SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 64
การจัดการเชิงกลยุทธ์ด้วยปรัชญาหมากล้อม
นพพร เทพสิทธา
ถาม - ตอบ
คิด - ตัดสินใจ - ลงมือทา
คาถามที่ดี ย่อม นาไปสู่คาตอบที่ดี
คาถามที่ชาญฉลาด ย่อมนาไปสู่ความสาเร็จที่ไม่ธรรมดา
คาถามเชิงกลยุทธ์
• เราจะใช้ทรัพยากรและเวลาที่มีอยู่อย่างจากัด เพื่อบรรลุเป้าหมายของเราได้อย่างไร
• เราจะสามารถบรรลุทั้งความยืดหยุ่นและความมุ่งมั่นต่อเป้าหมายพร้อมๆ กันอย่างไร
• เราจะประเมินแยกแยะผลได้ ผลเสียของแนวทางต่างๆ ที่มีให้เลือกมากมาย อย่างไร
• โครงการไหนที่ควรสานต่อ โครงการไหนที่ควรยุติ
• เมื่อไหร่ควรบุกลุยไปข้างหน้า เมื่อไหร่ควรอดกลั้นรอคอยจังหวะโจมตี
• เมื่อไหร่ควรเป็นฝ่ ายนาเกมและเมื่อไรควรแค่เกาะตามสถานการณ์ไปก่อน
• เราจะรุกเข้าไปอย่างไร ในสถานการณ์ที่ฝ่ ายตรงข้ามมีอิทธิพลเข้มแข็ง
• ถ้าคู่แข่งบุกรุกเข้ามาในเขตอิทธิพลของเรา เราควรรับมืออย่างไร
• ถ้าเรามีจุดแข็งในหมากบางกลุ่ม และก็มีจุดอ่อนในหมากอีกกลุ่ม เราจะจัดสรร
ทรัพยากรอย่างไรให้เหมาะสม เพื่อการเติบโตอย่างมั่นคงในภาพรวม
• เมื่อไหร่ควรสละหมากเพื่อรักษาส่วนรวม และเมื่อไหร่ควรลงทุนเพื่ออนาคต
• เมื่อสถานการณ์เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เราควรปรับแผนกลยุทธ์อย่างไร
การจัดการเชิงกลยุทธ์
• การมองไปในอนาคตเพื่อตอบคาถามว่า ธุรกิจที่บริษัทกาลัง
ดาเนินการอยู่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดหรือลูกค้า
หรือไม่ ? บริษัทจะก้าวไปในทิศทางใด ? จะเติบโตอย่างไร ?
ผู้บริหารได้เตรียมตัวรับการเปลี่ยนแปลงต่างๆไว้อย่างไรบ้าง ?
• การกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ของ
องค์การในระยะสั้นและระยะยาว จากนั้นจึงวางแผนและ ทา
กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้องค์การสามารถดาเนินงานตามพันธกิจ
อันนาไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กาหนดไว้
เครื่องมือในการวิเคราะห์กลยุทธ์
• การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส ข้อจากัด SWOT Analysis
• การวิเคราะห์ปัจจัย 5 ประการที่มีผลต่ออุตสาหกรรม
5 Forces Analysis
• การวิเคราะห์วงจรชีวิตอุตสาหกรรม Industry lifecycle
• การวิเคราะห์ปัจจัยแห่งความสาเร็จของอุตสาหกรรม
Key Success Factors
• การวิเคราะห์ลูกโซ่แห่งคุณค่า Value Chain Analysis
• การวิเคราะห์ความต้องการของลูกค้า Customer Analysis
• การวิเคราะห์คู่แข่งขัน Competitor Analysis
• แนวทางในการดาเนินงานที่ทาให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย
• แนวทางในการทาให้องค์กรประสบความสาเร็จ
• วิธีการในการแข่งขันที่จะทาให้องค์กรสามารถเอาชนะ
คู่แข่งได้
• วิธีการหรือแนวทางที่องค์กรจะนาเสนอคุณค่า ให้กับ
ลูกค้า เพื่อให้องค์กรประสบความสาเร็จตามที่ต้องการ
ทาไมต้องมีการจัดการเชิงกลยุทธ์
• กาหนดทิศทางในอนาคต ขององค์กร
• ทาให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย
• ทาให้องค์กรเดินไปในทางเดียวกัน
• ทาให้เกิดคุณค่าสูงสุด ด้วยทรัพยากรที่มีจากัด
• ตื่นตัวต่อสิ่งแวดล้อม พร้อมต่อการเปลี่ยนแปลง
• ทาให้ได้เปรียบในการแข่งขัน
• สร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ
ลักษณะสาคัญของการจัดการเชิงกลยุทธ์
• เป็นกระบวนการบริหารองค์การโดยรวม
• เเน้นการสร้างกลยุทธ์ เพื่อสร้างความได้เปรียบในระยะยาว
• ตัดสินใจที่อาศัยชั้นเชิง ไม่มีวิธีการที่สาเร็จรูป
• ต้องอาศัยความร่วมมือ พันธะผูกพัน และ ทรัพยากรในองค์การ
• มีทิศทางชัดเจน และ แสดงให้ทุกคนในองค์การเข้าใจตรงกัน
• คานึงถึง ลักษณะการดาเนินงานขององค์การ ลักษณะธุรกิจในอนาคต
สภาพแวดล้อม การจัดสรรทรัพยากร การปฏิบัติงานให้บรรลุ
เป้าหมาย
ปัจจัยแห่งความสาเร็จในการจัดการเชิงกลยุทธ์
• วิสัยทัศน์ และ เป้าหมาย
• ข่าวสารข้อมุล
• กลยุทธ์
• คน กระบวนการ เทคโนโลยี
"ยุทธศาสตร์" เป็นคาที่ใช้อยู่ในวงการธุรกิจมานาน
ถึงแม้ว่าใครๆ จะบอกว่าเป็นศัพท์ทางการทหารก็ตาม
แต่เมื่อเราสามารถนาสิ่งต่างๆ มาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์ได้
แล้วทาไมยุทธศาสตร์ทางการทหาร
จะนามาสนับสนุนในการวางยุทธศาสตร์ทางธุรกิจไม่ได้
ในเมื่อวงการธุรกิจนับวันยิ่งปราศจากธรรมเนียมแห่งการช่วยเหลือ
ประนีประนอมกัน เหมือนเช่นสงครามเข้าไปทุกที
และถ้าหากคุณเป็นคนหนึ่งที่เชื่อว่า
"คุณไม่สามารถดาเนินกิจกรรมทางธุรกิจของคุณไปสู่ชัยชนะได้
ถ้าหากคุณไม่มียุทธศาสตร์ที่ใช้การได้"
BUSINESS WARGAMES "สงคราม ธุรกิจ-ทหาร เหมือนกัน"
นิตยสารผู้จัดการ( กันยายน 2532)
ปัจจัยแห่งความสาเร็จในการทาสงคราม
• ธรรม – ความชอบธรรม หลักการ เหตุผล วัตถุประสงค์
• ดินฟ้ าอากาศ – ฤดูกาล ลมพายุ ฝน หิมะ
• ภูมิประเทศ – ระยะทาง ลักษณะของพื้นที่
• ขุนพล – บุคคลผู้กอปร สติปัญญา ความเที่ยงธรรม ความ
เมตตา ความกล้าหาญ และ ความเข้มงวดเด็ดขาด
• ระเบียบวินัย – ระบบการจัดทัพ วินัย การใช้จ่าย
การทาสงคราม ต้องมียุทธศาสตร์
ยุทโธบาย
• รบร้อยครั้ง ชนะร้อยครั้ง ยังไม่ใช่ชัยชนะที่เลอเลิศ
ชนะโดยไม่ต้องรบ คือ สุดยอดชัยชนะ
• สุดยอดการรบ ต้องรบด้วยกลยุทธ์
รองลงมา คือ ใช้การทูต การเจรจาหว่านล้อม
สุดท้าย จึงค่อยใช้กาลังทหาร
เลวที่สุด คือ การล้อมตีค่ายของศัตรู
• รู้เขารู้เรา รบร้อยครั้ง ไม่มีพ่ายแพ้
ไม่รู้เขา รู้เรา แพ้ชนะยังก้ากึ่งอยู่
ไม่รู้เขา ไม่รู้เรา ย่อมปราชัยทุกครั้งไป
ท่วงทานองยุทธ์
• รบโดยไม่ให้เพลี่ยงพลั้ง ต้องรบทั้งซึ่งหน้าและพลิกแพลง
• ชัยชนะ ตัดสินที่ การรบแบบพลิกแพลง หรือ ยุทธวิธี
ผู้เจนจบการรบ ย่อมพลิกแพลงได้ไม่รู้จบ ไม่มีอับจน
ดั่งฟ้ าดินอันไม่สิ้นสุด ดุจแม่น้าไหลรินไม่ขาดสาย
จบแล้วเริ่มใหม่ ตายแล้วก็ผุดเกิด เช่นเดือนตะวันที่ตกแล้วก็ขึ้น
• สายน้าเชี่ยวกราก พัดพาหินใหญ่ให้เคลื่อนลอยได้ ด้วยพลังแรง
นกอินทรีย์ที่รวดเร็ว จับเหยื่อได้ ด้วยรู้จังหวะโจมตี
ท่วงทานองยุทธ์ ต้องฉับไว น่าเกรงขาม จู่โจมช่วงสั้น
ผู้เชี่ยวชาญศึก
• ผู้เชี่ยวชาญศึก พึงคุมความได้เปรียบ ไม่ยอมเป็นฝ่ายถูกคุม
• ผู้เชี่ยวชาญศึก ย่อมเข้าโจมตีจนศัตรูไม่มีทางรับ มุ่งทาลายจุดอ่อน แม้น
ตั้งรับ ศัตรูก็ไม่รู้ว่า จะเข้าตีอย่างไร เพราะไร้จุดอ่อนให้เห็น
ยามต้องถอย ศัตรูก็ไล่ไม่ทัน เพราะ ความรวดเร็ว
• ให้ศัตรูเปิดเผย แต่เราไม่สาแดงร่องรอย
ให้ฝ่ายศัตรูแตกแยก แต่เรารวมเป็นหนึ่ง
• พิจารณาสภาพเราสภาพเขาให้ถ่องแท้ เพื่อประเมินเชิงได้เชิงเสีย
สอดแนม เพื่อหาเบาะแส และ ติดตามความเคลื่อนไหวของศัตรู
วางกาลังอย่างรอบคอบ กาหนดจุดเป็นจุดตาย
• เข้าปะทะประลองกาลัง เพื่อรู้จุดอ่อนจุดแข็งของเรา
ผู้เชี่ยวชาญศึก
• ด้วยหยั่งรู้ลึกตื้นหนาบางของข้าศึก จึงกาชัยชนะ
เมื่อชนะ ก็ไม่ให้ผู้ใดหยั่งรู้ เงื่อนงาแห่งชัยชนะ
ใช้ยุทธวิธี ไม่ซ้าเดิม ปรับตามสถานการณ์ ไม่มีหมดสิ้น
• วางกลยุทธ์ ให้เหมือน ธรรมชาติของน้า
หลีกเลี่ยงที่สูง ไหลลงต่า หลีกเลี่ยงแข็ง เข้าตีอ่อน
ไหลบ่าตามภูมิประเทศ ปรับตามสภาวะของข้าศึก
ไม่มีหลักตายตัว ดังเช่นน้า ที่ไม่มีรูปลักษณ์แน่นอน
การสัปยุทธ์ชิงชัย
• การทาสงคราม ความยากอยู่ที่การสัปยุทธ์ชิงชัย ทายากกว่าวางแผน
เป็นตายเท่ากัน อาจอยู่รอดปลอดภัย หรือเกิดมหันตภัยถ้าประมาท
• หากกองทัพขาดยุทธปัจจัย เสบียงอาหาร กาลังบารุง ต้องแพ้แน่นอน
• การสัปยุทธ์ชิงชัย ต้องรู้จักใช้ความคิดพลิกแพลง ต่อสู้ด้วยยุทธวิธี
เคลื่อนไหวทันที เมื่อเห็นโอกาส ทุกก้าวย่างต้องได้ผล เกิดคุณค่า
ปรับเปลี่ยนได้ทุกรูปแบบ ทั้งรวมกาลัง และ กระจายกาลัง
• การสัปยุทธ์ชิงชัย ต้องรวดเร็วประหนึ่งลมพายุ
แต่เมื่อต้องเชื่องช้า ก็ช้าประหนึ่งเดินในแมกไม้ไพรพนา
รบดั่งเช่นไฟบรรลัยกัลป์ หนักแน่นปานภูผา ศัตรูไม่ทันคาดคิด
ดุจท้องฟ้ าอันเวิ้งว้างสุดหยั่งรู้ เมื่อไหวตัวก็เป็นสายฟ้ าที่ก้องคารณ
การทาสงคราม
• ผู้นาต้องมีคุณธรรม พึงใคร่ครวญผลได้เสียของสงครามให้จงหนัก
ขุนพลที่เก่งกล้า ย่อมเผด็จศึกให้ได้ในเร็ววัน
• ไม่เห็นประโยชน์ ไม่พึงเคลื่อนทัพ
ไม่สามารถเอาชนะ ไม่พึงใช้กาลังทหาร
ไม่คับขันจาเป็นจริงๆ ไม่พึงทาสงคราม
• อย่าก่อสงคราม เพราะ ความโกรธ
อย่ารุกไล่ เพราะ แค้นเคือง
• ทาสงคราม เพราะประโยชน์ของส่วนรวม
ประเทศล่มสลาย ผู้คนล้มตาย ไม่อาจเรียกกลับคืนมาได้
หัวใจแห่งความสาเร็จ อยู่ที่ ปัญญา
ลักษณะของปัญญา
• ไม่ใช่เป็นทั้งความรู้ และ ความจา
• เป็นสิ่งเฉพาะบุคคล และ มีเอกลักษณ์
• เรียบง่าย แต่ได้ผล
• จังหวะเวลาเหมาะสม
• มองภาพรวมและภาพย่อย
• ปรับเปลี่ยนได้ตามสิ่งแวดล้อมภายในและภายนอก
• ไม่เจือปนด้วยความโน้มเอียงส่วนตัว อารมณ์
• คิดถึงความเสี่ยงและการป้องกันความเสี่ยง
ปัญญาเชิงกลยุทธ์ Strategic Wisdom
ปัญญา ที่นาไปสู่ชัยชนะ
ในการแข่งขัน การต่อสู้ การทาสงคราม
ชนะตนเอง ชนะคู่ต่อสู้ ชนะคู่แข่ง ชนะมวลชน
การฝึกปัญญาเชิงกลยุทธ์
การฝึกปัญญาเชิงกลยุทธ์ด้วยหมากล้อม
ข้อดีในการฝึกปัญญาเชิงกลยุทธ์ด้วยหมากล้อม
• หมากล้อม เป็นทั้งเกม และ เครื่องมือ Simulation Tool
• จาลองสงคราม ธุรกิจ เครือข่าย Value Chain
• ฝึกทั้งความคิด จิตใจ มารยาท และ คุณธรรม
• แฝงด้วยปรัชญา ตะวันออก ซุนวู เต๋า เซน พุทธ
จาก HUG MAGAZINE ฉบับ 15 ธ.ค.2556 - 14 ม.ค.2557
ผู้เขียน อ.ขวด
หมากล้อม คือ ห้องแล็บมนุษย์
• ฝึกให้คิดอย่างเป็นระบบ ตัดสินใจอย่างมีขั้นตอน
ใช้ข้อมูลประกอบ ไม่ใช้อารมณ์ หรือ ความเคยชิน
• ฝึกการวางแผนกลยุทธ์ การจัดการเชิงกลยุทธ์
• ส่งเสริมคุณธรรม เช่น สันโดษ เมตตา เชื่อมั่นในกฎแห่งกรรม
• เมื่อเล่นบ่อยๆ จะค่อยๆซึมซับ ปรับเปลี่ยนอุปนิสัย ทัศนคติ
หมากล้อม ภาพย่อยในองค์รวม
• ไม่จาเป็นต้องชนะในทุกๆเรื่องราว
การพยายามเอาชนะเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
ต้องทุ่มเททรัพยากรจานวนมากให้กับเรื่องอื่นๆอีกหลายเรื่อง ติดตามมา
• บางครั้งควรเจตนายอมแพ้ในบางเรื่อง
เพื่อถนอมกาลังไว้ใช้กับเรื่องอื่น ที่สาคัญต่อความสาเร็จของชีวิตมากกว่า
• การฝึกให้สามารถยอมรับความพ่ายแพ้ในวงสนทนา
ทาให้เป็นคนมีเสน่ห์ มีเพื่อนมาก เปิดโลกทัศน์จากการฟังความเห็นของผู้อื่น
• สนามรบในชีวิตของแต่ละคนย่อมมีมากมายหลายสนาม
ต้องแยกแยะให้ออก จัดลาดับความสาคัญให้กับแต่ละสนาม
คานึงถึงความสัมพันธ์ที่มีต่อกันและกัน จัดสมดุล ระหว่างเรื่องราวต่างๆ
ให้สามารถดาเนินไปพร้อมๆ กันด้วยดี ตามกาลังความสามารถที่มีอยู่
ประโยชน์ของหมากล้อม
1. ปรับทัศนคติ พัฒนา จิตใจ
 มีจิตใจเปิดกว้าง ทาให้พัฒนาได้อย่างไร้ขีดจากัด
 มีน้าใจนักกีฬา รู้แพ้รู้ชนะ อ่อนน้อมถ่อมตน เคารพผู้อื่น
 เอาชนะจิตใจตน ไม่ละโมบโลภมาก ไม่หลงตน ไม่ลาพองใจ
 อดทนอดกลั้น รอจังหวะเวลาที่เหมาะสม
 พากเพียรพยายาม สู้จนถึงที่สุด ไม่ท้อถอยง่ายๆ ไม่ใจเสาะ
 มีสติ ควบคุมอารมณ์ได้ดี
 มีสมาธิ มีความสงบนิ่ง หนักแน่น รอบคอบ ไม่วู่วาม
2. พัฒนา ปัญญาเชิงกลยุทธ์
 ไม่ยึดติด รู้จักพลิกแพลง คิดนอกกรอบ
 รู้จักรุก รู้จักรับ ประเมินสถานการณ์และปรับตัว
 มองภาพใหญ่ เชื่อมโยงภาพย่อย มีเป้าหมายชัดเจน
 เข้าใจความคิด ความต้องการ จุดอ่อน จุดแข็ง ของผู้อื่น
 พัฒนาการใช้สมองซีกขวา (EQ) มีความจาแม่นยา ช่างสังเกต
 มองหาทางเลือกได้หลากหลาย ตัดสินใจได้ดีในภาวะกดดัน
 บริหารทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ เข้าใจเรื่อง Optimizatiom
 รู้จักสร้างและปรับสมดุล
3. สร้างความสัมพันธ์ที่ดี สร้างทีมงาน สร้างเครือข่าย
 ชนะด้วยการสร้างความเข้มแข็งภายในที่มั่นคงและยั่งยืน
 ชนะด้วยการไม่คิดจะเอาชนะ
 ไม่ฆ่าให้ตายทั้งกระดาน ไม่กินรวบหมดคนเดียว
 เหลือทางถอย และ พื้นที่ให้ผู้อื่นยืนได้
 ไม่เป็นวีรบุรุษคนเดียว ความสาเร็จเกิดจากทุกคน
4. นาไปใช้ประโยชน์ได้ทุกด้าน ทั้ง การปกครอง, การทาสงคราม ,
การบริหารธุรกิจ, การทางาน, การศึกษา, และ การดาเนินชีวิต
ปรัชญาหมากล้อม
1. เป้าหมายที่แท้จริง คือ ผลประโยชน์ของ ส่วนรวม
 ความสาเร็จต้องดูจากภาพรวม และ ผลสุดท้าย
ชัยชนะต้องดูทั้งกระดาน ตอนจบเกม ชนะเม็ดเดียว ก็คือ ชนะ
 สาคัญอยู่ที่ภาพรวม เส้นชัยสุดท้าย ครอบครัว องค์กร ชุมชน สังคม
และ ประเทศ
 เป้าหมาย คือ การพัฒนาตนเอง เพื่อประโยชน์ส่วนตน & ส่วนรวม
นาไปสู่การสร้างคุณค่าและประโยชน์สูงสุด ให้แก่มนุษยชาติ
 ไม่ใช่เป็นเพียงแค่เกมเล่นสนุกๆ ฆ่าเวลา หรือ เชื่อมมิตรสัมพันธ์
2. เน้นความสัมพันธ์แบบบูรณาการ และ ผสมผสาน เป็นหนึ่งเดียวกัน
 หัวใจอยู่ที่การเชื่อมโยง Connectivity
 ผสมผสานศาสตร์ต่างๆ ผ่านกระดานและตัวหมาก
ใช้สิ่งที่มีรูปลักษณ์ สร้างคุณค่าที่ไร้รูปลักษณ์
 ใช้หลักธรรมชาติ เชื่อมโยงได้ทุกแนวคิด พุทธ เต๋า ขงจื้อ ซุนวู
รวมทั้ง แนวคิดของตะวันออก และ ตะวันตก
 บูรณาการ ทั้ง IQ – EQ – SQ
3. ทุกเบี้ยมีความสาคัญเหมือนกัน
 เบี้ยดา เบี้ยขาว แต่ละเบี้ย มีค่าเท่ากัน ไม่มีเบี้ยใดสาคัญเหนือเบี้ยอื่น
 ให้ความสาคัญต่อปัจเจกบุคคล ทุกคนมีคุณค่าในตัวเอง เฉกเช่นกัน
 กาลัง/คุณค่าจะเพิ่มทวีคูณ เมื่อมาอยู่ด้วยกันอย่างแยบคาย มีแบบแผน
 ความได้เปรียบที่ยั่งยืน มาจากเครือข่ายที่แข็งแกร่งทั้งภายในภายนอก
 ทุกคนทุกหน่วยงาน ต่างมีคุณค่าต่อเครือข่าย และเอื้อประโยชน์ต่อกัน
4. ผู้ชนะ คือ ผู้ที่ใช้ทรัพยากรเพื่อการสร้างสรรค์ และ สร้างความเข้มแข้ง
 คนละโมบ อยากได้อยากชนะ ด้วยความสะใจ ไม่คิดถึงผลที่ตามมา
 คนเขลา เอาชนะด้วยกาลัง ใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง และมีต้นทุนสูง
 คนมีปัญญาชนะด้วยกลยุทธ์ ใช้ทรัพยากรและเวลาอย่างคุ้มค่า มีประสิทธิภาพ
 ไม่เอาชนะด้วยการทุ่มกาลังเข้าจับกิน หรือ หวังเอาชนะทุกสนามรบ
เพราะเสียทั้งทรัพยากรและเวลา ได้ไม่คุ้มเสีย
 เบี้ยแต่ละตัว หมากแต่ละก้าว มุ่งสร้างความเข้มแข็ง ในจุดที่จาเป็นที่สุดก่อน
 เลือกเข้มแข็งในที่ที่ควรเข้มแข็ง ไม่จาเป็นต้องเข้มแข็งทุกจุด
 ผู้ชนะ ใช้ทรัพยากรเพื่อการสร้างสรรค์ ไม่ใช่เพื่อทาลายหรือทาร้ายผู้อื่น
5. ผู้ชนะที่แท้จริง ชนะใจตนเอง ชนะใจผู้อื่น มีแต่เพื่อน ไม่มีศัตรู
 ผู้ชนะที่แท้จริง เริ่มจากชนะตนเองก่อน ชนะต่อความต้องการเอาชนะ
 เมื่อเริ่มวางหมาก ถ้าใจมุ่งแต่จะเอาชนะ ก็เท่ากับแพ้แล้ว คือ แพ้ตนเอง
 อาศัย อดทนต่อสิ่งยั่วได้ดีกว่า สุดท้ายจะชนะ เพราะอีกฝ่ ายทนยั่วไม่ดีเท่า
 เคล็ดของผู้ชนะ คือ ไม่คิดเอาชนะ และ ไม่คิดยอมแพ้
 ผู้ชอบเอาชนะ มุ่งเอาเปรียบผู้อื่น ย่อมขาดมิตรแท้
 มุ่งแต่หาจุดอ่อนคนอื่นๆ ย่อมขาดความรอบคอบในการมองตนเอง
 ผู้ไม่ยอมแพ้ แม้แพ้ ก็ยังชนะได้ เพราะชนะใจผู้อื่น
6. อย่าเปลี่ยนคู่แข่งเป็นศัตรู
 ชนะเพียงหนึ่งเม็ด ก็ถือว่า ชนะ ไม่จาเป็นต้องกินอีกฝ่ ายให้หมดสิ้น
 การแข่งขันทางธุรกิจ ไม่จาเป็นต้องทาลายคู่แข่ง จนตายไปจากธุรกิจ
 ไล่ต้อนจนอีกฝ่ ายหลังชนฝา บีบให้ไม่มีทางเลือก นอกจากสู้ตาย
 สุดท้ายอาจจบลงด้วย เสียหายย่อยยับด้วยกันทั้งสองฝ่ าย
 คู่แข่งกลับกลายเป็นศัตรู เพาะสร้างความอาฆาตแค้นในวงกว้าง
 เปิดโอกาสให้มือที่สาม เข้ามาชุบมือเปิบ เกิดคู่แข่งใหม่ขึ้นมาอีกอยู่ดี
 มีคู่แข่งที่อยู่ร่วมกัน แบบคนรู้จัก ดีกว่ามีศัตรูที่อยู่ร่วมฟ้าเดียวกันไม่ได้
7. หมากล้อมสอนให้รู้จักอ่านใจคู่ต่อสู้
 รู้ว่า ตาต่อไป อีกฝ่ ายจะเดินหมากอย่างไร ? กาชัยชนะแน่นอน
 รู้ว่า ตนเองจะเดินอย่างไร ? ไม่รู้ฝ่ ายตรงข้าม หวังชัยชนะแค่ครึ่งเดียว
 ซุนวู ทาสงคราม รู้เรารู้เขา ขงเบ้ง วางแผนรบ อ่านใจคน
 ต้องพยายามเรียนรู้ และ เข้าใจอีกฝ่ ายให้ถ่องแท้
อย่าดูแต่หมากอย่างเดียว ยิ่งรู้จัก ก็ยิ่งได้เปรียบ
และ ไม่เอาความได้เปรียบมาใช้ในฆ่าคู่ต่อสู้
8. เหนือฟ้าย่อมมีฟ้าเสมอ
 ผู้มุ่งจะเป็นผู้ชนะตลอดกาล คือ ผู้หลงตนเอง ดูถูกคนทั้งโลก
 เหนือฟ้าย่อมมีฟ้าเสมอ ผู้ฝื นกฎธรรมชาติย่อมหายนะ
 เมื่อใดที่เข้มแข็งกว่า เราก็ชนะ เมื่อใดที่อ่อนแอ ประมาท เราก็แพ้
 แพ้ชนะไม่สาคัญ สาคัญอยู่ที่รู้แพ้รู้ชนะ เรียนรู้จากชัยชนะและพ่ายแพ้
 รู้จักรับเมื่อถึงเวลารับ รู้จักรุกเมื่อถึงเวลารุก เกาะกุมเวลาและโอกาส
9. หมากล้อมสอนให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง
 หมากล้อมใช้เพียงเบี้ยกับกระดาน 361 จุด แต่สร้างความเป็นไปได้นับ
ไม่ถ้วนถึง 121,645,100,408,832,000 หรือประมาณ 10 ยกกาลัง 17
 ดากับขาว เหมือน เลขศูนย์กับหนึ่ง ก่อเกิดเรื่องราวได้มากมาย
 ชีวิตของผู้คนมีแต่ความไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา
 ฝึกเล่นหมากล้อม ย่อมเรียนรู้วิธีจัดการกับสิ่งที่ซับซ้อน
 สามารถร้อยเรียงภาพย่อยๆ ให้สอดคล้องกันได้ในภาพใหญ่
 ย่อมพร้อมรับมือกับสถานการณ์และ การเปลี่ยนแปลงใดๆก็ได้
10. ทุกปัญหามีทางแก้ไข
 ปัญหาทุกปัญหา ต้องมีทางแก้ไข
 โอกาสที่จะพลิกผันสถานการณ์มีอยู่เสมอ
 วิกฤตและโอกาส คือ เหรียญสองด้าน อยู่ที่ปัญญาจะเห็นด้านใด
 แต่ละย่างก้าวของหมากล้อม เป็นได้ทั้งวิกฤตและโอกาส
 เหมือนกับชีวิตคน ที่ไม่แน่นอน
 ขอเพียงมีความมุ่งมั่น อดทน และไม่ย่อท้อ ย่อมเห็นโอกาสเสมอ
 แม้มีปัญหา ก็ยังเปลี่ยนปัญหา ให้เป็นปัญญาได้ตลอดเวลา
11. สร้างเป็น ต้องทิ้งเป็น
 เริ่มหมากล้อมด้วยการสร้าง กลางกระดานต้องรู้จักทิ้ง
 จบกระดานด้วยการไม่สร้างไม่ทิ้ง เกิดปัญญาจากการรู้สองสิ่งที่ตรงข้าม
 ชีวิตที่รู้จักแต่สร้างไม่สิ้นสุด สุดท้ายก็พันธนาการรัดตนจนปางตาย
 รู้จักทิ้ง รู้จักปล่อยวาง รู้จักตัดใจจากสิ่งที่คิดว่าเป็นของตน ชีวิตจึงมีสุขได้
 น้าย่อมไหลจากที่สูงลงที่ต่า สูงสุดแล้วคืนสู่สามัญ คือ สุขที่แท้จริง
 เล่นหมากล้อมใยต้องเอาชนะ มีเพื่อนฝูง มีผู้เข้าใจ แค่นี้ก็สุขแล้ว
12. ปรัชญาหมากล้อม เข้าใจได้ด้วยปัญญาเชิงกลยุทธ์
 เรียนหนังสือเก่ง ไม่แน่ว่า จะเล่นหมากล้อมเก่ง
 ผู้บังคับบัญชา ก็ไม่แน่ว่า จะเล่นหมากล้อมเก่งกว่าลูกน้อง
 เล่นหมากล้อมเก่ง ไม่แน่ว่า จะประสบความสาเร็จในชีวิต
 เทคนิคดี ความจาดี แต่ถ้าไม่มีปัญญาเชิงกลยุทธ์
ก็ไม่มีทางเข้าใจปรัชญาหมากล้อม ไม่เข้าใจกฎของธรรมชาติ
 ปัญญาเชิงกลยุทธ์ ไม่ใช่มาจาก IQ อย่างเดียว
 ความคิด อารมณ์ จิตวิญญาณ ต้องเป็นหนึ่งเดียวกัน
 ไอน์สไตน์ สอนว่า จินตนาการสาคัญกว่าความรู้
13. โลกของหมากล้อม คือ จักรวาลอันไร้ขอบเขต
อู๋ชิงหยวน ปรมาจารย์หมากล้อมแห่งศตวรรษที่ 20 (สุวินัย ภรณวลัย)
 หมากล้อมเป็นโลกที่ไร้รูปไร้ขอบ เขต ไม่อาจควบคุมหรือจัดการได้ด้วย
เทคนิคล้วนๆ แต่เพียงอย่างเดียว ต้องคานึงถึงดุลยภาพและความ
ปรองดองของหมากทั้งกระดานเป็นสาคัญ
 หมากล้อมเปลี่ยนแปลงไม่สิ้นสุด เช่นเดียวกับจักรวาล แต่ละหมาก แต่
ละความเคลื่อนไหว สร้างความเปลี่ยนแปลงให้กับทั้งกระดาน วิธีที่จะ
รักษาดุลยภาพไว้ได้ ก็คือ การปรองดองกับจักรวาล ทาจิตของตนให้ใส
กระจ่าง ดุจกระจกที่สามารถสะท้อนภูมิปัญญาอันล้าเลิศของจักรวาล
ออกมาในการเดินหมาก แต่ละหมากที่มีประสิทธิภาพสูงสุดได้
14. หมากล้อมส่งเสริมมิตรภาพ
 หมากล้อมส่งเสริมมิตรภาพ ผู้แพ้ก็ไม่โกรธ ผู้ชนะก็ไม่จองหอง
 สองฝ่ ายร่วมกันสร้างปัญญา พัฒนาฝีมือ สร้างจุดแข็ง เสริมจุดอ่อน
ของตนเอง
 สร้างพันธมิตรที่มั่นคงและยั่งยืน เพราะทุกฝ่ ายชนะ ทุกฝ่ ายได้
ประโยชน์
ขอบคุณ และ สวัสดี

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ข้อสอบสังคม O-NET ปี2552
ข้อสอบสังคม O-NET  ปี2552ข้อสอบสังคม O-NET  ปี2552
ข้อสอบสังคม O-NET ปี2552IRainy Cx'cx
 
ใบงาน เรื่อง วิเคราะห์ข่าวที่กระทำความผิด พรบ.คอมพิวเตอร์ ปี 2560
ใบงาน เรื่อง วิเคราะห์ข่าวที่กระทำความผิด พรบ.คอมพิวเตอร์ ปี 2560ใบงาน เรื่อง วิเคราะห์ข่าวที่กระทำความผิด พรบ.คอมพิวเตอร์ ปี 2560
ใบงาน เรื่อง วิเคราะห์ข่าวที่กระทำความผิด พรบ.คอมพิวเตอร์ ปี 2560Tonkaw Napassorn
 
แผนหน่วยบูรณาการ
แผนหน่วยบูรณาการแผนหน่วยบูรณาการ
แผนหน่วยบูรณาการkrupornpana55
 
ระบบจำนวนเต็ม
ระบบจำนวนเต็มระบบจำนวนเต็ม
ระบบจำนวนเต็ม17112528
 
ค่าเสื่อมราคา
ค่าเสื่อมราคาค่าเสื่อมราคา
ค่าเสื่อมราคาChaiyong_SP
 
สรุป วิทยาศาสตร์ ว 23102
สรุป วิทยาศาสตร์ ว 23102สรุป วิทยาศาสตร์ ว 23102
สรุป วิทยาศาสตร์ ว 23102Foam Watiboonruang
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2Green Greenz
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียงjiko2505
 
หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์Nutthawit Srisuriyachai
 
การแปลงทางเรขาคณิต 1
การแปลงทางเรขาคณิต 1การแปลงทางเรขาคณิต 1
การแปลงทางเรขาคณิต 1kruyafkk
 
การจัดการตลาด
การจัดการตลาดการจัดการตลาด
การจัดการตลาดpronprom11
 

Mais procurados (20)

ข้อสอบสังคม O-NET ปี2552
ข้อสอบสังคม O-NET  ปี2552ข้อสอบสังคม O-NET  ปี2552
ข้อสอบสังคม O-NET ปี2552
 
แผนที่ 1
แผนที่ 1แผนที่ 1
แผนที่ 1
 
Marketing plan
Marketing planMarketing plan
Marketing plan
 
ใบงาน เรื่อง วิเคราะห์ข่าวที่กระทำความผิด พรบ.คอมพิวเตอร์ ปี 2560
ใบงาน เรื่อง วิเคราะห์ข่าวที่กระทำความผิด พรบ.คอมพิวเตอร์ ปี 2560ใบงาน เรื่อง วิเคราะห์ข่าวที่กระทำความผิด พรบ.คอมพิวเตอร์ ปี 2560
ใบงาน เรื่อง วิเคราะห์ข่าวที่กระทำความผิด พรบ.คอมพิวเตอร์ ปี 2560
 
แผนหน่วยบูรณาการ
แผนหน่วยบูรณาการแผนหน่วยบูรณาการ
แผนหน่วยบูรณาการ
 
Seminar1
Seminar1Seminar1
Seminar1
 
ระบบจำนวนเต็ม
ระบบจำนวนเต็มระบบจำนวนเต็ม
ระบบจำนวนเต็ม
 
Action plan
Action planAction plan
Action plan
 
Ecosystem ii
Ecosystem iiEcosystem ii
Ecosystem ii
 
Hemodialysis regulation 2561
Hemodialysis regulation 2561Hemodialysis regulation 2561
Hemodialysis regulation 2561
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
ค่าเสื่อมราคา
ค่าเสื่อมราคาค่าเสื่อมราคา
ค่าเสื่อมราคา
 
สรุป วิทยาศาสตร์ ว 23102
สรุป วิทยาศาสตร์ ว 23102สรุป วิทยาศาสตร์ ว 23102
สรุป วิทยาศาสตร์ ว 23102
 
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯแบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
 
หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์
 
โครงงาน Hydroponic
โครงงาน Hydroponicโครงงาน Hydroponic
โครงงาน Hydroponic
 
การแปลงทางเรขาคณิต 1
การแปลงทางเรขาคณิต 1การแปลงทางเรขาคณิต 1
การแปลงทางเรขาคณิต 1
 
การจัดการตลาด
การจัดการตลาดการจัดการตลาด
การจัดการตลาด
 

Semelhante a การจัดการเชิงกลยุทธ์ด้วยปรัชญาหมากล้อม

มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ Pises Tantimala
 
David solomon lecture
David solomon lectureDavid solomon lecture
David solomon lectureAnNy Achara
 
4 lifeyes how to get start 2
4 lifeyes how to get start 24 lifeyes how to get start 2
4 lifeyes how to get start 24LIFEYES
 

Semelhante a การจัดการเชิงกลยุทธ์ด้วยปรัชญาหมากล้อม (7)

คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พคุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
 
Vision2
Vision2Vision2
Vision2
 
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
 
David solomon lecture
David solomon lectureDavid solomon lecture
David solomon lecture
 
Think big
Think bigThink big
Think big
 
4 lifeyes how to get start 2
4 lifeyes how to get start 24 lifeyes how to get start 2
4 lifeyes how to get start 2
 
การแนะแนว
การแนะแนวการแนะแนว
การแนะแนว
 

Mais de Nopporn Thepsithar

2015-09-28 National Development Strategy proposed by TNSC
2015-09-28 National Development Strategy proposed by TNSC 2015-09-28 National Development Strategy proposed by TNSC
2015-09-28 National Development Strategy proposed by TNSC Nopporn Thepsithar
 
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4Nopporn Thepsithar
 
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 3
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 3พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 3
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 3Nopporn Thepsithar
 
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 2
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 2พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 2
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 2Nopporn Thepsithar
 
คุณค่าจากยุทธนิยายอิงประวัติศาสตร์ "เทพบุตรกู้บัลลังก์"
คุณค่าจากยุทธนิยายอิงประวัติศาสตร์ "เทพบุตรกู้บัลลังก์"คุณค่าจากยุทธนิยายอิงประวัติศาสตร์ "เทพบุตรกู้บัลลังก์"
คุณค่าจากยุทธนิยายอิงประวัติศาสตร์ "เทพบุตรกู้บัลลังก์"Nopporn Thepsithar
 
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธNopporn Thepsithar
 
2014-05-07 ปรับกลยุทธ์และพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ก่อนบุกตลาด AEC
2014-05-07 ปรับกลยุทธ์และพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ก่อนบุกตลาด AEC2014-05-07 ปรับกลยุทธ์และพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ก่อนบุกตลาด AEC
2014-05-07 ปรับกลยุทธ์และพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ก่อนบุกตลาด AECNopporn Thepsithar
 
2014-02-06 การบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพในภาคเอกชน
2014-02-06 การบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพในภาคเอกชน2014-02-06 การบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพในภาคเอกชน
2014-02-06 การบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพในภาคเอกชนNopporn Thepsithar
 
จุลสารอุตสาหกรรมสีเขียว ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556
จุลสารอุตสาหกรรมสีเขียว ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556จุลสารอุตสาหกรรมสีเขียว ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556
จุลสารอุตสาหกรรมสีเขียว ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556Nopporn Thepsithar
 
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance IndexNopporn Thepsithar
 
2013 12-03 TNSC Press Release
2013 12-03 TNSC Press Release 2013 12-03 TNSC Press Release
2013 12-03 TNSC Press Release Nopporn Thepsithar
 
Presentation 2013 09-13 Thai Logistics Standard to World Class Logistics
Presentation 2013 09-13 Thai Logistics Standard to World Class LogisticsPresentation 2013 09-13 Thai Logistics Standard to World Class Logistics
Presentation 2013 09-13 Thai Logistics Standard to World Class LogisticsNopporn Thepsithar
 
Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013
Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013
Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013Nopporn Thepsithar
 
เงินกู้ 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุน ความคุ้มค่า และ ข้อเสนอแนะ
เงินกู้ 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุน ความคุ้มค่า และ ข้อเสนอแนะเงินกู้ 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุน ความคุ้มค่า และ ข้อเสนอแนะ
เงินกู้ 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุน ความคุ้มค่า และ ข้อเสนอแนะNopporn Thepsithar
 
บริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
บริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจบริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
บริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจNopporn Thepsithar
 
2013-03-21 การบริหารกำลังพลคุณภาพในภาคเอกชน
2013-03-21 การบริหารกำลังพลคุณภาพในภาคเอกชน 2013-03-21 การบริหารกำลังพลคุณภาพในภาคเอกชน
2013-03-21 การบริหารกำลังพลคุณภาพในภาคเอกชน Nopporn Thepsithar
 
Presentation เต้าเต๋อจิง คัมภีร์นักปกครอง โดยอาจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
Presentation เต้าเต๋อจิง คัมภีร์นักปกครอง โดยอาจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจPresentation เต้าเต๋อจิง คัมภีร์นักปกครอง โดยอาจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
Presentation เต้าเต๋อจิง คัมภีร์นักปกครอง โดยอาจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจNopporn Thepsithar
 
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRINopporn Thepsithar
 
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v12013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1Nopporn Thepsithar
 

Mais de Nopporn Thepsithar (20)

2015-09-28 National Development Strategy proposed by TNSC
2015-09-28 National Development Strategy proposed by TNSC 2015-09-28 National Development Strategy proposed by TNSC
2015-09-28 National Development Strategy proposed by TNSC
 
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
 
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 3
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 3พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 3
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 3
 
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 2
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 2พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 2
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 2
 
คุณค่าจากยุทธนิยายอิงประวัติศาสตร์ "เทพบุตรกู้บัลลังก์"
คุณค่าจากยุทธนิยายอิงประวัติศาสตร์ "เทพบุตรกู้บัลลังก์"คุณค่าจากยุทธนิยายอิงประวัติศาสตร์ "เทพบุตรกู้บัลลังก์"
คุณค่าจากยุทธนิยายอิงประวัติศาสตร์ "เทพบุตรกู้บัลลังก์"
 
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
 
2014-05-07 ปรับกลยุทธ์และพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ก่อนบุกตลาด AEC
2014-05-07 ปรับกลยุทธ์และพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ก่อนบุกตลาด AEC2014-05-07 ปรับกลยุทธ์และพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ก่อนบุกตลาด AEC
2014-05-07 ปรับกลยุทธ์และพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ก่อนบุกตลาด AEC
 
2014-02-06 การบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพในภาคเอกชน
2014-02-06 การบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพในภาคเอกชน2014-02-06 การบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพในภาคเอกชน
2014-02-06 การบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพในภาคเอกชน
 
จุลสารอุตสาหกรรมสีเขียว ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556
จุลสารอุตสาหกรรมสีเขียว ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556จุลสารอุตสาหกรรมสีเขียว ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556
จุลสารอุตสาหกรรมสีเขียว ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556
 
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
 
2013 12-03 TNSC Press Release
2013 12-03 TNSC Press Release 2013 12-03 TNSC Press Release
2013 12-03 TNSC Press Release
 
Presentation 2013 09-13 Thai Logistics Standard to World Class Logistics
Presentation 2013 09-13 Thai Logistics Standard to World Class LogisticsPresentation 2013 09-13 Thai Logistics Standard to World Class Logistics
Presentation 2013 09-13 Thai Logistics Standard to World Class Logistics
 
Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013
Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013
Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013
 
เงินกู้ 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุน ความคุ้มค่า และ ข้อเสนอแนะ
เงินกู้ 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุน ความคุ้มค่า และ ข้อเสนอแนะเงินกู้ 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุน ความคุ้มค่า และ ข้อเสนอแนะ
เงินกู้ 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุน ความคุ้มค่า และ ข้อเสนอแนะ
 
บริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
บริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจบริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
บริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
 
2013-03-21 การบริหารกำลังพลคุณภาพในภาคเอกชน
2013-03-21 การบริหารกำลังพลคุณภาพในภาคเอกชน 2013-03-21 การบริหารกำลังพลคุณภาพในภาคเอกชน
2013-03-21 การบริหารกำลังพลคุณภาพในภาคเอกชน
 
Presentation เต้าเต๋อจิง คัมภีร์นักปกครอง โดยอาจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
Presentation เต้าเต๋อจิง คัมภีร์นักปกครอง โดยอาจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจPresentation เต้าเต๋อจิง คัมภีร์นักปกครอง โดยอาจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
Presentation เต้าเต๋อจิง คัมภีร์นักปกครอง โดยอาจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
 
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
 
2013 03-15 Thai Truck Center
2013 03-15 Thai Truck Center2013 03-15 Thai Truck Center
2013 03-15 Thai Truck Center
 
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v12013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
 

การจัดการเชิงกลยุทธ์ด้วยปรัชญาหมากล้อม

  • 2. ถาม - ตอบ คิด - ตัดสินใจ - ลงมือทา
  • 3. คาถามที่ดี ย่อม นาไปสู่คาตอบที่ดี คาถามที่ชาญฉลาด ย่อมนาไปสู่ความสาเร็จที่ไม่ธรรมดา
  • 4. คาถามเชิงกลยุทธ์ • เราจะใช้ทรัพยากรและเวลาที่มีอยู่อย่างจากัด เพื่อบรรลุเป้าหมายของเราได้อย่างไร • เราจะสามารถบรรลุทั้งความยืดหยุ่นและความมุ่งมั่นต่อเป้าหมายพร้อมๆ กันอย่างไร • เราจะประเมินแยกแยะผลได้ ผลเสียของแนวทางต่างๆ ที่มีให้เลือกมากมาย อย่างไร • โครงการไหนที่ควรสานต่อ โครงการไหนที่ควรยุติ • เมื่อไหร่ควรบุกลุยไปข้างหน้า เมื่อไหร่ควรอดกลั้นรอคอยจังหวะโจมตี • เมื่อไหร่ควรเป็นฝ่ ายนาเกมและเมื่อไรควรแค่เกาะตามสถานการณ์ไปก่อน • เราจะรุกเข้าไปอย่างไร ในสถานการณ์ที่ฝ่ ายตรงข้ามมีอิทธิพลเข้มแข็ง • ถ้าคู่แข่งบุกรุกเข้ามาในเขตอิทธิพลของเรา เราควรรับมืออย่างไร • ถ้าเรามีจุดแข็งในหมากบางกลุ่ม และก็มีจุดอ่อนในหมากอีกกลุ่ม เราจะจัดสรร ทรัพยากรอย่างไรให้เหมาะสม เพื่อการเติบโตอย่างมั่นคงในภาพรวม • เมื่อไหร่ควรสละหมากเพื่อรักษาส่วนรวม และเมื่อไหร่ควรลงทุนเพื่ออนาคต • เมื่อสถานการณ์เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เราควรปรับแผนกลยุทธ์อย่างไร
  • 5.
  • 6.
  • 7. การจัดการเชิงกลยุทธ์ • การมองไปในอนาคตเพื่อตอบคาถามว่า ธุรกิจที่บริษัทกาลัง ดาเนินการอยู่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดหรือลูกค้า หรือไม่ ? บริษัทจะก้าวไปในทิศทางใด ? จะเติบโตอย่างไร ? ผู้บริหารได้เตรียมตัวรับการเปลี่ยนแปลงต่างๆไว้อย่างไรบ้าง ? • การกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ของ องค์การในระยะสั้นและระยะยาว จากนั้นจึงวางแผนและ ทา กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้องค์การสามารถดาเนินงานตามพันธกิจ อันนาไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กาหนดไว้
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13. เครื่องมือในการวิเคราะห์กลยุทธ์ • การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส ข้อจากัด SWOT Analysis • การวิเคราะห์ปัจจัย 5 ประการที่มีผลต่ออุตสาหกรรม 5 Forces Analysis • การวิเคราะห์วงจรชีวิตอุตสาหกรรม Industry lifecycle • การวิเคราะห์ปัจจัยแห่งความสาเร็จของอุตสาหกรรม Key Success Factors • การวิเคราะห์ลูกโซ่แห่งคุณค่า Value Chain Analysis • การวิเคราะห์ความต้องการของลูกค้า Customer Analysis • การวิเคราะห์คู่แข่งขัน Competitor Analysis
  • 14.
  • 15.
  • 16. • แนวทางในการดาเนินงานที่ทาให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย • แนวทางในการทาให้องค์กรประสบความสาเร็จ • วิธีการในการแข่งขันที่จะทาให้องค์กรสามารถเอาชนะ คู่แข่งได้ • วิธีการหรือแนวทางที่องค์กรจะนาเสนอคุณค่า ให้กับ ลูกค้า เพื่อให้องค์กรประสบความสาเร็จตามที่ต้องการ
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20. ทาไมต้องมีการจัดการเชิงกลยุทธ์ • กาหนดทิศทางในอนาคต ขององค์กร • ทาให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย • ทาให้องค์กรเดินไปในทางเดียวกัน • ทาให้เกิดคุณค่าสูงสุด ด้วยทรัพยากรที่มีจากัด • ตื่นตัวต่อสิ่งแวดล้อม พร้อมต่อการเปลี่ยนแปลง • ทาให้ได้เปรียบในการแข่งขัน • สร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ
  • 21. ลักษณะสาคัญของการจัดการเชิงกลยุทธ์ • เป็นกระบวนการบริหารองค์การโดยรวม • เเน้นการสร้างกลยุทธ์ เพื่อสร้างความได้เปรียบในระยะยาว • ตัดสินใจที่อาศัยชั้นเชิง ไม่มีวิธีการที่สาเร็จรูป • ต้องอาศัยความร่วมมือ พันธะผูกพัน และ ทรัพยากรในองค์การ • มีทิศทางชัดเจน และ แสดงให้ทุกคนในองค์การเข้าใจตรงกัน • คานึงถึง ลักษณะการดาเนินงานขององค์การ ลักษณะธุรกิจในอนาคต สภาพแวดล้อม การจัดสรรทรัพยากร การปฏิบัติงานให้บรรลุ เป้าหมาย
  • 22. ปัจจัยแห่งความสาเร็จในการจัดการเชิงกลยุทธ์ • วิสัยทัศน์ และ เป้าหมาย • ข่าวสารข้อมุล • กลยุทธ์ • คน กระบวนการ เทคโนโลยี
  • 23. "ยุทธศาสตร์" เป็นคาที่ใช้อยู่ในวงการธุรกิจมานาน ถึงแม้ว่าใครๆ จะบอกว่าเป็นศัพท์ทางการทหารก็ตาม แต่เมื่อเราสามารถนาสิ่งต่างๆ มาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์ได้ แล้วทาไมยุทธศาสตร์ทางการทหาร จะนามาสนับสนุนในการวางยุทธศาสตร์ทางธุรกิจไม่ได้ ในเมื่อวงการธุรกิจนับวันยิ่งปราศจากธรรมเนียมแห่งการช่วยเหลือ ประนีประนอมกัน เหมือนเช่นสงครามเข้าไปทุกที และถ้าหากคุณเป็นคนหนึ่งที่เชื่อว่า "คุณไม่สามารถดาเนินกิจกรรมทางธุรกิจของคุณไปสู่ชัยชนะได้ ถ้าหากคุณไม่มียุทธศาสตร์ที่ใช้การได้" BUSINESS WARGAMES "สงคราม ธุรกิจ-ทหาร เหมือนกัน" นิตยสารผู้จัดการ( กันยายน 2532)
  • 24.
  • 25.
  • 26.
  • 27. ปัจจัยแห่งความสาเร็จในการทาสงคราม • ธรรม – ความชอบธรรม หลักการ เหตุผล วัตถุประสงค์ • ดินฟ้ าอากาศ – ฤดูกาล ลมพายุ ฝน หิมะ • ภูมิประเทศ – ระยะทาง ลักษณะของพื้นที่ • ขุนพล – บุคคลผู้กอปร สติปัญญา ความเที่ยงธรรม ความ เมตตา ความกล้าหาญ และ ความเข้มงวดเด็ดขาด • ระเบียบวินัย – ระบบการจัดทัพ วินัย การใช้จ่าย การทาสงคราม ต้องมียุทธศาสตร์
  • 28. ยุทโธบาย • รบร้อยครั้ง ชนะร้อยครั้ง ยังไม่ใช่ชัยชนะที่เลอเลิศ ชนะโดยไม่ต้องรบ คือ สุดยอดชัยชนะ • สุดยอดการรบ ต้องรบด้วยกลยุทธ์ รองลงมา คือ ใช้การทูต การเจรจาหว่านล้อม สุดท้าย จึงค่อยใช้กาลังทหาร เลวที่สุด คือ การล้อมตีค่ายของศัตรู • รู้เขารู้เรา รบร้อยครั้ง ไม่มีพ่ายแพ้ ไม่รู้เขา รู้เรา แพ้ชนะยังก้ากึ่งอยู่ ไม่รู้เขา ไม่รู้เรา ย่อมปราชัยทุกครั้งไป
  • 29. ท่วงทานองยุทธ์ • รบโดยไม่ให้เพลี่ยงพลั้ง ต้องรบทั้งซึ่งหน้าและพลิกแพลง • ชัยชนะ ตัดสินที่ การรบแบบพลิกแพลง หรือ ยุทธวิธี ผู้เจนจบการรบ ย่อมพลิกแพลงได้ไม่รู้จบ ไม่มีอับจน ดั่งฟ้ าดินอันไม่สิ้นสุด ดุจแม่น้าไหลรินไม่ขาดสาย จบแล้วเริ่มใหม่ ตายแล้วก็ผุดเกิด เช่นเดือนตะวันที่ตกแล้วก็ขึ้น • สายน้าเชี่ยวกราก พัดพาหินใหญ่ให้เคลื่อนลอยได้ ด้วยพลังแรง นกอินทรีย์ที่รวดเร็ว จับเหยื่อได้ ด้วยรู้จังหวะโจมตี ท่วงทานองยุทธ์ ต้องฉับไว น่าเกรงขาม จู่โจมช่วงสั้น
  • 30. ผู้เชี่ยวชาญศึก • ผู้เชี่ยวชาญศึก พึงคุมความได้เปรียบ ไม่ยอมเป็นฝ่ายถูกคุม • ผู้เชี่ยวชาญศึก ย่อมเข้าโจมตีจนศัตรูไม่มีทางรับ มุ่งทาลายจุดอ่อน แม้น ตั้งรับ ศัตรูก็ไม่รู้ว่า จะเข้าตีอย่างไร เพราะไร้จุดอ่อนให้เห็น ยามต้องถอย ศัตรูก็ไล่ไม่ทัน เพราะ ความรวดเร็ว • ให้ศัตรูเปิดเผย แต่เราไม่สาแดงร่องรอย ให้ฝ่ายศัตรูแตกแยก แต่เรารวมเป็นหนึ่ง • พิจารณาสภาพเราสภาพเขาให้ถ่องแท้ เพื่อประเมินเชิงได้เชิงเสีย สอดแนม เพื่อหาเบาะแส และ ติดตามความเคลื่อนไหวของศัตรู วางกาลังอย่างรอบคอบ กาหนดจุดเป็นจุดตาย • เข้าปะทะประลองกาลัง เพื่อรู้จุดอ่อนจุดแข็งของเรา
  • 31. ผู้เชี่ยวชาญศึก • ด้วยหยั่งรู้ลึกตื้นหนาบางของข้าศึก จึงกาชัยชนะ เมื่อชนะ ก็ไม่ให้ผู้ใดหยั่งรู้ เงื่อนงาแห่งชัยชนะ ใช้ยุทธวิธี ไม่ซ้าเดิม ปรับตามสถานการณ์ ไม่มีหมดสิ้น • วางกลยุทธ์ ให้เหมือน ธรรมชาติของน้า หลีกเลี่ยงที่สูง ไหลลงต่า หลีกเลี่ยงแข็ง เข้าตีอ่อน ไหลบ่าตามภูมิประเทศ ปรับตามสภาวะของข้าศึก ไม่มีหลักตายตัว ดังเช่นน้า ที่ไม่มีรูปลักษณ์แน่นอน
  • 32. การสัปยุทธ์ชิงชัย • การทาสงคราม ความยากอยู่ที่การสัปยุทธ์ชิงชัย ทายากกว่าวางแผน เป็นตายเท่ากัน อาจอยู่รอดปลอดภัย หรือเกิดมหันตภัยถ้าประมาท • หากกองทัพขาดยุทธปัจจัย เสบียงอาหาร กาลังบารุง ต้องแพ้แน่นอน • การสัปยุทธ์ชิงชัย ต้องรู้จักใช้ความคิดพลิกแพลง ต่อสู้ด้วยยุทธวิธี เคลื่อนไหวทันที เมื่อเห็นโอกาส ทุกก้าวย่างต้องได้ผล เกิดคุณค่า ปรับเปลี่ยนได้ทุกรูปแบบ ทั้งรวมกาลัง และ กระจายกาลัง • การสัปยุทธ์ชิงชัย ต้องรวดเร็วประหนึ่งลมพายุ แต่เมื่อต้องเชื่องช้า ก็ช้าประหนึ่งเดินในแมกไม้ไพรพนา รบดั่งเช่นไฟบรรลัยกัลป์ หนักแน่นปานภูผา ศัตรูไม่ทันคาดคิด ดุจท้องฟ้ าอันเวิ้งว้างสุดหยั่งรู้ เมื่อไหวตัวก็เป็นสายฟ้ าที่ก้องคารณ
  • 33. การทาสงคราม • ผู้นาต้องมีคุณธรรม พึงใคร่ครวญผลได้เสียของสงครามให้จงหนัก ขุนพลที่เก่งกล้า ย่อมเผด็จศึกให้ได้ในเร็ววัน • ไม่เห็นประโยชน์ ไม่พึงเคลื่อนทัพ ไม่สามารถเอาชนะ ไม่พึงใช้กาลังทหาร ไม่คับขันจาเป็นจริงๆ ไม่พึงทาสงคราม • อย่าก่อสงคราม เพราะ ความโกรธ อย่ารุกไล่ เพราะ แค้นเคือง • ทาสงคราม เพราะประโยชน์ของส่วนรวม ประเทศล่มสลาย ผู้คนล้มตาย ไม่อาจเรียกกลับคืนมาได้
  • 35. ลักษณะของปัญญา • ไม่ใช่เป็นทั้งความรู้ และ ความจา • เป็นสิ่งเฉพาะบุคคล และ มีเอกลักษณ์ • เรียบง่าย แต่ได้ผล • จังหวะเวลาเหมาะสม • มองภาพรวมและภาพย่อย • ปรับเปลี่ยนได้ตามสิ่งแวดล้อมภายในและภายนอก • ไม่เจือปนด้วยความโน้มเอียงส่วนตัว อารมณ์ • คิดถึงความเสี่ยงและการป้องกันความเสี่ยง
  • 36. ปัญญาเชิงกลยุทธ์ Strategic Wisdom ปัญญา ที่นาไปสู่ชัยชนะ ในการแข่งขัน การต่อสู้ การทาสงคราม ชนะตนเอง ชนะคู่ต่อสู้ ชนะคู่แข่ง ชนะมวลชน
  • 39. ข้อดีในการฝึกปัญญาเชิงกลยุทธ์ด้วยหมากล้อม • หมากล้อม เป็นทั้งเกม และ เครื่องมือ Simulation Tool • จาลองสงคราม ธุรกิจ เครือข่าย Value Chain • ฝึกทั้งความคิด จิตใจ มารยาท และ คุณธรรม • แฝงด้วยปรัชญา ตะวันออก ซุนวู เต๋า เซน พุทธ
  • 40.
  • 41.
  • 42. จาก HUG MAGAZINE ฉบับ 15 ธ.ค.2556 - 14 ม.ค.2557 ผู้เขียน อ.ขวด
  • 43. หมากล้อม คือ ห้องแล็บมนุษย์ • ฝึกให้คิดอย่างเป็นระบบ ตัดสินใจอย่างมีขั้นตอน ใช้ข้อมูลประกอบ ไม่ใช้อารมณ์ หรือ ความเคยชิน • ฝึกการวางแผนกลยุทธ์ การจัดการเชิงกลยุทธ์ • ส่งเสริมคุณธรรม เช่น สันโดษ เมตตา เชื่อมั่นในกฎแห่งกรรม • เมื่อเล่นบ่อยๆ จะค่อยๆซึมซับ ปรับเปลี่ยนอุปนิสัย ทัศนคติ
  • 44. หมากล้อม ภาพย่อยในองค์รวม • ไม่จาเป็นต้องชนะในทุกๆเรื่องราว การพยายามเอาชนะเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ต้องทุ่มเททรัพยากรจานวนมากให้กับเรื่องอื่นๆอีกหลายเรื่อง ติดตามมา • บางครั้งควรเจตนายอมแพ้ในบางเรื่อง เพื่อถนอมกาลังไว้ใช้กับเรื่องอื่น ที่สาคัญต่อความสาเร็จของชีวิตมากกว่า • การฝึกให้สามารถยอมรับความพ่ายแพ้ในวงสนทนา ทาให้เป็นคนมีเสน่ห์ มีเพื่อนมาก เปิดโลกทัศน์จากการฟังความเห็นของผู้อื่น • สนามรบในชีวิตของแต่ละคนย่อมมีมากมายหลายสนาม ต้องแยกแยะให้ออก จัดลาดับความสาคัญให้กับแต่ละสนาม คานึงถึงความสัมพันธ์ที่มีต่อกันและกัน จัดสมดุล ระหว่างเรื่องราวต่างๆ ให้สามารถดาเนินไปพร้อมๆ กันด้วยดี ตามกาลังความสามารถที่มีอยู่
  • 46. 1. ปรับทัศนคติ พัฒนา จิตใจ  มีจิตใจเปิดกว้าง ทาให้พัฒนาได้อย่างไร้ขีดจากัด  มีน้าใจนักกีฬา รู้แพ้รู้ชนะ อ่อนน้อมถ่อมตน เคารพผู้อื่น  เอาชนะจิตใจตน ไม่ละโมบโลภมาก ไม่หลงตน ไม่ลาพองใจ  อดทนอดกลั้น รอจังหวะเวลาที่เหมาะสม  พากเพียรพยายาม สู้จนถึงที่สุด ไม่ท้อถอยง่ายๆ ไม่ใจเสาะ  มีสติ ควบคุมอารมณ์ได้ดี  มีสมาธิ มีความสงบนิ่ง หนักแน่น รอบคอบ ไม่วู่วาม
  • 47. 2. พัฒนา ปัญญาเชิงกลยุทธ์  ไม่ยึดติด รู้จักพลิกแพลง คิดนอกกรอบ  รู้จักรุก รู้จักรับ ประเมินสถานการณ์และปรับตัว  มองภาพใหญ่ เชื่อมโยงภาพย่อย มีเป้าหมายชัดเจน  เข้าใจความคิด ความต้องการ จุดอ่อน จุดแข็ง ของผู้อื่น  พัฒนาการใช้สมองซีกขวา (EQ) มีความจาแม่นยา ช่างสังเกต  มองหาทางเลือกได้หลากหลาย ตัดสินใจได้ดีในภาวะกดดัน  บริหารทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ เข้าใจเรื่อง Optimizatiom  รู้จักสร้างและปรับสมดุล
  • 48. 3. สร้างความสัมพันธ์ที่ดี สร้างทีมงาน สร้างเครือข่าย  ชนะด้วยการสร้างความเข้มแข็งภายในที่มั่นคงและยั่งยืน  ชนะด้วยการไม่คิดจะเอาชนะ  ไม่ฆ่าให้ตายทั้งกระดาน ไม่กินรวบหมดคนเดียว  เหลือทางถอย และ พื้นที่ให้ผู้อื่นยืนได้  ไม่เป็นวีรบุรุษคนเดียว ความสาเร็จเกิดจากทุกคน 4. นาไปใช้ประโยชน์ได้ทุกด้าน ทั้ง การปกครอง, การทาสงคราม , การบริหารธุรกิจ, การทางาน, การศึกษา, และ การดาเนินชีวิต
  • 50. 1. เป้าหมายที่แท้จริง คือ ผลประโยชน์ของ ส่วนรวม  ความสาเร็จต้องดูจากภาพรวม และ ผลสุดท้าย ชัยชนะต้องดูทั้งกระดาน ตอนจบเกม ชนะเม็ดเดียว ก็คือ ชนะ  สาคัญอยู่ที่ภาพรวม เส้นชัยสุดท้าย ครอบครัว องค์กร ชุมชน สังคม และ ประเทศ  เป้าหมาย คือ การพัฒนาตนเอง เพื่อประโยชน์ส่วนตน & ส่วนรวม นาไปสู่การสร้างคุณค่าและประโยชน์สูงสุด ให้แก่มนุษยชาติ  ไม่ใช่เป็นเพียงแค่เกมเล่นสนุกๆ ฆ่าเวลา หรือ เชื่อมมิตรสัมพันธ์
  • 51. 2. เน้นความสัมพันธ์แบบบูรณาการ และ ผสมผสาน เป็นหนึ่งเดียวกัน  หัวใจอยู่ที่การเชื่อมโยง Connectivity  ผสมผสานศาสตร์ต่างๆ ผ่านกระดานและตัวหมาก ใช้สิ่งที่มีรูปลักษณ์ สร้างคุณค่าที่ไร้รูปลักษณ์  ใช้หลักธรรมชาติ เชื่อมโยงได้ทุกแนวคิด พุทธ เต๋า ขงจื้อ ซุนวู รวมทั้ง แนวคิดของตะวันออก และ ตะวันตก  บูรณาการ ทั้ง IQ – EQ – SQ
  • 52. 3. ทุกเบี้ยมีความสาคัญเหมือนกัน  เบี้ยดา เบี้ยขาว แต่ละเบี้ย มีค่าเท่ากัน ไม่มีเบี้ยใดสาคัญเหนือเบี้ยอื่น  ให้ความสาคัญต่อปัจเจกบุคคล ทุกคนมีคุณค่าในตัวเอง เฉกเช่นกัน  กาลัง/คุณค่าจะเพิ่มทวีคูณ เมื่อมาอยู่ด้วยกันอย่างแยบคาย มีแบบแผน  ความได้เปรียบที่ยั่งยืน มาจากเครือข่ายที่แข็งแกร่งทั้งภายในภายนอก  ทุกคนทุกหน่วยงาน ต่างมีคุณค่าต่อเครือข่าย และเอื้อประโยชน์ต่อกัน
  • 53. 4. ผู้ชนะ คือ ผู้ที่ใช้ทรัพยากรเพื่อการสร้างสรรค์ และ สร้างความเข้มแข้ง  คนละโมบ อยากได้อยากชนะ ด้วยความสะใจ ไม่คิดถึงผลที่ตามมา  คนเขลา เอาชนะด้วยกาลัง ใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง และมีต้นทุนสูง  คนมีปัญญาชนะด้วยกลยุทธ์ ใช้ทรัพยากรและเวลาอย่างคุ้มค่า มีประสิทธิภาพ  ไม่เอาชนะด้วยการทุ่มกาลังเข้าจับกิน หรือ หวังเอาชนะทุกสนามรบ เพราะเสียทั้งทรัพยากรและเวลา ได้ไม่คุ้มเสีย  เบี้ยแต่ละตัว หมากแต่ละก้าว มุ่งสร้างความเข้มแข็ง ในจุดที่จาเป็นที่สุดก่อน  เลือกเข้มแข็งในที่ที่ควรเข้มแข็ง ไม่จาเป็นต้องเข้มแข็งทุกจุด  ผู้ชนะ ใช้ทรัพยากรเพื่อการสร้างสรรค์ ไม่ใช่เพื่อทาลายหรือทาร้ายผู้อื่น
  • 54. 5. ผู้ชนะที่แท้จริง ชนะใจตนเอง ชนะใจผู้อื่น มีแต่เพื่อน ไม่มีศัตรู  ผู้ชนะที่แท้จริง เริ่มจากชนะตนเองก่อน ชนะต่อความต้องการเอาชนะ  เมื่อเริ่มวางหมาก ถ้าใจมุ่งแต่จะเอาชนะ ก็เท่ากับแพ้แล้ว คือ แพ้ตนเอง  อาศัย อดทนต่อสิ่งยั่วได้ดีกว่า สุดท้ายจะชนะ เพราะอีกฝ่ ายทนยั่วไม่ดีเท่า  เคล็ดของผู้ชนะ คือ ไม่คิดเอาชนะ และ ไม่คิดยอมแพ้  ผู้ชอบเอาชนะ มุ่งเอาเปรียบผู้อื่น ย่อมขาดมิตรแท้  มุ่งแต่หาจุดอ่อนคนอื่นๆ ย่อมขาดความรอบคอบในการมองตนเอง  ผู้ไม่ยอมแพ้ แม้แพ้ ก็ยังชนะได้ เพราะชนะใจผู้อื่น
  • 55. 6. อย่าเปลี่ยนคู่แข่งเป็นศัตรู  ชนะเพียงหนึ่งเม็ด ก็ถือว่า ชนะ ไม่จาเป็นต้องกินอีกฝ่ ายให้หมดสิ้น  การแข่งขันทางธุรกิจ ไม่จาเป็นต้องทาลายคู่แข่ง จนตายไปจากธุรกิจ  ไล่ต้อนจนอีกฝ่ ายหลังชนฝา บีบให้ไม่มีทางเลือก นอกจากสู้ตาย  สุดท้ายอาจจบลงด้วย เสียหายย่อยยับด้วยกันทั้งสองฝ่ าย  คู่แข่งกลับกลายเป็นศัตรู เพาะสร้างความอาฆาตแค้นในวงกว้าง  เปิดโอกาสให้มือที่สาม เข้ามาชุบมือเปิบ เกิดคู่แข่งใหม่ขึ้นมาอีกอยู่ดี  มีคู่แข่งที่อยู่ร่วมกัน แบบคนรู้จัก ดีกว่ามีศัตรูที่อยู่ร่วมฟ้าเดียวกันไม่ได้
  • 56. 7. หมากล้อมสอนให้รู้จักอ่านใจคู่ต่อสู้  รู้ว่า ตาต่อไป อีกฝ่ ายจะเดินหมากอย่างไร ? กาชัยชนะแน่นอน  รู้ว่า ตนเองจะเดินอย่างไร ? ไม่รู้ฝ่ ายตรงข้าม หวังชัยชนะแค่ครึ่งเดียว  ซุนวู ทาสงคราม รู้เรารู้เขา ขงเบ้ง วางแผนรบ อ่านใจคน  ต้องพยายามเรียนรู้ และ เข้าใจอีกฝ่ ายให้ถ่องแท้ อย่าดูแต่หมากอย่างเดียว ยิ่งรู้จัก ก็ยิ่งได้เปรียบ และ ไม่เอาความได้เปรียบมาใช้ในฆ่าคู่ต่อสู้
  • 57. 8. เหนือฟ้าย่อมมีฟ้าเสมอ  ผู้มุ่งจะเป็นผู้ชนะตลอดกาล คือ ผู้หลงตนเอง ดูถูกคนทั้งโลก  เหนือฟ้าย่อมมีฟ้าเสมอ ผู้ฝื นกฎธรรมชาติย่อมหายนะ  เมื่อใดที่เข้มแข็งกว่า เราก็ชนะ เมื่อใดที่อ่อนแอ ประมาท เราก็แพ้  แพ้ชนะไม่สาคัญ สาคัญอยู่ที่รู้แพ้รู้ชนะ เรียนรู้จากชัยชนะและพ่ายแพ้  รู้จักรับเมื่อถึงเวลารับ รู้จักรุกเมื่อถึงเวลารุก เกาะกุมเวลาและโอกาส
  • 58. 9. หมากล้อมสอนให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง  หมากล้อมใช้เพียงเบี้ยกับกระดาน 361 จุด แต่สร้างความเป็นไปได้นับ ไม่ถ้วนถึง 121,645,100,408,832,000 หรือประมาณ 10 ยกกาลัง 17  ดากับขาว เหมือน เลขศูนย์กับหนึ่ง ก่อเกิดเรื่องราวได้มากมาย  ชีวิตของผู้คนมีแต่ความไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา  ฝึกเล่นหมากล้อม ย่อมเรียนรู้วิธีจัดการกับสิ่งที่ซับซ้อน  สามารถร้อยเรียงภาพย่อยๆ ให้สอดคล้องกันได้ในภาพใหญ่  ย่อมพร้อมรับมือกับสถานการณ์และ การเปลี่ยนแปลงใดๆก็ได้
  • 59. 10. ทุกปัญหามีทางแก้ไข  ปัญหาทุกปัญหา ต้องมีทางแก้ไข  โอกาสที่จะพลิกผันสถานการณ์มีอยู่เสมอ  วิกฤตและโอกาส คือ เหรียญสองด้าน อยู่ที่ปัญญาจะเห็นด้านใด  แต่ละย่างก้าวของหมากล้อม เป็นได้ทั้งวิกฤตและโอกาส  เหมือนกับชีวิตคน ที่ไม่แน่นอน  ขอเพียงมีความมุ่งมั่น อดทน และไม่ย่อท้อ ย่อมเห็นโอกาสเสมอ  แม้มีปัญหา ก็ยังเปลี่ยนปัญหา ให้เป็นปัญญาได้ตลอดเวลา
  • 60. 11. สร้างเป็น ต้องทิ้งเป็น  เริ่มหมากล้อมด้วยการสร้าง กลางกระดานต้องรู้จักทิ้ง  จบกระดานด้วยการไม่สร้างไม่ทิ้ง เกิดปัญญาจากการรู้สองสิ่งที่ตรงข้าม  ชีวิตที่รู้จักแต่สร้างไม่สิ้นสุด สุดท้ายก็พันธนาการรัดตนจนปางตาย  รู้จักทิ้ง รู้จักปล่อยวาง รู้จักตัดใจจากสิ่งที่คิดว่าเป็นของตน ชีวิตจึงมีสุขได้  น้าย่อมไหลจากที่สูงลงที่ต่า สูงสุดแล้วคืนสู่สามัญ คือ สุขที่แท้จริง  เล่นหมากล้อมใยต้องเอาชนะ มีเพื่อนฝูง มีผู้เข้าใจ แค่นี้ก็สุขแล้ว
  • 61. 12. ปรัชญาหมากล้อม เข้าใจได้ด้วยปัญญาเชิงกลยุทธ์  เรียนหนังสือเก่ง ไม่แน่ว่า จะเล่นหมากล้อมเก่ง  ผู้บังคับบัญชา ก็ไม่แน่ว่า จะเล่นหมากล้อมเก่งกว่าลูกน้อง  เล่นหมากล้อมเก่ง ไม่แน่ว่า จะประสบความสาเร็จในชีวิต  เทคนิคดี ความจาดี แต่ถ้าไม่มีปัญญาเชิงกลยุทธ์ ก็ไม่มีทางเข้าใจปรัชญาหมากล้อม ไม่เข้าใจกฎของธรรมชาติ  ปัญญาเชิงกลยุทธ์ ไม่ใช่มาจาก IQ อย่างเดียว  ความคิด อารมณ์ จิตวิญญาณ ต้องเป็นหนึ่งเดียวกัน  ไอน์สไตน์ สอนว่า จินตนาการสาคัญกว่าความรู้
  • 62. 13. โลกของหมากล้อม คือ จักรวาลอันไร้ขอบเขต อู๋ชิงหยวน ปรมาจารย์หมากล้อมแห่งศตวรรษที่ 20 (สุวินัย ภรณวลัย)  หมากล้อมเป็นโลกที่ไร้รูปไร้ขอบ เขต ไม่อาจควบคุมหรือจัดการได้ด้วย เทคนิคล้วนๆ แต่เพียงอย่างเดียว ต้องคานึงถึงดุลยภาพและความ ปรองดองของหมากทั้งกระดานเป็นสาคัญ  หมากล้อมเปลี่ยนแปลงไม่สิ้นสุด เช่นเดียวกับจักรวาล แต่ละหมาก แต่ ละความเคลื่อนไหว สร้างความเปลี่ยนแปลงให้กับทั้งกระดาน วิธีที่จะ รักษาดุลยภาพไว้ได้ ก็คือ การปรองดองกับจักรวาล ทาจิตของตนให้ใส กระจ่าง ดุจกระจกที่สามารถสะท้อนภูมิปัญญาอันล้าเลิศของจักรวาล ออกมาในการเดินหมาก แต่ละหมากที่มีประสิทธิภาพสูงสุดได้
  • 63. 14. หมากล้อมส่งเสริมมิตรภาพ  หมากล้อมส่งเสริมมิตรภาพ ผู้แพ้ก็ไม่โกรธ ผู้ชนะก็ไม่จองหอง  สองฝ่ ายร่วมกันสร้างปัญญา พัฒนาฝีมือ สร้างจุดแข็ง เสริมจุดอ่อน ของตนเอง  สร้างพันธมิตรที่มั่นคงและยั่งยืน เพราะทุกฝ่ ายชนะ ทุกฝ่ ายได้ ประโยชน์