SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 130
Baixar para ler offline
โวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรี
• คือกลุ่มของวิธีวิเคราะห์ด้วย
ไฟฟ้าซึ่งข้อมูลเกี่ยวกับสาร
วิเคราะห์ได้จากการวัด
กระแสเป็นฟังก์ชันของศักย์
• จะใช้ขั้วเล็กมากซึ่งมีพื้นที่
ผิวไม่กี่ตารางมิลลิเมตร --
microelectrode
• หรือบางทีถึงระดับตาราง
ความแตกต่าง
• Volวัดกระแสโดยมี complete
concentration polarization
• Poten-i = 0 ไม่มี polarization
• EGV, Coul  ลด concentration
polarization
• Vol ใช้สารน้อยที่สุด
• EGV, Coul  ใช้สารทั้งหมด
ประวัติ
• พัฒนามาจากโพลาโร
กราฟี
• โพลาโรกราฟี เริ่มพัฒนา
โดยนักเคมีชาวเชคโกสโล
วาเกีย
• โพลาโรกราฟีใช้หยด
ปรอท
การใช้
ใช้อย่างกว้างขวาง
การศึกษาโดยพื้นฐานของ
กระบวนการออกซิเดชันและ
รีดักชันในตัวกลางต่างๆ
กระบวนการดูดซับที่ผิว
กลไกการถ่ายเทอิเล็กตรอนที่ขั้ว
ปรับแต่งทางเคมี
สัญญานกระตุ้น
• สัญญานกระตุ้นมีหลายแบบ แต่ละ
แบบมีข้อดีต่างกันทำาให้ได้เป็น
เทคนิคต่าง ๆ
• ผลที่ได้ เรียกว่า โวลแทมโมแกรม
• กรณี LSV อัตราการเพิ่มหรือลด
ศักย์คือ 2-5 mV/s
• LSV มี 2 แบบ
Hydrodynamic voltammetry
polarography
โวลแทมเมตรี
เครื่องมือ
• เซลล์มี 3 ขั้ว
ขั้วทำางาน
ขั้วอ้างอิง
ขั้วช่วย
โวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรี
ขั้วขนาดเล็ก
• มีหลายรูปร่างหลายแบบ
• จัดเป็นแผ่นแบนอยู่ในแท่งวัสดุ
เฉื่อยและมีการต่อกับลวด
• สารที่ใช้
Inert metal Pt Au
Pyrolytic graphite or glassy carbon
A semiconductor -> Tin or Indium
oxide
Metal coated with a film of mercury
•
โวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรี
• ขีดจำากัดทางบวก--H2O Oxidation
 O2
• ขีดจำากัดทางลบ--H2O Reduction
 H2
• กรณีปรอทจะดีมากเพราะมี high H2
overvoltage
• ใช้กันมากเนื่องจาก relatively
large negative potential range
• เกิดโลหะใหม่ได้ทันที (เกิดหยด
ใหม่)
• โลหะหลายตัวถูกรีดิวซ์ได้เป็นอะ
มัลกัมแบบผันกลับได้
• ปฏิกิริยาจึงเป็นแบบง่าย ๆ ไม่ซับ
ซ้อน
• ขั้วปรอทเล็กมากมีหลายรูป
MFE
HDME
ขั้วฟิล์มปรอท a mercury film electrode
• ให้ปรอทเกาะบนขั้วที่
เป็นแผ่น
ขั้วหยดปรอทแขวน
Hanging Mercury Drop Electode,
HMDE
• มีท่อคะปิลลารีเล็ก ๆ ต่อกับ
แหล่งปรอท
• ให้ปรอทออกจากคะปิลลารีโดย
ใช้สูบ
• มีสกรูเล็ก ๆ ควบคุมให้ได้
ขนาดของหยด
คงที่(reproducible)
ขั้วปรอทหยด (Dropping Mercury
Electrode, DME)
• มักใช้ในการทดลองโพลาโร
กราฟฟี
• ประกอยด้วยท่อคะปิลลารี ยาว 10
ซม. id 0.05 mm
• จะมีหยดเกิดขึ้นและหลุดไปทุก ๆ
2-6 วินาที
• เส้นผ่าศูนย์กลางของหยด 0.5-1
mm และ reproducible
• บางครั้งควบคุมโดยตัวเคาะ a
≈
ขั้วปรอทที่จัดเป็น DME หรือ HDME ก็ได้
• ปรอทอยู่ในแหล่งเก็บสูงกว่าปลายบน
ของคะปิลลารี 15 cm
• มีสปริงเป็นตัวดันไม่ให้มีการไหลของ
ปรอท
• เมื่อมีสัญญานจากระบบควบคุมจะทำาให้
กระบอกฉีดยายกขึ้น
• คะปิลลารีจะมีขนาดใหญ่ ประมาณ 0.15
mm ฉะนั้น การเกิดหยดจะเร็วมาก
• หลังจากชั่วขณะหนึ่ง วาล์วจะปิด และให้
หนยดอญุ่ตรงตำาแหน่งจนกว่าตัวเคาะจะ
โวลแทมโมแกรม
โวลแทมโมแกรม
• คือกราฟที่ได้ออกมาจากการ
ทดลอง
• รูปที่แสดง ได้จากการสแกนเป็น
เส้นตรงสำาหรับปฏิกิริยารีดักชัน
ของ A เป็น P
• จะเห็นได้ว่า โวลแทมโมแกรม
ปกติจะเป็นรูปตัวเอส S (a
sigmoidal curve)
• จะเห็นกระแสจำากัดซึ่งเป็นสัดส่วน
Al kci =
VEPneA 26.00
−==+ −
• ศักย์ที่กระแสเท่ากับครึ่งหนึ่ง
ของกระแสจำากัดเรียกว่า ศักย์
ครึ่งคลื่น (half wave potential
• เพื่อให้ได้กระแสจำากัดที่
reproducible จะต้องให้
สารละลายมีการเคลื่อนที่ที่ต่อ
เนื่องและ reproducible และ
ควรใช้ขั้วปรอท
2
1E
• โวลแทมเมตรีซึ่งสารละลาย
หรือขั้วมีการเคลื่อนที่เรียกว่า
hydrodynamic voltammetry
• โวลแทมเมตรีที่ใช้ขั้วหยด
ปรอท เรียกว่า polarography
Hydrodynamic voltammetry
ทำาได้หลายแบบ
• คนสารละลายโดยขั้วอยู่กับ
ที่
• หมุนขั้วด้วยความเร็วสูง
• ให้สารละลายไหลผ่านท่อ
สารตั้งต้นถูกถ่ายเทไปที่ผิวด้วย
กลไกสามประการ
• ไมเกรชัน
• การคน
• การแพร่
เทคนิคโวลแทมเมตรีลดผลไมเกรชัน
ด้วย
การเติมอิเล็กโทรไลท์คำ้าจุน
การกระจายความเข้มข้นที่ผิวขั้ว
• พิจารณา
• โดยใช้อิเล็กโทรไลท์และขั้วปรอท
• มีค่าค่าหนึ่ง
• P ไม่ละลายในปรอท
• ปฏิกิริยาเร็วและผันกลับได้
• ปฏิกิริยาเกิดที่ชั้นบาง ๆ ดังนั้น เมื่อเกิดอิเล็ก
โทรลิซิส ความเข้มข้นบัลค์ยังคงเหมือนเดิมคือ
PneA ⇔+ −
0≈PA CunchangedC
ref
A
P
Aapplied E
C
C
n
EE −−= 0
0
0
log
0592.0
AC 0=PC
• การแยกสลายด้วยไฟฟ้าที่ขั้ว
เล็กมากจะไม่เปลี่ยนความเข้ม
ข้นบัลค์ของสารละลายที่
วิเคราะห์อย่างมีนัยสำาคัญใน
ระหว่างทำาการทดลองโวลแทม
เมตรี
• ในการเข้าใจการเปลี่ยนแปลง
ความเข้มข้นตามระยะทาง
พิจารณาการเกิดรีดักชันที่ขั้ว
การคนทำาให้เกิดการไหลสามบริเวณดังรูป
• Turbulent flow
• Laminar flow
• Nernst diffusion layer
โวลแทมเมตรี
Laminar flow
• ชั้นของเหลวเลื่อนผ่านกันใน
ทิศทางที่ขนานกับผิวที่มีของเหลว
อยู่
Nernst diffusion layer
• ชั้นของเหลวในระบบการ
ไหลที่ติดกับผิวมากที่สุด
• ความเร็วของการไหลในชั้น
นี้มีค่าใกล้ศูนย์
ผังความเข้มข้นดังรูป
สังเกตสองบริเวณ
• บริเวณบัลค์
• ชั้นแพร่เนินส์
โวลแทมเมตรี
ที่ศักย์ค่าต่าง ๆ ความเข้มข้นที่ผิว
A P
• X เหลือ 80 %
20%
• Y E1/2 CA/2 CA/2
• Z il ใกล้ศูนย์
CA
กระแส กำาหนดจาก
• อัตราการถ่ายเทมวลจาก
ข้างนอกมาที่ชั้นแพร่
• อัตราการถ่ายเทมวลจากชั้น
แพร่มาที่ผิว
สำาหรับขั้วแบน
• i คือ กระแสในหน่วยแอมแปร์
• n คือ จำานวนโมลของอิเล็กตรอนต่อโมลของ
สารที่วิเคราะห์
• F คือค่าคงที่ของฟาราเดย์
• A คือพื้นที่ผิวในหน่วย cm2
• DA คือสัมประสิทธิ์การแหร่ของ A ในหน่วย
cm2
s-1
• cA คือ ความเข้มข้นของ A ในหน่วย molcm-3
• คือความชันของส่วนแรกของ
โปรไฟล์ความเข้มข้น






∂
∂
=
x
c
nFADi A
A
x
cA
∂
∂
คิดประมาณ
( )
( )
ionapproximatreasonable
interfacedefinedsharply
picturefiedoversimpli
ckc
nFAD
i
iicsmall
nFAD
k
cck
cc
nFAD
i
AAA
A
l
lA
A
A
AAA
AA
A
→
==
=⇒
=
−=
−=
δ
δ
δ
0
0
0
δ
)( 0
AA cc
byedapproximatbecanslopes
−
ความสัมพันธ์กระแส-ศักย์สำาหรับปฏิกิริยา
ผันกลับได้
• ผันกลับได้ในทางไฟฟ้าเคมี
หมายถึง ถ่ายโอนอิเล็กตรอน
ได้เร็ว
• หาสมการ i-E สำาหรับกราฟรูป
ตัว S
ในโวลแทมเมตรี
A
l
k
ii
A
lAA
lAA
AAl
AAl
AAAA
AAA
c
iick
iick
ckii
cki
ckcki
ccki
−
=
−=
−=−
−=
=
−=
−=
0
0
0
0
0
)(
กรณี P
• เครื่องหมายลบเพราะความชันเป็น
ลบ
• ความเข้มข้นที่ผิวมากกว่าบัลค์
)( 0
PPP ccnFADi −−=
P
P
P
P
PPP
P
P
k
i
c
nFAD
k
ckc
nFAD
i
c
=
−=
=−=
≈
0
00
0
δ
δ
กรณีมี A อย่างเดียว
( )
ref
lP
A
Aappl
ref
A
l
P
Aappl
refo
A
P
Aappl
E
ii
i
k
k
n
EE
E
k
ii
k
i
n
EE
E
c
c
n
EE
−
−
−−=
−
−
−=
−−=
log0592.0log
0592.0
log
0592.0
log
0592.0
0
0
0
0
เมื่อ i = il/2
refA
P
A
l
appl
ref
P
A
Aappl
l
l
EEE
k
k
Often
ii
i
n
EE
E
k
k
EEE
i
i
−≈⇒≈
−
−=∴
−−==
==
0
2/1
2/1
0
2/1
1
log
0592.0
log
2
0592.0
01log
2
2log
refA
P
A
l
appl
ref
P
A
Aappl
l
l
EEE
k
k
Often
ii
i
n
EE
E
k
k
EEE
i
i
−≈⇒≈
−
−=∴
−−==
==
0
2/1
2/1
0
2/1
1
log
0592.0
log
2
0592.0
01log
2
2log
ความสัมพันธ์กระแส-ศักย์สำาหรับปฏิกิริยา
ผันกลับได้ ตอนแรกมีทั้งสองสาร








−
−
+−=
al
cl
R
oo
ii
ii
nF
RT
m
m
nF
RT
EE
,
,'
lnln
ความสัมพันธ์กระแส-ศักย์สำาหรับปฏิกิริยา
ผันกลับไม่ได้
l
l
eq
l
l
O
i
ii
nF
RT
EE
i
ii
nF
RT
C
nF
RT
EE
−
+=
−
++=
ln
lnln *'0
โวลแทมโมแกรมสำาหรับสารผสม
• ปกติสารจะเป็นอิสระแก่กัน
• โวลแทมโมแกรมจึงเป็นผลรวมของคลื่น
แบบง่าย ๆ
• จากรูปจะเห็นว่าผลต่าง E1/2 0.1 V แยก
ไม่มากนัก
• ผลต่าง E1/2 0.2 V แยกมากขึ้น
• กราฟเดียวหาปริมาณสาร 2 ตัวได้ แต่
E1/2 ต้องต่างกันมากพอเพื่อหากระแส
แพร่แต่ละอันได้
• โดยทั่วไปกระบวนการรีดักชันแรก 2e
โวลแทมเมตรี
โวลแทมโมแกรมอาโนดและ
โวลแทมโมแกรมผสมอาโนด/คาโทด
• ในโวลแทมเมตรีจะเกิดทั้งคลื่น
อาโนดและคาโทดดังรูปซึ่งเป็น
รีดอกซ์ของเหล็กในตัวกลางซิ
เตรท
• ได้กระแสจำากัดที่ประมาณ 0.1
V อันเนื่องจากครึ่งปฏิกิริยา
• Fe2+
= Fe3+
+ e-
โวลแทมเมตรี
• กราฟ A มี Fe2+
จึงเกิดออกซิเดชัน
และได้กระแสจำากัดอาโนดที่
ประมาณ 0.1 V แล้วลดลงที่
ประมาณ -0.02 V
• กราฟ C มี Fe3+
จึงเกิดรีดักชัน
สังเกตว่ารูปกราฟเหมือนกัน แสดง
ว่า ผันกลับได้สมบูรณ์
• กราฟ B มีทั้ง Fe2+
และ Fe3+
• กราฟส่วนล่างนับจากกระแสเป็น
คลื่นออกซิเจน
• ออกซิเจนในสารละลายนำ้าจะให้
รีดักชันสองคลื่น
• จากออกซิเจนเป็นเปอร์ออกไซด์
• O2(g) + 2H+
+ 2e- = H2O2
• จากไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์เป็น
นำ้า
• H2O2 + 2H+
+ 2e- = 2H2O
• ความสูงคลื่นเท่ากันสอดคล้องกับ
โวลแทมเมตรี
• โวลแทมเมตรีเป็นวิธีที่สะดวก
และใช้กันมากในการหา
ปริมาณออกซิเจน
• แต่ถ้าศึกษาปฏิกิริยาของสาร
อื่น ออกซิเจนจะไม่รบกวน จึง
ต้องไล่ด้วยแก๊สเฉื่อย เรียกว่า
sparging หรือ purging
sparging
• คือกระบวนการที่แก๊สที่
ละลายถูกขจัดออกไป
จากตัวทำาละลายโดยการ
พ่นด้วยแก๊สเฉื่อยเช่น
ไนโตรเจน อาร์กอน หรือ
ฮีเลียมลงไปใน
สารละลาย และมักให้
แก๊สเฉื่อยปกคลุมอยู่
การประยุกต์ไฮดดรไดนามิกส์โวลแทมเม
ตรี
• ตรวจวัดและหาปริมาณสาร
ที่ออกจาก LC และ FIA
• หาปริมาณออกซิเจนและ
สปีชีส์ชีวเคมี
• การตรวจวัดจุดยุติในการ
ไทเทรต
• การศึกษาพื้นฐานของ
การวัดสารที่ออกจาก LC และ FIA
• ใช้ a thin layer cell
• ขั้วทำางานฝังในฉนวนแยก
จากขั้วช่วยด้วยแผ่นกั้น
• ปริมาตร 0.1 – 1 microliter
• ให้ศักย์เพื่อเกิด il กับขั้ว
ทำางานโลหะหรือ GC เทียบ
กับ SSCE
โวลแทมเมตรี
ตัววัดทางโวลแทมเมตรี
• มีการสร้างระบบ
โวลแทมเมตรีเพื่อ
วัดสปีชีส์มากมายทั้ง
อุตสาหกรรมและงาน
วิจัย
• บางทีเรียกว่าขั้วแต่จริง
ตัววัดออกซิเจน
• ใช้หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายใน
ตัวอย่างนำ้าเช่น
นำ้าทะเล
เลือด
ของเสีย (sewage)
นำ้าทิ้งจากโรงงานเคมี
ดิน
• ซึ่งมีความสำาคัญทาง
อุตสาหกรรม
งานวิจัยทางการแพทย์
งานวิจัยทางสิ่งแวดล้อม
Clark oxygen sensor
• จดลิขสิทธิ์โดย L. C. Clark,
Jr. 1956
• The Clark oxygen sensor
ใช้กันอย่างกว้างขวางใน
ห้องปฏิบัติการทางการ
แพทย์เพื่อหาปริมาณ
ออกซิเจนในเลือดหรือ
ของเหลวอื่น ๆ ในร่างกาย
โวลแทมเมตรี
โครงสร้าง
• เซลล์ประกอบด้วยขั้วทำางานเป็นแผ่
นพลาตินัมคาโทดฝังในฉนวนทรง
กระบอก
• ล้อมรอบด้วยวงแหวนซิลเวอร์อา
โนดด้านล่าง
• ใส่ในทรงกระบอกอีกอันซึ่งบรรจุ
KCl ที่บัฟเฟอร์
• มีเยื่อบาง ๆ ของเทฟลอนหรือโพลี
เอทิลีนซึ่งออกซิเจนผ่านได้ ความ
หนาประมาณ 10 micrometer
การทำางาน
• จุ่มสารละลายลงใน
สารละลายที่ไหลหรือคน
• ออกซิเจนแพร่จากเยื่อไปยัง
ชั้นบาง ๆ ของอิเล็กโทรไลท์
• แพร่ต่อไปยังขั้วแล้วถูก
รีดิวซ์ทันทีเป็นนำ้า
• ปฏิกิริยา?
• การถ่ายเทมวลต่างจากขั้วไฮโดร
ไดนามิกส์เพราะมีการแพร่สอง
กระบวนการ
ผ่านเยื่อ
ผ่านสารละลายระหว่างเยื่อและขั้ว
• เพื่อให้ได้สภาวะสเตดดีสเตดใน
เวลาที่เหมาะสม (10-20 s) ความ
หนาของเยื่อและฟิล์มอิเล็กโทรไลท์
แต่ละอันจะต้องเป็น 20
micrometer หรือน้อยกว่า
ตัววัดที่อาศัยเอนไซม์
• ตัวอย่างเช่น ตัววัด
กลูโคส
• ใช้กันมากในการหา
กลูโคสในเลือด
• มีลักษณะคล้ายคลึงกับ
ตัววัดออกซิเจน
โครงสร้าง
• เยื่อมีความซับซ้อนมากกว่า
• ประกอบด้วยสามชั้น
ฟิล์มโพลีคาร์บอเนต ให้
กลูโคสผ่านได้ แต่ไม่ให้
โปรตีนและองค์ประกอบอื่น
ๆ ในเลือดผ่าน
ชั้นกลาง ชั้นที่มีเอนไซม์
กลูโคสออกซิเดสตรึงอยู่
ชั้นใน เยื่อเซลลูโลสอะซี
การทำางาน
• จุ่มตัววัดในสารละลายที่มี
กลูโคส
• กลูโคสแพร่ผ่านชั้นนอก
ไปยังชั้นเอนไซม์ซึ่งจะ
เกิดปฏิกิริยา
• ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
แพร่ผ่านเยื่อชั้นในเข้าไป
ตัววัดโวลแทมเมตรีอื่น ๆ
• ซูโครส
• แลคโทส
• เอทานอล
• แอล-แลกเตท
ใช้เอนไซม์ที่ต่างกันออก
ไปสำาหรับแต่ละสปีชีส์
การไทเทรตแบบวัดกระแส
(amperometric titration)
• ใช้ไฮโดรไดนามิกโวลแทม
เมตรี ในการประมาณค่าจุด
สมมูล
• จะต้องมีสารอย่างน้อยหนึ่ง
ตัวถูกออกซิไดซ์หรือรีดิวซ์
• ให้ศักย์ในบริเวณกระแส
จำากัดแล้ววัดกระแสเทียบกับ
ปริมาตรหรือเวลา
โวลแทมเมตรี
• A = สารที่วิเคราะห์
R = รีเอเจนต์
• (a) Aทำาปฏิกิริยา R ไม่
ทำา
• (b) Rทำาปฏิกิริยา A ไม่
ทำา
โวลแทมเมตรี
ขั้วที่ใช้มีสองแบบ
• ขั้วโพลาไรซ์ได้ คู่กับขั้ว
อ้างอิง
• ไมโครอิเล็กโตรดมักเป็น
rotating Pt (รูป)
• หรือ DME (ไม่คน)
• ขั้วของแข็ง a pair of solid state
microelectrode immersed in a stirred
solution
ขั้วบ่งชี้เดียวใช้กับการไทเทรตแบบตก
ตะกอนและแบบเกิดสารเชิงซ้อน
• รีเอเจนต์
AgNO3 – halide ion
Pd(NO3)2 – ซัลเฟต
รีเอเจนต์อินทรีย์
•8-ไฮดรอกซีควินอลีน
•ไดเมทิลไกลออกซีม
•คัฟเฟอร์รอน
• กรณีเกิดสารเชิงซ้อนใช้ EDTA กับโลหะ
ต่าง ๆ ที่ถูกรีดิวซ์ได้ที่ขั้ว
• ข้อยกเว้นคือกรณีสารอินทรีย์ (จัดเป็น
แบบรีดอกซ์)ซึ่งทำาปฏิกิริยากับโบรมีน
ฟีนอล
อะโรมาติกเอมีน
โอลีฟิน
ไฮดราซีน
อาร์เซนิก(III)
แอนติโมนี(III)
มักผลิตโบรมีนด้วยวิธีคูลอมเมตรี
• หรือโดยการเติมสารละลายมาตรฐาน
โปตัสเซียมโบรเมตลงไปในสารละลาย
กรดของสารที่วิเคราะห์ที่มีโปตัสเซียม
โบรไมด์มากเกินพอ จะได้โบรมีน
• BrO3
-
+ 5Br-
+ 6H+
--> 3Br2 + 3H2O
• อาจใช้ขั้ว R-Pt หรือ twin-Pt จะไม่มี
กระแสก่อนจุดสมมูล
• หลังจุดสมมูลกระแสจะเพิ่มอย่างรวดเร็ว
เนื่องจากการรีดักชันของโบรมีน
• การใช้ขั้วคู่มีข้อดีคือ
เครื่องมือง่าย
ไม่ต้องเตรียมและดูแลขั้วอ้างอิง
ตัวอย่าง--การหาคลอไรด์
• ใน
ซีรัมเลือด
เหงื่อ
สารสกัดจากเนื้อเยื่อ
ยาฆ่าแมลง
ผลิตภัณฑ์อาหาร
• รีเอเจนต์คือ Ag+
ผลิตโดยคูลอมเม
ตรีจากซิลเวอร์อาโนด
• ปฏิกิริยา?
• ก่อนจุดสมมูลไม่มีกระแส
• คาโทดไม่เกิดปฏิกิริยาเพราะ
ไม่มีสารที่เกิดได้ (โพลาไรซ์
โดยสมบูรณ์)
• อาโนดไม่โพลาไรซ์เพราะ
สามารถเกิดปฏิกิริยาได้หากมี
สารที่เหมาะสม
• หลังจุดสมมูลเกิดกระแส ทั้ง
• คาโทดเกิดรีดักชันของ Ag+
• อาโนดเกิดออกซิเดชันของ Ag
• ดังนั้น จึงได้กราฟ แบบ (b)
• เครื่องไทเทรตอัตโนมัติ เมื่อมีกระแสแอมเปอโร
เมตริกจะหยุดกระแสคูลอมเมตรี
• คำานวณคลอไรด์ได้จากกระแสและเวลา
• ใช้ได้กับ 1-999.9 mM Cl-
• Precision 1% relative, Accuracy 0.5%relative
• Titration time 20s
โพลาโรกราฟฟี
• โพลาโรกราฟฟีแบบสแกนเป็นเส้น
ตรง เป็นโวลแทมเมตรีแบบแรกที่ถูก
ค้นพบและนำามาใช้
• ต่างจากไฮโดรไดนามิกโวลแทมเมตรี
คือ
• ดังนั้น กระแสจำากัดูกควบคุมโดยการ
แพร่อย่างเดียวจึงมีขนาดน้อยกว่า
• กระแสดังรูป มีการขึ้นลงเป็นช่วง
• เมื่อหยดหลุด i=0 เมื่อเกิดหยดใหม่ i
โวลแทมเมตรี
• การหากระแสเฉลี่ยต้องใช้ตัวกรอง
(filter) หรือเทคนิคสุ่ม ใกล้ช่วงสิ้นสุด
หยดเพื่อลด fluctuation
• กราฟ A เกิดจาก Cd2+
+ 2e-
+ Hg =
Cd(Hg)
• ที่ประมาณ -1 V จะมีกระแสเนื่องจาก
การรีดักชันของไฮโดรเจนไอออน
• หากมีอิเล็กโทรไลท์อย่างเดียวก็ยังคงมี
กระส เรียกว่า residual current
สมการของกระแสแพร่: สมการอิลโควิค
(id)avg กระแสเฉลี่ย microampere
t เวลาของหยด s
n จำานวนอิเล็กตรอนที่เกี่ยวข้อง
m อัตราการไหลของปรอทในคะ
ปิลลารี mg/s
D สัมประสิทธิ์การแพร่ cm2
/s
C ความเข้มข้นของสารที่วิเคราะห์
mmol/L
**อาจใช้ average current หรือ
maximum current ในการหาปริมาณ
ctmnDi avgd
6/13/22/1
607)( =
กระแสเรซิดวล
• ได้มาที่ความไวสูง
• กระแสมี 2 แหล่ง
ปฏิกิริยาจากสารปนเปื้อนปริมาณ
น้อย
กระแสประจุ
• สารปนเปื้อนที่เป็นไปได้
ออกซิเจน
ไอออนโลหะหนักจากนำ้ากลั่น
สารปนเปื้อนในอิเล็กโทรไลท์
โวลแทมเมตรี
กระแสประจุหรือกระแสคอนเด็น
เซอร์
• เกิดจากการไหลของอิเล็กตรอนที่ทำาให้
เกิดประจุขึ้นที่หยดปรอทเทียบกับ
สารละลาย
• อาจเป็นลบหรือบวก
• ที่ศักย์ค่าลบมากกว่า -0.4 V ผิวแต่ละหยด
มีประจุลบ
• เกิดกระแสบวกซึ่งจะหลุดไปพร้อมกับ
หยดแล้วมีการประจุให้หยดใหม่
• ที่ศักย์ลบน้อยกว่า -0.4 V ผิวแต่ละหยดมี
ประจุบวก เกิดกระแสลบ
เปรียบเทียบกระแสจากขั้วหยดและขั้ว
ระนาบนิ่ง
• SPE ได้กระแสช้าหากไม่
คนเพราะผลต่างความ
เข้มข้นเปลี่ยนแปลงตาม
เวลา
• DE ได้กระแสเร็วและ
reproducible
ธรรมชาติของการเกิด
ผลการเกิดสารเชิงซ้อน
• ส่งผลต่อศักย์ออกซิเดชั
นฝรีดักชัน
• ศักย์ครึ่งคลื่น
• มักเป็นลบมากกว่า
• หากปฏิกิริยาที่ขั้วผัน
กลับได้ จะหา Kf ได้
Lfc
xn
x
n
n
c
n
K
n
EE
MAxAM
HgMneHgM
log
0592.0
log
0592.0
)(
)(
2/12/1
)(
−−=−
⇔+
⇔++
+
−−+
−+
cE )( 2/1ศักย์ครึ่งคลื่นของสารเชิงซ้อน
ศักย์ครึ่งคลื่นของสารเมื่อยังไม่เกิดสารเชิงซ้อ
ค่าคงที่ในการเกิด
อัตราส่วนโมลของลิแกนด์ต่อไอออน
2/1E
fK
x
•พล็อตศักย์ครึ่งคลื่น
และ
•ได้สมการเส้นตรงที่
มีความชัน
•หา ได้
Lclog
n
x0592.0
x
fK
ผลจาก pH
• กระบวนการที่ขั้วจำานวน
มากเกี่ยวข้องกับไฮโดรเจน
ไอออน
• R + nH+
+ ne-
= RHn
• R:รูปออกซิไดซ์ของสาร
• RHn:รูปรีดิวซ์ของสาร
•
• การเปลี่ยน pH อาจเปลี่ยน
ผลิตภัณฑ์
• นอกจากนี้ กระบวนการที่ขั้ว
มักเปลี่ยน pH ที่ผิวขั้ว
• จึงต้องมีบัฟเฟอร์ มิฉะนั้น
ส่งผลต่อศักย์รีดักชัน
คลื่นไม่ชัดเจน
ข้อได้เปรียบของหยดปรอท
•ไฮโดรเจนโอเวอร์
โวลเตจสูง
•ไม่มี memory
effect
•แสดงกระแสทันที
ข้อเสียเปรียบของหยดปรอท
•ถูกออกซิไดซ์ได้
ง่าย
•เกิดกระแสเรซิ
ดวล
Current-Sampled (TAST)
Polarography
• เป็นการปรับวิธีเก่าโดยวัด
กระแสเฉพาะช่วงใกล้ช่วง
ชีวิตของแต่ละหยด
• Mechanical knocker ให้
time interval ที่
reproducible (0.5 – 5 s)
• รูปเปรียบเทียบแบบเก่ากับ
แบบใหม่
โวลแทมเมตรีแบบพัลซ์
• ทศวรรษที่ 1960s โพลาโร
กราฟฟีที่มีการสแกนเชิง
เส้นตรงไม่ได้เป็นเครื่องมือ
วิเคราะห์ที่สำาคัญอีกต่อไป
เพราะมีสเปคโตรสโคปีมา
แทน
• และจากข้อเสียเปรียบที่ ช้า
ไม่สะดวก DL ตำ่า
ดิฟเฟอเรนเชียลพัลซ์โพลาโรกราฟฟี
สัญญานกระตุ้นสองแบบ
• a ใช้ในเครื่องมืออานาลอก
--ใส่พัลซ์ในการสแกนเชิงเส้น
ตรง
• b –ใช้ในเครื่องมือดิจิตอล ใส่
พัลซ์ในสัญญานขั้นบันได
• ใส่พัลซ์ขนาด 50 mV ใน
ระหว่าง 50 ms สุดท้ายของช่วง
ชีวิตหยด
• จัดพัลซ์ให้พอดีกับหยด
• ทำาการวัดกระแสสองค่า
S1 ที่ 16.7 ms ก่อนพัลซ์
S2 ที่ 16.7 ms สิ้นสุดพัลซ์
• วัดผลต่างของกระแสต่อพัลซ์
เป็นฟังก์ชันของโวลเตจที่เพิ่มเป็น
เส้นตรงได้พีคดังรูป ความสูงพีค
เป็นสัดส่วนกับความเข้มข้น
• สำาหรับปฏิกิริยาผันกลับได้
0
EEp ≈
i∆
โวลแทมเมตรี
ข้อได้เปรียบ
• การแยก
DP 0.04-0.05 V
CP 0.2 V
• ความไว กรณีเตตราไซคลีน
180 ppm
CP แยกไม่ได้
DP แยกได้ชัดเจนถึง 2 x 10-3
เท่า
(0.36 ppm)
• การมีความไวมากกว่าเนื่องจาก
การเพิ่มของกระแสฟาราเดอิก
การเพิ่มของกระแสฟาราเดอิก
• เพิ่มศักย์จากพัลซ์ 50 mV -- เพิ่ม
กระแส -- ลดความเข้มข้น -- ถึง
–สมดุล กระแสแพร่
• CP– สังเกตการเพิ่ม i ไม่ได้เพราะ
ช่วงเวลาของการวัดยาว
• DP- วัดก่อนสลายตัว จะมีทั้งกระแส
แพร่และกระแสความเข้มข้น
• เมื่อหยดหลุด สารละลายจะเป็นเนื้อ
เดียว
การลดของกระแสประจุ
• เมื่อเพิ่มศักย์จากพัลซ์ 50
mV เป็นการเพิ่มกระแสนอน
ฟาราเดอิก ซึ่งสลายตัวแบบ
เอกโพเนนเชียลตามเวลา
และจะเข้าใกล้ศูนย์เมื่อสิ้น
สุดช่วงชีวิตหยด
• การวัดกระแสตอนสิ้นสุด
หยด กระแสประจุจะลดลง
สแควร์เวฟ
• เร็ว ความไวสูง
• ได้โวลแทมโมแกรมในเวลา
น้อยกว่า 20 ทห
• DME ทำาการสแกนในช่วง
ไม่กี่ ms ของช่วงชีวิตของ
หนึ่งหยดโดยที่กระแสประจุ
คงที่
โวลแทมเมตรี
• พัลซ์ b – ขั้นบันได a ได้ c SW
• ระยะขั้น = ช่วงเวลาพัลซ์ = 5
ms
• การเพิ่มศักย์เป็นขั้นบันได
• ขนาดของพัลซ์รวม
• ความถี่พัลซ์ 200 Hz สแกน 1 V ใช้
เวลา 0.5 s
τ ≈
mVES 10=∆
mVESW 502 =
วิธีคิด
5x10-3
s ได้ 1 พัลซ์
1 1/ 5x10-3
=200 s-1
10 mV ใช้เวลา 5 ms
1 V 5/10 = 0.5 s
โวลแทมเมตรี
การประยุกต์
• เดิม LSP ใช้หาปริมาณสารอินทรีย์
อนินทรีย์ ชีววิทยา ชีวเคมี
• ปัจจุบันใช้พัลซ์ เพราะไว สะดวก
และเลือกตอบสนอง
• ใช้กราฟคาลิเบรท--พล็อตความสูง
พีคกับความเข้มข้นและวิธี
Standard addition
• องค์ประกอบ (อิเล็กโทรไลท์ pH)
ของสารมาตรฐานต้องให้ใกล้เคียง
กับตัวอย่างมากที่สุด
สารอนินทรีย์
• แคทไอออนโลหะ แม้แต่อัลกาไลน์
อัลกาไลน์เอิร์ธ
• ใช้อิเล็กโทรไลท์หน้าต่างกว้าง
เช่น เตตระอัลคิลอัมโมเนียมคลอ
ไรด์ มีตารางศักย์ครึ่งคลื่น
• การเลือกแอนไอออนเพิ่มความไว
KCl คลื่น Fe(III) Cu(II) รบกวน
กัน
F-
ศักย์ครึ่งคลื่นของ Fe(III)
เลื่อนไป -0.5 v ส่วนของ
Cu(II) เลื่อนเล็กน้อย จึงแยกได้ดี
สารอินทรีย์
• ใช้หาหมู่ฟังก์ชันมากมายให้
คลื่น 1 คลื่นหรือมากกว่า
1.หมู่คาร์บอนีล
2.กรดคาร์บอกซิลิกบางตัว
3.เปอร์ออกไซด์ อีพอกไซด์
4.หมู่ไนโตร ไนโตรโซ เอมีน
ออกไซด์ อาโซ
5.ฮาโลเจน
6.พันธะคู่
•ปฏิกิริยามักช้าและ
ซับซ้อน
•ต้องลงละเอียดมาก
ขึ้นเมื่อหาปริมาณ
•มีประโยชน์ในการ
สตริพพิง - 3 ขั้นตอน
1. สารที่วิเคราะห์เกาะบนขั้วจาก
สารละลายที่คน
2. หลังเวลาหนึ่ง หยุดอิเล็กโทรลิ
ซิส และหยุดคน
3. สารวิเคราะห์ละลายกลับมา
ใหม่
อาโนดิก สตริพพิง-dep คาโทด
str อาโนด
โวลแทมเมตรี
• ให้ศักย์คงที่ -1 V Cd Cu ถูก
รีดิวซ์
• หยุดคน รักษาศักย์ไว้ที่ -1 V
• ลดศักย์เป็นเส้นตรง บันทึกระ
แสตามเวลาหรือศักย์
• โวลแทมโมแกรม Cd -0.6 V
Cu -0.1 V
•
α
ดูรายละเอียดทีละขั้น เริ่มจากขั้น
เกาะ
• เกาะเพียงเศษส่วนหนึ่งเท่านั้น
• ผลในการหาปริมาณขึ้นกับ
1. การควบคุมศักย์ที่ขั้ว
2. ขนาดขั้ว
3. เวลาในการเกาะ
4. อัตราการคน
ข้อได้เปรียบของการวิเคราะห์แบบส
ตริพพิงคือความสามารถในการ
สะสมทางไฟฟ้าเคมีของสารที่วิ
เคราห์ก่อนขั้นวัด
ขั้นตอน
• ทำาให้มี fresh hanging drop
• คน
• ให้ศักย์มากกว่า E1/2 ของไอออน
• ใช้เวลา 1 min หรือน้อยกว่า
สำาหรับ 10-7
M
• ใช้เวลา 30 นาที สำาหรับ
10-9
M
• เวลานี้ไม่ใช่ complete removal
ขั้นสุดท้าย—สตริพพิง—เช่น LSV
• หยุดเกาะ--ทิ้งไว้ 30 วิ--
หยุดคน
• ลดศักย์--วัดกระแส--
โดยทั่วไปคาลิเบรท
• สามารถได้ความเที่ยง
2%
ขั้นสุดท้าย—สตริพพิง—เช่น ADP
• มักได้พีคแคบซึ่งจำาเป็นสำาหรับการวิเคราะห์
สารผสม
• ที่จะทำาให้ได้พีคที่แคบขึ้นคือการใช้ mercury
thin film electrode
• A mercury thin film is electrodeposited on
an inert microelectrode
• มักทำาพร้อม ๆ ไปกับ the analyte deposition
• The average path length is much shorter
than that in a drop
• พีคจึงแคบกว่าและใหญ่กว่า
• HDME – more reproducible – esp higher
โวลแทมเมตรี
Many other variations
• หาแคทไอออนโดยให้เกาะบนขั้วพลา
ตินัม
• ปริมาณไฟฟ้าวัดโดยคูลอมเมตรี
• ได้เปรียบเป็นพิเศษสำาหรับสาร
ปริมาณน้อย
• Cathodic stripping สำาหรับเฮไลด์
ไอออน
• เกาะบนขั้วปรอทในรูปเกลือ Hg(I) ที่
mercury anode
Adsorption Stipping Methods
• HDME
• Physical adsorption
• LS or Pulse
• ข้อมูลเชิงปริมาณจะได้จากการคา
ลิเบรท
• สารอินทรีย์ทางการแพทย์และทาง
ยาดูดซับบนปรอท
• ผิวอยู่ที่ -0.4 V vs SCE ประจุบน
ultramicroelectrode
• ขนาด 20 ถึง 0.1 micrometer
• มีหลายรูปเช่นขั้วแบนจากการ
ผนึก carbon fiber Au Pt ในคะ
ปิลลารี
• เครื่องมือง่าย ไม่ต้องใช้สามขั้ว
กระแสมีค่าน้อย จน iR drop
ไม่มีผล
• พัฒนามาจากความต้องการใน
ข้อได้เปรียบของ UME
1.iR drop น้อย
2.กระแสประจุน้อย
3.อัตราการถ่ายเทมวลเพิ่ม
ขึ้น เกิด กระแสคงที่ใน
microsecond
Cyclic voltammetry
• ใช้รูปคลื่นฟันปลาแล้ววัด
กระแส ทำาได้หลายรอบ
• Switching potential
• Forward and reverse
scan
• ปกติเวลาจะเป็น 10 ms หรือ
น้อยกว่า 100 s
โวลแทมเมตรี
• เห็นออกซิเดชันของนำ้าเป็นออกซิเจน
0.9 V
• +0.7 - +0.4 V ไม่มีสารที่จะเกิดปฏิกิริยา
• ลบมากกว่า +0.4 V จะเกิดกระแสคาโทด
• FeIII
(CN)6
3-
+ e = FeII
(CN)6
4-
• กระแสสองส่วนคือจากการเลี่ยนแปลง
ความเข้มข้นและกระแสแพร่
• กลับการสแกนกระแสยังเป็นคาโทดิก
• ในที่สุดศักย์มากพอที่จะเกิดออกซิเดชัน
• พารามิเตอร์ที่สำาคัญคือ Epc, Epa,ipa,ipc,
• สำาหรับการผันกลับได้ทางเคมี
Ep∆
1=
pa
pc
i
i
โวลแทมเมตรี
พาราไทออน
NHOHH2e2NO
derivativenitrosoderivativeminehydroxyla
e2H2NONHOH
derivativeminehydroxylaparathion
OHNHOHH4e4NO 22
ΦΦ
ΦΦ
ΦΦ
→++
→
++→
+→++
+−
−+
+−

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกันการกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกันJariya Jaiyot
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - StoichiometryDr.Woravith Chansuvarn
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์Pat Jitta
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์oraneehussem
 
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โครงส้างสารประกอบไออนิก
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โครงส้างสารประกอบไออนิกรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โครงส้างสารประกอบไออนิก
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โครงส้างสารประกอบไออนิกJ K
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdfKatewaree Yosyingyong
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุoraneehussem
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีพัน พัน
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์Thepsatri Rajabhat University
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีkkrunuch
 
Lab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applicationsLab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applicationsBELL N JOYE
 
05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิกkruannchem
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)Thanyamon Chat.
 

Mais procurados (20)

Conductometry
ConductometryConductometry
Conductometry
 
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกันการกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
 
การนำไฟฟ้า (Conductivity)
การนำไฟฟ้า (Conductivity)การนำไฟฟ้า (Conductivity)
การนำไฟฟ้า (Conductivity)
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โครงส้างสารประกอบไออนิก
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โครงส้างสารประกอบไออนิกรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โครงส้างสารประกอบไออนิก
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โครงส้างสารประกอบไออนิก
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 
Lab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applicationsLab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applications
 
05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก
 
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
บทที่  3 พลังงานทดแทนบทที่  3 พลังงานทดแทน
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลาย
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 

Destaque (15)

Cyclic Voltammetry
Cyclic VoltammetryCyclic Voltammetry
Cyclic Voltammetry
 
Voltammetry
VoltammetryVoltammetry
Voltammetry
 
Key to voltammetry exercise
Key to voltammetry exerciseKey to voltammetry exercise
Key to voltammetry exercise
 
แบบฝึกหัด โวลแทมเมตรี
แบบฝึกหัด โวลแทมเมตรีแบบฝึกหัด โวลแทมเมตรี
แบบฝึกหัด โวลแทมเมตรี
 
Basics of Voltammetry and Potentiometry
Basics of Voltammetry and Potentiometry Basics of Voltammetry and Potentiometry
Basics of Voltammetry and Potentiometry
 
Polarography
PolarographyPolarography
Polarography
 
Hydrology sediment 4 slide
Hydrology sediment 4 slideHydrology sediment 4 slide
Hydrology sediment 4 slide
 
Analyze chem1
Analyze chem1Analyze chem1
Analyze chem1
 
4
44
4
 
Key ex conduct
Key ex conductKey ex conduct
Key ex conduct
 
Key ex eg cou
Key ex eg couKey ex eg cou
Key ex eg cou
 
3.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี573.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี57
 
potentiometry
potentiometrypotentiometry
potentiometry
 
Potentiometry
PotentiometryPotentiometry
Potentiometry
 
Voltammetry
VoltammetryVoltammetry
Voltammetry
 

Semelhante a โวลแทมเมตรี

Electrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometryElectrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometryPipat Chooto
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุkrupatcharee
 
08 Oscilloscope.ppt
08 Oscilloscope.ppt08 Oscilloscope.ppt
08 Oscilloscope.pptbaipho
 
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
เรื่อง  รังสีเอ็กซ์เรื่อง  รังสีเอ็กซ์
เรื่อง รังสีเอ็กซ์Somporn Laothongsarn
 
Presentation1 เซลล์.pptx
Presentation1 เซลล์.pptxPresentation1 เซลล์.pptx
Presentation1 เซลล์.pptxBewwyKh1
 
การค้นพบนิวตรอน
การค้นพบนิวตรอนการค้นพบนิวตรอน
การค้นพบนิวตรอนkrupatcharee
 
การค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอนการค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอนkrupatcharee
 

Semelhante a โวลแทมเมตรี (11)

Electrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometryElectrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometry
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
08 Oscilloscope.ppt
08 Oscilloscope.ppt08 Oscilloscope.ppt
08 Oscilloscope.ppt
 
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
เรื่อง  รังสีเอ็กซ์เรื่อง  รังสีเอ็กซ์
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
Mass spectrometry
Mass spectrometryMass spectrometry
Mass spectrometry
 
ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3
 
Presentation1 เซลล์.pptx
Presentation1 เซลล์.pptxPresentation1 เซลล์.pptx
Presentation1 เซลล์.pptx
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
การค้นพบนิวตรอน
การค้นพบนิวตรอนการค้นพบนิวตรอน
การค้นพบนิวตรอน
 
การค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอนการค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอน
 

Mais de Pipat Chooto

แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetryแบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetryPipat Chooto
 
แบบฝึกหั ดConduct
แบบฝึกหั ดConductแบบฝึกหั ดConduct
แบบฝึกหั ดConductPipat Chooto
 
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
3.3 สมดุลไอออนในน้ำPipat Chooto
 
3.2 สมดุลแบบต่างๆ
3.2 สมดุลแบบต่างๆ3.2 สมดุลแบบต่างๆ
3.2 สมดุลแบบต่างๆPipat Chooto
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์Pipat Chooto
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์Pipat Chooto
 

Mais de Pipat Chooto (12)

แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetryแบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
 
แบบฝึกหั ดConduct
แบบฝึกหั ดConductแบบฝึกหั ดConduct
แบบฝึกหั ดConduct
 
Envi chem
Envi chemEnvi chem
Envi chem
 
Conductometry
ConductometryConductometry
Conductometry
 
Conductometry
ConductometryConductometry
Conductometry
 
Envi chem
Envi chemEnvi chem
Envi chem
 
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
 
3.2 สมดุลแบบต่างๆ
3.2 สมดุลแบบต่างๆ3.2 สมดุลแบบต่างๆ
3.2 สมดุลแบบต่างๆ
 
บทนำ1
บทนำ1บทนำ1
บทนำ1
 
บทนำ1
บทนำ1บทนำ1
บทนำ1
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 

โวลแทมเมตรี