบเขต และเนื้อหาของคูมอ ื 3 ผูพัฒนาคูมือ 4 สวนประกอบในคูมือ 5 วิธการใชคูมือ ี 6บทที่ 2 ขีดความสามารถดานโลจิสติกส รูจก SME’s ั 8 ภาพรวมของโลจิสติกส 9 ความสําคัญ และประโยชนของโลจิสติกส 7 ความตองการโลจิสติกสในธุรกิจ 15 ขั้นตอนการพัฒนาระบบโลจิสติกสสําหรับผูประกอบการ SME’s 20 กุญแจแหงความสําเร็จ ในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส 27 ดรรชนีชี้วัดความสําเร็จในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส 31บทที่ 3 กระบวนการพัฒนาบุคลากรสําหรับโลจิสติกส ลักษณะงานโลจิสติกส 36 การพัฒนาบุคลากรดานโลจิสติกส 38 หลักสูตรโลจิสติกสสําหรับพัฒนาวิชาชีพโลจิสติกส 42บทที่ 4 กระบวนการสํารวจความสามารถในการจัดการโลจิสติกส การตรวจสอบโลจิสติกสภายในองคกร 50 การตรวจสอบลูกคาภายนอกองคกร 62 การวิเคราะหระยะเวลาของกิจกรรม(Lead Time) 75บทที่ 5 เครื่องมือที่สําคัญในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกสขององคกร วัตถุประสงคของโลจิสติกส 84 การเขาใจกลยุทธทางธุรกิจ 84 กิจกรรมโลจิสติกสที่ใชสรางขีดความสามารถในการแขงขัน 86 1
  • 3. กิจกรรมในโซคุณคาในยุคโลกาภิวัตต 90 กลยุทธซัพพลายเชน และการไหลของวัสดุ 92 การจัดการการไหลของสารสนเทศ 97 เครื่องมือที่สําคัญในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส 104บทที่ 6 กรอบการวางแผน และเริ่มดําเนินการโลจิสติกส การดําเนินงานพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส 122 องคประกอบที่สําคัญของการพัฒนาโลจิสติกส 126 การกําหนดระยะเวลาและทรัพยากรที่ตองใช 129 การพัฒนาโลจิสติกสของ SME’s กับนโยบายดานโลจิสติกสของประเทศ 131บทที่ 7 การบริหารการเปลี่ยนแปลงในการพัฒนาขีดความสามารถในดานโลจิสติกส โลจิสติกส และการเปลี่ยนแปลง 138 วิสัยทัศนโลจิสติกส มุมมอง และผลประโยชนทางธุรกิจ 140 การบริหารการเปลี่ยนแปลง 143บทที่ 8 การพัฒนาระบบเทคโนโลยี ภาพรวมของการพัฒนาเทคโนโลยีโลจิสติกส 168 เทคโนโลยีในการขนสง 168 เทคโนโลยีสารสนเทศโลจิสติกส 184 เทคโนโลยีการยกขนสินคา 195 เทคโนโลยีการจัดเก็บ 205 อุปกรณในการยกขนสินคาชนิดอื่นๆ 213 การเลือกอุปกรณสําหรับโลจิสติกส 218บทที่ 9. กรณีศึกษาการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs บทนําเพื่อเขาสูกรณีศึกษา 228 การรวบรวมขอมูลสําหรับการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส 231 ตัวอยางการดําเนินการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส 256 กรณีศึกษาการพัฒนาระบบโลจิสติกสสําหรับ SME’s อยางงาย 267 2
  • 4. บทที่ 1 การใชคูมือ 1 บทที่ 1 การใชคูมอ ื วัตถุประสงค หลักการ และเหตุผล 1. เพื่อใหทราบหลักการ และเหตุผลใน วัตถุประสงคของโครงการ การพัฒนาคูมือ  กลุมเปาหมาย 2. เพื่อใหทราบวัตถุประสงคของโครงการ ขอบเขต และเนื้อหาของคูมอ ื 3. เพื่อใหทราบวาผูที่ตองใชคูมือ ผูพัฒนาคูมือ 4. เพื่อใหทราบขอบเขต และเนื้อหาของคูมือ สวนประกอบในคูมือ 5. เพื่อใหทราบคณะทํางานพัฒนาคูมือ วิธีการใชคูมือ 6. เพื่อใหทราบสวนประกอบในคูมือ 7. เพื่อใหสามารถใชคูมือไดอยางมี ประสิทธิภาพ5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
  • 5. บทที่ 1 การใชคูมือ 21. หลักการและเหตุผล ปจจุบันธุรกิจตางๆ เริ่มมีความเขาใจ และ เห็นความสําคัญ ของ การบริหารจัดการโลจิสติกสอยางกวางขวาง ผูประกอบการตางๆ ตื่นตัว เมื่อพบวา บุคลากร ยังขาดความรูดานโลจิสติกส และกระบวนการดานโลจิสติกสในปจจุบัน ยังไมมีประสิทธิภาพดีพอ จึงไดสงพนักงานเขาฝกอบรมดานโลจิสติกส ที่สถาบันการศึกษาและหนวยงานตางๆ จัดขึ้น อยางมากมาย อยางไรก็ดี พบวาผูประกอบการและผูบริหารของผูประกอบการ SMEs แมนวาจะได เรียนรูโลจิสติกสและนําไปปรับปรุงงาน เปนเรื่องๆ แตยังไมสามารถเขาใจและมองเห็นเสนทาง (Roadmap) ในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส ไดตลอดทังเสนทาง ทั้ง ยังไมสามารถวางแผนและดําเนินการไดอยางเปนระบบ ไดดวย ้ ตนเอง ซึ่งจะเปนอุปสรรคสําคัญในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส แบบยั่งยืน แมนวา จะมีหนวยงานทีจดฝกอบรมหลักสูตรดานโลจิสติกส และ หนวยงานทีใหคําแนะนํา ่ั ่ปรึกษาดานการบริหารจัดการโลจิสติกส เพิ่มขึ้นมาก แตกยังไมเพียงพอ และทายสุดผูประกอบการ ก็ ็ตองดําเนินการดวยตนเองอยูดี ดังนั้นถาองคกรมีคูมือ แนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส ที่ดี ก็จะชวยใหผูบริหารสามารถนํามาใชในการวางแผนพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส ไดอยางมีประสิทธิภาพ สอดคลองและสนับสนุนแผนธุรกิจขององคกร โดยเฉพาะผูประกอบการที่อยูในขั้นเริ่มตน ก็จะสามารถเริ่มดําเนินการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส ไดอยางมั่นใจ และ เหมาะสมกับองคกรของตน2. วัตถุประสงคของโครงการ เพื่อจัดทําคูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับใหผูประกอบการ SMEs ใชวางแผนและดําเนินการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกสของตนเองไดอยางเปนระบบ ตั้งแตเริ่มแรกจนถึง การพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกสอยางตอเนือง ซึ่งจะ ่นําไปสูการสรางความสามารถในการเขงขันแบบยั่งยืน โดยตองสามารถกําหนดขั้นตอน วิธีการระยะเวลาและทรัพยากรที่ตองใช และ การประเมินวัดผล ไดอยางชัดเจน งายตอการเขาใจและนําไป ปฏิบัติของพนักงานในองคกร3. กลุมเปาหมาย 1. ผูประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) 2. ผูบริหาร และผูดําเนินงาน ในธุรกิจ SMEs 3. ผูใหบริการโลจิสติกส 4. นิสิต นักศึกษา ในสาขาการจัดการโลจิสติกส 5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
  • 6. บทที่ 1 การใชคูมือ 34. ขอบเขตและเนื้อหาของคูมือ คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส จะตองครอบคลุมหลักการแนวคิด วัตถุประสงค กลยุทธ เปาหมาย และวิธีการ ของ กระบวนการหรือกิจกรรมตางๆในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติสก (ในคูมือนี้ คําวาโลจิสติกส ใหรวม ซัพพลายเชนดวย) ในภาพรวม และทุกกระบวนการ/กิจกรรม ตั้งแตเริ่มแรกจนถึงการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกสอยางตอเนื่องเพื่อ สรางขีดความสามารถในการแขงขันอยางยั่งยืน ทั้งนี้ ตองรวมถึงแนวทางในการปรับเปลี่ยนโครงสรางการบริหารงาน วิธีการทํางาน บุคลากร และ วัฒนธรรมขององคกร โดยใชภาษาไทยทีเ่ ขาใจงาย ประกอบดวย ตัวอยาง กรณีศึกษา และ Check Sheet อยางงายๆ สําหรับดูทงภาพรวมและแตละั้กระบวนการ/กิจกรรม เพื่อใหผูประกอบการ SMEs สามารถวางแผนและดําเนินการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกสของตนเอง ไดอยางเปนระบบ สามารถกําหนดขันตอน วิธีการ ระยะเวลา ้และทรัพยากรที่ตองใช และการประเมินวัดผลอยางชัดเจนงายตอการเขาใจและนําไปปฏิบัติของพนักงานในองคกร โดยเนนเนื้อหา ดังนี้ 1. ความสําคัญ ประโยชน กุญแจแหงความสําเร็จ และ ดรรชนีชี้วัดความสําเร็จ ในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส ในภาพรวม และ ความสัมพันธของการพัฒนาขีดความสามารถขององคกร และ บุคลากร 2. ขั้นตอนหรือเสนทาง (Roadmap)ในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส ตั้งแตเริ่มแรกจนถึง การพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกสอยางตอเนือง เพื่อสรางความสามารถในการ ่แขงขันอยางยังยืน ทั้งนี้ ใหรวมทั้งการพัฒนาขีดความสามารถขององคกร และ บุคลากร ่ 3. กระบวนการ/กิจกรรมตางๆ ในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส ขององคกร และบุคลากร ตลอดจนรายละเอียดของแตละกระบวนการ/กิจกรรม เชน การฝกอบรมความรูดานโลจิสติกส ซึ่งเปนสวนหนึ่งของการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกสของบุคลากร มีหลักสูตรอะไรบาง อะไรเปนหลักสูตรหลัก อะไรเปนหลักสูตรเสริม การสํารวจความสามารถในการบริหารจัดการโลจิสติกส ซึ่งเปนสวนหนึ่งของกระบวนการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส มีวิธีการใดบาง แตละวิธีมีขอดีขอเสียอยางไรดําเนินการอยางไร เครื่องมือที่สําคัญในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกสขององคกร มีอะไรบางแตละวิธีมีขอดีขอเสียอยางไร มีวิธีใชอยางไร 4. การวางแผนการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส ทําอยางไร แตละกระบวนการ/กิจกรรมอยางนอยตองประกอบดวยหลักการ แนวคิด วัตถุประสงค กลยุทธ เปาหมาย วิธีการระยะเวลาและทรัพยากรที่ตองใช และ การประเมินผล  5. การบริหารการเปลี่ยนแปลงในการพัฒนาขีดความสามารถในดานโลจิสติกส ทั้งในดานโครงสรางและวิธีการบริหารงาน บุคลากร และ วัฒนธรรม 6. เรื่องอื่นๆ ที่จําเปนตอการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส 5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
  • 7. บทที่ 1 การใชคูมือ 45. ผูพัฒนาคูมือ และรายชื่อคณะทํางาน ผูพัฒนาคูมือเลมนี้ คือ บริษัทโลจิสติกส เทรนนิ่ง แอนด คอนซัลติ้ง จํากัด โดยมีรายชื่อคณะที่ปรึกษาของโครงการ ประวัติการศึกษาโดยยอ ตําแหนงที่รับผิดชอบในโครงการและประสบการณปรากฏตามตารางตอไปนี้ที่ ชื่อ-นามสกุล สาขาที่จบ ตําแหนงที่รับผิดชอบ1. ดร. คํานาย อภิปรัชญาสกุล บธ.บ. การตลาด,การจัดการกอสราง และ ผูจัดการโครงการ FCILT การจัดการทั่วไป – มสธ. ผูเชี่ยวชาญโลจิสติกส และการจัดการซัพ บธ.บ. การจัดการขนสง มหาวิทยาลัยรามคําแหง พลายเชน การขนสง การจัดการเชิงกลยุทธ เศรษฐศาสตรบัณฑิต มสธ. การตลาด เศรษฐศาสตร วิศวกรรมโยธา B. Eng .(Civil) มหาวิทยาลัยขอนแกน วิศวกรรมอุตสาหการ ธุรกิจระหวางประเทศ B.S.I.E – Petrochem. University และเทคโนโลยีจัดเก็บเคลื่อนยาย รวมถึง M.S.I.E. California State University ระบบอัตโนมัติ M. Sc. in Logistics – Aston University MBA (International Business) -EAU Ph.D. (Engineering Management) -USQ Ph.D. (Supply Chain Management)- WU2 ดร. คงศักย ลอเลิศรัตนะ B. Commerce จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผูเชี่ยวชาญในการกําหนดรูปแบบทางธุรกิจ M. S. (CEM) BAC ผูเชี่ยวชาญดานโลจิสติกส Ph. D. (CEM) ABAC และการจัดการซัพพลายเชน3 นางสาวธรรญชนก บุษราคัม ค.บ. มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม เลขานุการโครงการ4 นางสาวปราณีต ละอองรัตน วท. บ. (คอมพิวเตอร) มหาวิทยาลัยรามคําแหง ผูออกแบบกราฟฟค 5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
  • 8. บทที่ 1 การใชคูมือ 56. สวนประกอบในคูมือ ขอความ เนื้อหา ตัวอยาง และ กรณีศึกษา ที่ผูจัดทํานํามาใชในคูมือนี้ ไดมาอยางถูกตอง ไมมีการละเมิดลิขสิทธิ์ อยางเด็ดขาด และมีการอางถึงแหลงที่มาของขอมูลหรือขอความไวใหครบถวนดวย ทั้งใน คูมือ และ Presentation รวมทั้งจะตองมีการสรุปแหลงที่มาและเรื่องที่อางอิงทั้งหมดไวในทายบทของคูมือดวย โดยคูมือแนะนําแนวทางในการเพิ่มขีดความสามารถดานโลจิสติกส พรอมดวยเอกสาร และCDทั้งหมดถือเปนลิขสิทธิ์ของสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ซึ่งคูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส ในเลมประกอบดวย 1. รูปเลมขนาด A4 โดยจัดพิมพ และบันทึกดวย Microsoft Word 2003 เปนภาษาไทยตัวอักษรAngsana New ขนาด 16 Point โดยจัดพิมพ แยกเปนบท 2. ในเลมประกอบดวยแฟมบรรจุในแผน CD ในการนําเสนอ Microsoft Power Point 97-2003Presentation ซึ่งซึ่งพิมพดวยภาษาไทย Angsana New และภาษาอังกฤษ Tahoma 3. องคประกอบหลักในเลม หนารองปก ขอมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแหงชาติ กิตติกรรมประกาศ คํานําของ สถาบันสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม(สสว.) คํานําของสภาอุตสาหรรม สารบัญ (เนื้อหา) สารบัญรูปภาพ สารบัญตาราง บทที่ 1 การใชคูมือ บทที่ 2-9 บรรณานุกรม ดัชนี 4. โครงสรางคูมือ เปนภาษาที่เขาใจงาย มีภาพมากขึน โดยภาพเปนภาพที่ตองคัดเลือกใหม มีกรณี ้ตัวอยางทีใชงานจริง ในการสรางขีดความสามารถในดานโลจิสติกส ทั้งในดานโครงสรางและวิธการ ่ ีบริหารงาน บุคลากร และ วัฒนธรรม โดยกรอบการจัดทําคูมือแบงเปน 9 บทดังนี้ 1. การใชคูมือ 2. ขีดความสามารถดานโลจิสติกส 3. กระบวนการพัฒนาบุคลากรสําหรับโลจิสติกส 5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
  • 9. บทที่ 1 การใชคูมือ 6 4. กระบวนการสํารวจความสามารถในการจัดการโลจิสติกส 5. เครื่องมือที่สําคัญในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกสขององคกร 6. กรอบการวางแผน และเริ่มดําเนินการโลจิสติกส 7. การบริหารการเปลี่ยนแปลงในการพัฒนาขีดความสามารถในดานโลจิสติกส 8. การพัฒนาระบบเทคโนโลยี 9. กรณีศึกษาการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs7. วิธีการใชคูมือ 1. ในคู มือแนะนํ าแนวทางในการพัฒนาขี ดความสามารถดานโลจิ สติก ส สําหรับ SME’sประกอบดวย คูมือ 1 เลม และ แผนซีดีแนะนําการใชคูมือ ซึ่งอยูในรูปแบบของ Microsoft Power Point(ภาษาไทย Tahoma) จํานวน 1 แผน 2. อานเนื้อหาที่สําคัญในบทที่ 2 ถึงบทที่ 8 เพื่อใหมพื้นความรูในการพัฒนาขีดความสามารถ ีดานโลจิสติกส สําหรับ SME’s 3. เมื่อตองการศึกษาเฉพาะเรืองที่สนใจ สามารถตรวจสอบหัวขอจาก สารบัญ ่ 4. เมื่อตองการศึกษาเนื้อหาทีเ่ กี่ยวกับเรื่องทีสนใจ สามารถตรวจสอบหัวขอจาก ดัชนี ่ 5. เมื่อตองการประยุกตใชงานใหศกษาโดยตรงจาก บทที่ 9 โดยในบทนีจะเปนกรณีศกษา ซึ่ง ึ ้ ึตัวอยางการรวบรวมขอมูล ประกอบดวยขอมูลที่ตองรวบรวม รายการตรวจเชค พรอมตาราง และตัวอยางแนวทางในการปรับปรุง และพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SME’s อยางเปนระบบ ซึ่งสามารถนําไปประยุกตใชไดทันทีสรุป ในบทนีจะกลาวถึงหลักการ และเหตุผล วัตถุประสงคของโครงการ เพื่อใหทราบเจตนาในการ ้พัฒนาคูมือเลมนี้ ผูที่ควรอานคูมือเลมนี้ ขอบเขตและเนื้อหาของคูมอ ผูพัฒนาคูมือ และวิธีการใชคูมือ ืกอนที่จะเริ่มใชคูมือเพื่อใหสามารถใชคูมือไดอยางมีประสิทธิผล 5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
  • 10. บทที่ 2 ขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs 7 บทที่ 2 ขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs รูจัก SME’s วัตถุประสงค ภาพรวมของโลจิสติกส 1. เขาใจลักษณะ SME’s ความสําคัญ และประโยชนของโลจิสติกส 2. เขาใจภาพรวมของโลจิสติกส ความตองการโลจิสติกสในธุรกิจ 3. ทราบความสําคัญ และโยชนของ ขั้นตอนการพัฒนาระบบโลจิสติกสสําหรับ โลจิสติกส ผูประกอบการ SME’s 4. ทราบความตองการโลจิสติกสในธุรกิจ กุญแจแหงความสําเร็จ ในการพัฒนา 5. สามารถพัฒนาระบบโลจิสติกสสําหรับ ขีดความสามารถดานโลจิสติกส SME’s ดรรชนีชี้วัดความสําเร็จในการพัฒนา 6. ทราบกุญแจแหงความสําเร็จในการพัฒนา ขีดความสามารถดานโลจิสติกส ขีดความสามารถดานโลจิสติกส 7. สามารถนํ า ดั ช นี ชี้ วั ด ความสํ า เร็ จ ในการ พัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกสไป ปรับใชได5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
  • 11. บทที่ 2 ขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs 81. รูจัก SMEs กอนที่จะ พัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SME’s ตองขอใหรูจักคําวา SMEs กอนธุรกิจทุกชนิดไมวาจะเปนการคาปลีก คาสง บริการ และการผลิต ที่จัดอยูอยูในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs :Small and Medium Enterprises) ตองมีขนาดสินทรัพยไมเกิน 100 ลาน (ธนาคารแหงประเทศไทยกําหนดที่ 50 ลานบาท) และมีคนงานไมเกิน 300 คน ซึ่งปจจุบันมักจะพูดกันถึงภาคการผลิต หรือโรงงานมากกวา ซึ่งมีคําศัพทอีกคําคือ SMIs (Small and Medium Industries SMIs) โดยที่SMIs ที่จดทะเบียนกับกระทรวงอุตสาหกรรมมีมากกวา 130,000 แหง การสราง SME’s ใหแข็งแกรงควรตองสรางเสนทางพัฒนาตนเอง และดําเนินการอยางตอเนื่อง ในสิ่งตอไปนี้ การรักษาองคความรูพื้นฐาน การคนควาวิจัย ตอยอดองคความรูเหลานั้น ความสามารถในการสรางนวตกรรมใหม และรับนวตกรรมใหม ตลอดจนการปรับการผสานองคความรูพื้นฐาน กับความรูใหมๆ ที่มาจากภายนอก พัฒนาตนเองในฐานะผูประกอบการ ผูประกอบการที่ออนแอ โอกาสลมเหลวหรือปดตัวเองก็สูง โดย คุณสมบัติของผูประกอบการที่ดีมีดังนี้ - การรูจักคิด หรือปจจุบันอาจเรียกวา มีวิสัยทัศน - ความกลาที่จะเสี่ยง โดยที่มีองคความรูพรอมเพรียงที่จะดําเนินการได - มีความสามารถแกสถานการณ และปรับตัวเขากับสถานการณได - มีความมุงมั่น และอดทน - มีคุณธรรม และจริยธรรมตอมนุษยและสังคมที่อยูอาศัยไว ทุน หากไมใชเปนทุนที่สะสมมา หรือทุนมรดก ก็จะตองมีการแกปญหา โดยผูประกอบการทั้งรายใหมและรายเดิม ตองหาแหลงเงินกูจากสถาบันการเงินตางๆ เพื่อไมใหเกิดปญหาการขาดแคลนทุนดําเนินการของธุรกิจขนาดกลางและยอม การพัฒนาขีดความสามารถด านโลจิสติกสใน SME’ ไมใชเรื่องงาย หากผูประกอบการที่ตองการประหยัดตนทุน เพิ่มยอดขาย สรางกําไรทางธุรกิจ และสรางขีดความสามารถในการแขงขันอย า งยั่ ง ยื น จํ า เป น ต อ งปรั บ การดํ า เนิ น งานทางธุ ร กิ จ ให เ ป น กระบวนการครอบคลุ ม ทุ ก กิ จ กรรมสอดคลองกับสภาพแวดลอมทางธุรกิจปจจุบัน โดยประกอบดวย คือ การรักษาความรูในทางธุรกิจ ปรับวัฒนธรรมองคกรใหสามารถแขงขันได การสรางขบวนการคิด พัฒนาบุคลากรใหมีองคความรู และการเตรียมเงินลงทุน ซึ่งการพัฒนาขีดความสามารถในองคกร แตกตางกันไป บางกิจการอาจปรับตัวสรางธุรกิจใหเติบโต บางรายก็ปดกิจการจากไปจากการหมดความสามารถที่จะแขงขัน ซึ่งเกิดขึ้นจํานวนมากในปจจุบัน 5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
  • 12. บทที่ 2 ขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs 92. ภาพรวมของโลจิสติกส โลจิสติกสถือวาเปนกลยุทธ ที่บริษัทชั้นนําทั่วโลกนํามาปรับปรุงความสามารถในการแขงขันทางธุรกิจ ซึ่งโลจิสติกส เกิดขึ้นมาพรอมมนุษย ซึ่งผูประกอบการ SME’ ดําเนินการอยูแลว ซึ่งแยกกันทําในรูปงานในแตละหนาที่ เชน งานจัดซื้อ งานผลิตหรือการบริการ และการจัดสง แตไมเชื่อมตอการอยางเปนระบบ ทําใหผลตอบแทนหรือประสิทธิผลต่ํา แตถาประสิทธิภาพสูงก็จะแขงขันไดงายฉะนั้นจําเปนอยางยิ่งที่ผูประกอบการตองมีความรูเกี่ยวกับโลจิสติกสกอน เพื่อนําไปพัฒนาตนเอง ซึ่งตองศึกษาในเรื่องตอไปนี้ 2.1 ความหมายของโลจิสติกส การจัดการโลจิสติกส เปนสวนหนึ่งของกระบวนการซัพพลายเชนทีวางแผนติดตั้ง ควบคุม ่ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการไหลไปขางหนาและยอนกลับ การจัดเก็บสินคา การบริการ และสารสนเทศที่เกี่ยวของระหวางจุดกําเนิดไปยังจุดของผูบริโภค เพื่อใหสอดคลองกับความตองการของลูกคา (The Council of Supply Chain Management Professionals :CSCMP) การจัดการโลจิสติกส หมายถึงกระบวนการจัดการ การเคลื่อนยาย และจัดเก็บวัตถุดบ และ ิสินคาจากผูขายวัตถุดิบ ไปยังผูบริโภครายสุดทาย (The Institute of Logistics and Transport, UK) ซึ่งโลจิสติกส มีองคประกอบทั้งผูที่เกี่ยวของคือผูขายปจจัยการผลิต ผูประกอบการ SME’sและลูกคา ซึ่งประกอบดวยกิจกรรม การจัดซื้อ โลจิสติกสขาเขา และโลจิสติกสขาออก ดังแสดงในภาพที่ 2.1 ซึ่งโลจิสติกสมีหลายกิจกรรม คือ การพยากรณความตองการของลูกคา การวางแผนการผลิต การจัดซื้อ บรรจุภัณฑ การเคลื่อนยายสินคาภายในองคกร การผลิต คลังสินคา การขนสง การกระจายสินคา การบริการลูกคา เปนตน ทุกกิจกรรมในโลจิสติกสตองทํางานอยางตอเนื่อง และเกี่ยวของกันแบบเปนกระบวนการ การวัดผลงานการดําเนินงานในกระบวนการของบริษัททั้งหมด จะทําใหองคการมีการเจริญเติบโตอยางตอเนื่องมากกวาการแยกงานกันทํา หรือตางคนตางทํา ปจจุบันมีการแบงขอบเขตของโลจิสติกส เปน 2 กลุมกิจกรรมหลัก ดังตอไปนี้ 1. โลจิสติกสขาเขา (Inbound Logistics) หรือ การจัดการวัสดุ (Material Management) จะสนับสนุนในการผลิตเปนหลัก มีงานที่เกียวของคือ การศึกษาความตองการพื้นที่จดเก็บ และการ ่ ัเคลื่อนยายของวัตถุดิบ/สินคา/ชิ้นสวน บรรจุภัณฑ การจัดซื้อและจัดหา การผลิต รวมถึงตนทุนและบริการ เพื่อใหมีมูลคาเพิ่มในกิจกรรมทางเลือกที่ดีที่สุด 2. โลจิสติกสขาออก (Outbound Logistics) หรือ การจัดการการกระจายสินคา (PhysicalDistribution Management) จะสนองความตองการในการขาย และการตลาดเปนหลัก มีหนาทีหลักคือ ่การจัดการคลังสินคา และการขนสง โดยคลังสินคาจะตองมีโครงสรางพื้นฐาน ระบบอํานวยความสะดวก อุปกรณตาง ๆ ระบบจัดการคลังสินคา และโครงสรางการบริหารจัดการ สวนงานขนสงจะเกี่ยวของกับการเลือกพนักงาน ที่มีทักษะ รูปแบบการขนสง วิธีการขนสง และมูลคาจากการทํางาน 5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
  • 13. บทที่ 2 ขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs 10 ภาพที่ 2.1 องคประกอบดานโลจิสติกส 2.2 กิจกรรมโลจิสติกส (Logistics Activities) กิจกรรมโลจิสติกสในแตละบริษัทมีการประยุกตใชในระดับที่แตกตางกัน บางบริษัทก็ใชเพียงบางกิจกรรม บางบริษัทก็ดําเนินงานครบถวนทุกกิจกรรมซึ่งมีหลายกิจกรรมดังแสดงในภาพที่ 2.2 SME’s ภาพที่ 2.2 กิจกรรมโลจิสติกส 5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
  • 14. บทที่ 2 ขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs 11 2.3 การจัดการโซอุปทาน หรือการจัดการซัพพลายเชน (Supply Chain Management) ซัพพลายเชน (Supply Chain) หมายถึง โรงงาน ทุกฝาย และกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการผลิตการจัดสงสินคา หรือการบริการจากผูขายปจจัยการผลิต (ผูขายของผูขาย )ลูกคา (ลูกคาของลูกคา) ซึ่งปญหาที่กอใหการจัดการซัพพลายเชน คือ สินคาคงคลัง เพราะมีไวเพื่อรองรับความไมแนนอนในซัพพลายเชน การปรับปรุงพัฒนาซัพพลายเชนใหมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นจะนํามาซึ่งความพึงพอใจของลูก ค าที่ได รับสินค าที่ต องการ ในเวลาที่ถูกตอง และมี ปริมาณตามที่กํ าหนดไว โดยเสียคาใชจายรวมตลอดซัพพลายเชนที่ต่ํา ซึ่งจะมีผลใหองคการธุรกิจ สามารถหมุนเวียนเงินสดไดรวดเร็ว มีกําไรเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นการการจัดการซัพพลายเชนจึงกอใหเกิดประโยชนรวมกันทั้งตัวลูกคา และธุรกิจดังแสดงในภาพที่ 2.3 ภาพที่ 2 .3 ความสัมพันธของซัพพลายเชน การจัดการซัพพลายเชน หมายถึง กระบวนการบูรณาการ ประสานงาน และควบคุมการเคลื่อนยายสินคาคงคลังทั้งของวัตถุดิบ และสินคาสําเร็จรูป และ สารสนเทศที่เกี่ยวของในกระบวนการจากผูขายวัตถุดิบ ผานบริษัทไปยังผูบริโภค เพื่อใหเปนไปตามความตองการของผูบริโภค (Council ofLogistics Management) ซึ่งโลจิสติกสมีความสัมพันธกับการจัดการซัพพลายเชน กลาวคือ โลจิสติกส จะควบคุมการไหลของวัสดุ และสินคาผานกิจกรรมโลจิสติกสตางๆ จากผูขายปจจัยการผลิตไปยังผูบริโภครายสุดทายสวน การจัดการซัพพลายเชน จะเปนการไหลของสารสนเทศ ยอนกลับจากผูบริโภครายสุดทายมายังผูขายปจจัยการผลิตรายแรก 5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
  • 15. บทที่ 2 ขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs 12ตัวอยาง โลจิสติกส และการจัดการซัพพลายเชนของไวน จากภาพที่ 2.4 จะเห็นไดวาการที่เรานั่งจิบทานไวนอยางดีกอนรับประทานอาหารทีบาน ทาน่ทราบมั๊ยวา กวาจะเปนองุน 1 พวง ไดผานกระบวนการซัพพลายเชนหลายขั้นตอน การไหลของวัตถุดิบที่อยูในรูปผลองุนหลังจากเก็บเกี่ยวที่ไรองุน จะมีการเคลื่อนยายเขาสูลานเก็บเพื่อเก็บหรือจําหนาย โดยอาจจะนําไปขายเปนผลไมเพื่อรับประทานสด ซึ่งวาเปนพื้นฐานในการบริโภคเบื้องตน บางครั้งมีการองุนมาแปรรูปตอเนื่องเปนหลายผลิตภัณฑ เชน องุนตากแหง น้ําองุนสด ลูกเกด หรือในโครงการหนึ่ง ผลิตภัณฑหนึงตําบล(OTOP) จะนําไปแปรรูปเปนไวน ตองผานกระบวนการหมัก กรอง บรรจุขวด จะ ่เห็นวาการไหลของวัตถุดิบตองผานอยางนอย 3 ฝายคือ ผูขายวัตถุดิบ(ไรองุน) ผูผลิตไวน(OTOP) และผูบริโภคหรือลูกคา โดยมีกจกรรมที่เกียวของอยางตอเนื่องอยางนอย 4 กิจกรรม คือการซื้อ การผลิต การ ิ ่เคลื่อนยาย และการขาย การจัดการกิจกรรมในแตละบริษัทไมเหมือนกัน บริษัทใดที่สามารถทําใหตนทุนในกระบวนการต่ําสุดก็จะสามารถสรางความยั่งยืนในธุรกิจได อุปทาน การไหลของวัตถุดิบ และสินคา อุปสงค จัดซื้อ I การผลิต I จัดสง  I การตลาด “ซื้อ” “ผลิต” “เคลื่อนยาย“ขาย” การไหลของ สารสนเทศ วัตถุดิบ สินคาระหวางการผลิต สินคาสําเร็จรูป ผูขายวัตถุดิบ การไหลของสินคาที่เกิดขึ้นรอบใหม ผูบริโภคสุดทาย ผูขายสินคา I = สิ นคาคงคลัง (INVENTORY) ภาพที่ 2.4 โลจิสติกส และการจัดการซัพพลายเชนของไวน 5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
  • 16. บทที่ 2 ขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs 133. ความสําคัญ และประโยชนของโลจิสติกส 3.1 ความสําคัญของการจัดการโลจิสติกส ถามองบริษัทชั้นนําของไทย และตางประเทศ เชนบริษัทในเครือสหพัฒนพิบูลย โรงงานในเครือเจริญโภคภัณฑ (CPF) SME’s ผูผลิตชิ้นสวนยานยนตใหโตโยตา มิตซูบิชิ ฟอรด ฯลฯ โรงงานอาหารกระปอง ตางก็ใหความสําคัญ และลงทุนในการพัฒนาระบบโลจิสติกส และการจัดการซัพพลายเชน เนื่องจาก 1. การแขงขันรุนแรงไปทั่วโลก 2. ความตองการสินคาและบริการของลูกคามีหลากหลาย ไมมีขอบเขต 3. ตนทุนการดําเนินงานทั้งกระบวนการในบริษัท และซัพพลายเชนสูงขึ้น 4. ตนทุนในอนาคตทางธุรกิจไมแนนอน โดยเฉพาะอยางยิ่งคาน้ํามันเชื้อเพลิง 5. การบริการที่ไมสามารถตอบสนองความตองการของลูกคา ทําใหสูญเสียลูกคาได 6. ลูกคามีความตองการในการบริการในระดับที่สูงขึ้น 7. การจัดสงมีความซับซอนมากขึ้นทุกรูปแบบ ไมวาทางบก ทางเรือ และทางอากาศ 8. ธุรกิจตองการความถูกตองและรวดเร็ว 9. ธุรกิจตองการสรางขีดความสามารถในการแขงขันแบบยั่งยืน 3.2 ประโยชนจากโลจิสติกส โลจิสติกส สามารถสรางประโยชนทางธุรกิจใน SME’s ดังนี้ 1. สามารถลดตนทุน และสรางกําไรทางธุรกิจ การใชประโยชนจากทรัพยากรที่ดีทําใหลดตนทุน และสรางกําไรทางธุรกิจได 2. เปนเครื่องมือสําคัญในการแขงขันทางธุรกิจ เปนที่ยอมรับกันในบริษัทที่มีการคาขามพรมแดนในยุคโลกาภิวัตต วาเปนกลยุทธ หรือ เครื่องมือสําคัญในการแขงขันทางธุรกิจ 3. เปลี่ยนการทํางานจากแบบทีแบงแยกแตละหนาที่เปนกระบวนการแทน การ ่ดําเนินงานโลจิสติกสตองเชื่อมตอกับทุกกิจกรรมในองคกร 4. ประสานงานใหบรรลุเปาหมายและนโยบายขององคการ โลจิสติกส เปนการจัดการเชิงกลยุทธ ที่เกิดจากความพยายามในการจัดการใหบรรลุเปาหมายและนโยบายขององคการ 5. ทําใหงานทีเ่ กียวของกับฝายอื่นที่ตนทุนสูง สามารถลดตนทุนได โลจิสติกสตอง ่เกี่ยวของกับผูขายปจจัยการผลิต และลูกคา ของผูประกอบการขนาดกลางและขยาดยอม ฉะนันจึง  ้สามารถหาแนวทางในการลดตนทุนทั้งซัพพลายเชนได 6. กอใหเกิดการใชทรัพยสินทีคุมคามากกวาเดิม การเชื่อมตอในซัพพลายเชนทําใหเกิดการ ่ใชคลังสินคา ยานพาหนะ และอุปกรณอื่นๆ รวมกันได ทําใหสินทรัพยถูกใชอยางคุมคา 7. เพิ่มประสิทธิภาพในการบริการลูกคา การเชื่อมตอกันของทุกฝาย การใหขอมูลยอนกลับจากลูกคา สามารถตอบสนองความตองการลูกคาในเวลาอันสั้น และรวดเร็ว 8. สรางสัมพันธลูกคาภายในและภายนอกองคกร สืบเนื่องจากการดําเนินงานเปน 5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
  • 17. บทที่ 2 ขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs 14กระบวนการทังภายในและภายนอกองคกร ทําใหทุกฝายมีความสัมพันธการมากขึ้น ้ 9. ทําใหเกิดความรวดเร็วในการสื่อสารอันเนื่องมาจากเทคโนโลยีสารสนเทศ การนําระบบบารโคด ระบบซอฟแวร ERP , eLogistics ,RFID ทําใหเกิดประสิทธิภาพในการดําเนินธุรกิจได 10. เปนพื้นฐานของการเจริญเติบโตของธุรกิจ จากประโยชนที่ไดกลาวมาขางตน จึงถือไดวาเปนพืนฐานในการขับเคลือนการเจริญเติบโตทางธุรกิจได ้ ่ 3.3 ประโยชนของการจัดการซัพพลายเชน ประโยชนที่ไดรับจากการจัดการซัพพลายเชนแบงเปน 5 สวนดังนี้ 1. ประโยชนเชิงปฏิบติการ (Operational benefits) โดยทําใหกระบวนการทางธุรกิจสามารถ ัดําเนินโดยอัตโนมัติ และสามารถมองเห็นการเปลี่ยนแปลงในกระบวนการ ทําใหลดตนทุน ลดรอบเวลาปรับปรุงผลิตผล ปรับปรุงคุณภาพ และปรับปรุงการใหบริการลูกคา 2. ประโยชนเชิงการจัดการ (Managerial benefits) การรวมขอมูลจากทุกฝายที่เกียวของ แลว ่นํามาวิเคราะหขอมูลภายในระบบ ชวยใหองคกรสามารถจัดการทรัพยากรไดดีขึ้น สามารถสนับสนุนในการตัดสินใจ และการวางแผน รวมถึงการปรับปรุงผลการดําเนินงาน 3. ประโยชนเชิงกลยุทธ(Strategic benefits) ภายใตสภาพแวดลอมทางธุรกิจที่เกียวของกัน ่จํานวนมาก ทําใหสามารถการบูรณาการทังภายในและภายนอก ชวยใหธุรกิจเจริญเติบโต เปนไปใน ้ทิศทางเดียวกัน มีนวัตกรรม ตนทุนลดลง การสรางความแตกตางทั้งในสินคาและบริการ และสามารถเชื่อมตอกับภายนอกได 4. ประโยชนในโครงสรางพืนฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT infrastructure benefits) ้จากการที่ไดเชือมตอซอฟแวรประยุกตที่สถาปตยกรรมเปนมาตรฐานเดียวกัน สามารถสนับสนุนความ ่ยืดหยุนทางธุรกิจ ลดตนทุนจากเทคโนโลยีสารสนเทศ และหนวยงานดานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่เพิ่มขึ้น ทําใหการติดตั้งซอฟแวรรวดเร็วขึ้น 5. ประโยชนเชิงองคกร (Organizational benefits) ทําใหองคกรมีความสามารถเพิ่มขึ้นสามารถสนับสุนการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสรางขององคกร ทําใหเกิดการเรียนรูแกพนักงาน สรางแรงจูงใจ และวิสัยทัศนทดีแกพนักงาน ี่ นอกจากนั้น Lawrence S. Gould, ShivaSoft Inc. ไดศึกษาพบวาในโรงงานที่ประยุกตใชโลจิสติกส และการจัดการซัพพลายเชน โดยใชซอฟแวรการวางแผนทรัพยากรองคกร (ERP) เพื่อปองกันความไมแนนอนของอุปสงค เครื่องจักรพัง พนักงานปวย วัตถุดิบมาชา การสั่งซื้อเรงดวนที่มการ ีเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทําใหเกิดประโยชนดังนี้ ผลงานการจัดสง(Delivery Performance) 10-25% ลดสินคาคงคลังระหวางการผลิต (WIP reduction) 20-25% ลดเวลาในการตั้งเครื่องใหม (Setup time reduction) สูงถึง 50% 5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
  • 18. บทที่ 2 ขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs 15 ลดเวลาในการผลิต (Make time reduction) 15-25% ใชประโยชนจากแรงงาน และเครื่องจักร (Machine and labor utilization)15-25% ลดเวลาที่ไมไดทํางาน (Reduction in idleness) 15-20% ใชประโยชนทีมงานซอมบํารุง (Maintenance crew utilization) 10-15% นอกจากนั้นยังมีประโยชนปลีกยอย ซึ่งยากที่อธิบายเปนตัวเลขได แตมีความสําคัญดังนี้ ทําใหกําหนดวันที่จดสงสินคาแมนยําและเปนจริงมากขึน ั ้ ออกกําหนดการผลิตแบบทันเวลาพอดีได และลดงานระหวางการผลิต(WIP) ลดเวลาในการผลิตหรือเพิ่มผลผลิต สนองตอบรวดเร็ว อยางมีประสิทธิผลจากทุกระบบในการติดตอกัน ทวนสอบสถานะใบสั่งงานและการใชประโยชนเครื่องจักรสําหรับงานระหวางการผลิต บงชี้จุดที่มีโอกาสเกิดภาวะคอขวด เพื่อการวางแผนกลยุทธการผลิต วางแผนการซอมบํารุงเชิงปองกัน เพื่อใหสามารถดําเนินการในชวงเวลาที่ไมไดทํางาน ปรับปรุงการจัดการทรัพยากรสนับสนุน เชน เครื่องมือ แรงงาน วัตถุดบ และิ สาธารณูปโภค การคาดการณ การเปลี่ยนแปลงไวลวงหนา และ ลงมือปฏิบัติตามผลที่ไดจากการ วิเคราะห4. ความตองการโลจิสติกสในธุรกิจ 4.1 กลยุทธองคกร กับโลจิสติกส ในปจจุบันการดําเนินการทางธุรกิจในแตละบริษท สวนมาก ัแยกงานทําในแตละฝาย ประโยชนเชิงบูรณาการขององคกรก็ต่ําลง เพราะในแตละฝายก็ใชทรัพยากรของตนเอง ไมสามารถใชรวมกัน จากภาพที่ 2.5 เกี่ยวกับกระบวนการดําเนินงานดานโลจิสติกส จะเห็นวาถาสามารถปรับการทํางานจากทีแยกกันทํา กลายเปนกระบวนการโลจิสติกส จะทําใหเกิดการใช ่ทรัพยากรอยางมีประสิทธิผล ทําใหผลลัพธที่อยูในรูปของสินคาและบริการสูงขึ้น สามารถทําใหบริษัทสามารถบรรลุเปาหมายและสอดคลองกับกลยุทธองคกรในที่สุด 5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
  • 19. บทที่ 2 ขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs 16 ภาพที่ 2.4 กระบวนการดําเนินงานดานโลจิสติกส 4.2 ความขัดแยง ในสิงที่สนใจ (Conflicts of Interest) เนื่องจากโลจิสติกส ไมสามารถทํางาน ่แยกกันเปนแตละหนาที่ได ตองทํางานรวมกัน อาศัยซึ่งกันและกัน จึงทําใหมีโอกาสทีจะเกิดความขัดแยง ่ขึ้นได โดยธรรมเนียมปฏิบัติแลวโครงสรางองคการถูกกําหนดตามลักษณะหนาที่ของงาน แตละฝายปฏิบัติงานตามหนาที่เพียงกิจกรรมเดียวเทานั้น ซึ่งแตละฝายพยายามปรับปรุงใหการปฏิบัติงานดีขึ้นตามวัตถุประสงคของตน โดยปกติ SME’s มีวัตถุประสงค เพื่อดําเนินงานใหกจการมีกําไร และตนทุนต่ําลง ิตัวอยางเชน การจัดซื้อ มีจุดมุงหมายเพื่อหาแหลงจัดหาที่เชื่อถือได โดยมีตนทุนต่ําดวยการซื้อเปนจํานวน มากจากหลายๆ แหลง การผลิต มีจดมุงหมายอยูที่ตนทุนที่ต่ํา และการใชงานเครืองจักรสูงสุด โดยใชการผลิต ุ  ่ จํานวนมาก และผลิตอยางตอเนื่อง การขนสง มีจดมุงหมายทีการใหบริการตองเชื่อถือได โดยมีตนทุนต่ําดวยการลดระยะทาง ุ ่ ระหวางลูกคา กับโรงงานผลิตใหสั้นที่สุด การคลังสินคา มีจุดมุงหมายอยูที่ตนทุนต่ํา ดวยการรวมสต็อกสินคาไวที่สวนกลาง เพื่อใหมี การใชเครื่องจักรอุปกรณในการขนยายมากที่สุด เมื่อตรวจสอบวัตถุประสงคเหลานี้โดยรอบคอบแลว จะพบวามีความขัดแยงระหวางหนาที่มากทีเดียว ถาขยายขอบเขตไปยังซัพพลายเชน ซึ่งบริษัทตางกัน ก็จะเพิ่มความขัดแยงมากขึ้น ซึ่งจําเปนตองคนหาวิธแกปญหาโดยรวมทั้งในปจจุบันและในอนาคต ี  5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
  • 20. บทที่ 2 ขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs 17 4.3 การแลกเปลี่ยน (Trade-Offs) หรือทางเลือก การตัดสินใจของบริษัท เพือใหมีการ ่ปรับปรุงการดําเนินงานในกิจกรรมโลจิสติกสดานหนึ่งใหดีขึ้น โดยอาจจะทําใหอกดานหนึ่งดอยลง ีฉะนั้นตองเลือกระหวางการลดตนทุนจากโลจิสติกส กับ ระดับการบริการ ดังแสดงในภาพที่ 2.6 ภาพที่ 2.6 ความสมดุลของตนทุนและการบริการ โดยทั่วไปแลวถาตองการทําใหการบริการดีขึ้น ก็จะทําใหตนทุนเพิ่มตามไปดวย ถาตองการลดตนทุนก็อาจจะทําใหคณภาพการใหบริการดอยลงได ซึงสงผลใหเกิดทางเลือกซึ่งสามารถใหบริการใน ุ ่ระดับตามที่ลกคาตองการดวยตนทุนทียอมรับได ทางเลือกในการตัดสินใจเกิดขึ้นไดในแตละระดับของ ู ่กิจกรรมในซัพพลายเชน ซึงระดับของทางเลือกแบงเปน 4 ระดับดังนี้ ่ ระดับที่ 1 ระดับซัพพลายเชน (Supply Chain) เปนระดับที่สูงที่สุดซึ่งเปนทางเลือกในระดั บ ซั พ พลายเชน ซึ่ ง เกี่ ย วข อ งกั บ การที่ บ ริ ษั ท ทํ า การตั ด สิ น ใจ ซึ่ ง อาจจะเพิ่ ม ต น ทุ น เพื่ อ ให ก ารดําเนินงานดานนี้มีประสิทธิผลมากขึ้น ซึ่งตองพิจารณาการแบงปนผลประโยชนดวย ระดับที่ 2 ระดับบริษัท (Company) ในระดับนี้เปนทางเลือกระหวางตนทุน และการบริการ ซึ่งอยูในระดับของบริษัท ระดับที่ 3 ระดับหนาที่ของงาน (Functional) ทางเลือกเชิงหนาที่ของงาน อาจเปนการตัดสินใจสรางคลังสินคาเพิ่มอีกหลายแหง เพื่อเก็บสินคาใหอยูใกลลูกคามากขึ้น และสงผลตอการลดตนทุนดาน การขนสง ระดับที่ 4 ระดับกิจกรรม (Activity) เปนทางเลือกที่สามารถกระทําไดในสถานที่ประกอบกิจกรรมตัวอยางเชน สามารถตัดสินใจไดที่จะลงทุนจัดหาอุปกรณขนถายสินคาเพื่อลดตนทุนคาจางแรงงาน ผลประโยชนที่ไดจากการพิจารณาการในการเพิ่มทางเลือกที่สูงขึ้น ยิ่งครอบคลุมผูที่เกี่ยวของในทางธุรกิจมาก ผลประโยชนยิ่งสูง จากการพิจารณาทางเลือกในระดับซัพพลายเชนจึงมีขนาดใหญที่สุดการมีขอมูลที่ชัดเจนเปนเรื่องสําคัญที่จะตองพิจารณา การกําหนดขอบเขตโดยรวมของซัพพลายเชน และ 5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs
  • 21. บทที่ 2 ขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs 18คนหาแนวทางที่จะทําใหไดทางเลือกดีที่สุด จึงเปนเปาหมายหลักทางธุรกิจ มากกวาที่จะมองหาทางเลือกยอยเพิ่มเติมในเฉพาะสวนใดสวนหนึ่ง 4.4 การตัดสินใจ และวัฏจักรการวางแผนงานโลจิสติกส (Decision Making and Planning Cycle)การจัดการโลจิสติกสอยางมีประสิทธิผลตองเกี่ยวของกับการตัดสินใจที่มีขอบเขตที่กวางขึ้น การตัดสินใจทางดานโลจิสติกส ขึ้นอยูกับขอบเขตของกิจกรรม ความตองการในการลงทุน ขอบเขตเวลาและความถี่ของการตัดสินใจที่เกี่ยวของทั้งหมด ผลกระทบของการตัดสินใจในแตละระดับของธุรกิจ จะมีจุดที่สําคัญคือเรื่องการเงิน หรือตนทุนสวนอีก ดานหนึ่งที่มี ความสําคั ญในการพิจารณาคือการบริ การ ซึ่งทําใหมองเห็ นอยางชัดเจนวาการตัดสินใจแบบใด จะสงผลกระทบตอคุณคาการใหบริการลูกคามากที่สุด ซึ่งการตัดสินใจดานโลจิสติกสทั้งสามลักษณะ สามารถนํามาสรางความสัมพันธกับวัฏจักรการวางแผนงานดังภาพที่ 2.7 ภาพที่ 2.7 วัฏจักรการวางแผนงาน จากวัฏจักรการวางแผนงาน สามารถนํามาประกอบการตัดสินใจ เปน 3 ระดับดังนี้ 5101_3.1 คูมือแนะนําแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส สําหรับ SMEs