SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 7
Baixar para ler offline
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ใใใใใใใใใใใใใใใ
ใใใใใใ:
1สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีน
เทียบกับตะวันตก เขียนโดย
จางเหวยเหวย (Zhang Weiwei)
ศาสตราจารย์มหาวิทยาลัยฟู่ต้าน (Fudan)
ผู้อานวยการสถาบันจีนศึกษาแห่งมหาวิทยาลัยฟู่ต้าน
และนักวิจัยสถาบันวิจัยเพื่อพัฒนายุทธศาสตร์ “ชุนชิว”
เทวินทร์ แซ่แต้ ผู้แปลและเรียบเรียง
ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ
2สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ประเทศจีนได้ก้าวขึ้นมาเป็นมหาอานาจทางเศรษฐกิจของโลก ในปัจจุบันประเทศจีนมีขนาด
เศรษฐกิจอยู่ในอันดับสองของโลกแล้ว และนับวันจะยิ่งมีความสาคัญในศูนย์กลางของเวทีโลกเพิ่มขึ้น
ทาให้เส้นทางการพัฒนาของประเทศจีนได้รับการติดตามจากสังคมนานาชาติมากขึ้นเรื่อยๆ
นักวิชาการระดับโลกหลายคนได้นาเส้นทางการพัฒนาของประเทศจีนมาเปรียบเทียบกับตัวแบบ
ตะวันตก และมีความเห็นว่าการพัฒนาประเทศของจีนได้แซงหน้าตะวันตกแล้ว โดยเฉพาะเป็นการ
แซงหน้าตัวแบบประชาธิปไตยและเศรษฐกิจเสรีนิยมใหม่ของตะวันตก แนวทางการพัฒนาประเทศ
ของจีน ไม่เพียงนามาซึ่งการพัฒนาอย่างสันติของประเทศจีน แต่ยังเป็นแรงบันดาลใจสาหรับประเทศ
ต่างๆ ที่ต้องการแสวงหาเส้นทางพัฒนาประเทศของตนโดยพึ่งตนเอง ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อทิศทาง
และแนวโน้มของระบบโลกในอนาคตอย่างลึกซึ้ง
เราควรต้องยืนหยัดในเหตุผลเชิงปฏิบัติและพยายามหลีกเลี่ยงไม่ให้มีอคติต่อระบบสังคม
นิยม ประเทศตะวันตกนั้นชอบใช้กรอบประชาธิปไตยและเผด็จการมาวิเคราะห์และตัดสินโลกโดย
ตลอด สมมติฐานของเขาคือ ประชาธิปไตยเป็นของดี และเผด็จการเป็นของเลว แต่เนื้อหาของ
ประชาธิปไตยมีเพียงประเทศตะวันตกเท่านั้นที่สามารถมากาหนดได้ ถ้าระบอบประชาธิปไตยของ
ประเทศอื่นแตกต่างกับระบอบประชาธิปไตยของตะวันตก ประเทศนั้นก็จะผิดหรือถือเป็นแค่ช่วง
เปลี่ยนผ่าน และถ้าไม่เปลี่ยนแปลงระบอบ ประเทศนั้นก็จะพัง แต่ประเทศจีน ซึ่งยืนหยัดการใช้
หลักการเหตุผลเชิงปฏิบัติมาสารวจโลก ได้สังเกตว่าในโลกนี้มีประเทศที่ใช้ระบอบประชาธิปไตย
ของตะวันตกแล้วกลายเป็นประเทศที่ไม่ได้ความหลายประเทศทีเดียว จึงได้ข้อสรุปว่า การใช้
มาตรฐานตะวันตกมาแบ่งโลกเป็นสองประเภทคือประชาธิปไตยและเผด็จการนั้น ไม่สามารถอธิบาย
โลกแห่งความหลากหลายนี้ได้อีกแล้ว ถ้าจะต้องใช้เกณฑ์มาตรฐานอะไรมาแบ่งประเภทการปกครอง
ประเทศของโลกให้เหมาะสมแล้ว คงมีแต่ Good Governance และ Bad Governance สองประเภทนี้
เท่านั้น
Good Governance อาจมาจากตัวแบบของตะวันตกได้ เพราะว่าประเทศตะวันตกหลาย
ประเทศก็บริหารปกครองได้ค่อนข้างดี แต่ในขณะเดียวกันก็มีหลายประเทศจากตะวันตกที่บริหาร
ปกครองได้ไม่ค่อยดีนัก มิฉะนั้นคงไม่ทาให้ประเทศเหล่านั้นติดอยู่ในวิกฤติการเงินและปัญหาหนี้สิน
อย่างรุนแรงได้ เพราะฉะนั้น Bad Governance ก็สามารถมาจากตัวแบบตะวันตกได้เช่นกัน และ
ประเทศที่เลือกใช้ตัวแบบเศรษฐกิจและการเมืองแบบตะวันตกแล้วถึงขั้นล้มเหลวลงไปก็มีไม่น้อย
ทีเดียว
3สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ในด้านการสร้างระบบการเมืองและระบบเศรษฐกิจที่ทันสมัย (modernization) ของประเทศนั้น
ประเทศจีนได้ลองผิดลองถูกและผ่านความยากลาบากมามากมาย หลังจากการปฏิวัติซินไห่ในปี
1911 ประเทศจีนได้ล้มระบบการเมืองดั้งเดิม แล้วนาเอาระบบการเมืองแบบอเมริกามาใช้ แต่ไม่
นานก็ได้พิสูจน์ว่าไม่เหมาะสมกับประเทศจีน ประเทศจีนทั้งประเทศได้กลับไปตกอยู่ในภาวะขุนศึก
อย่างไรก็ดีนับตั้งแต่สาธารณรัฐประชาชนจีน (ประเทศจีนใหม่) สถาปนาขึ้นเมื่อปี 1949 ถือว่าเป็น
การเปิดฉากสมัยใหม่ของสังคมนิยม ถึงแม้ว่าการพัฒนาจะไม่ได้ราบรื่นตลอดมา แต่ประเทศจีนก็ไม่
เคยหยุดยั้งการแสวงหาเส้นทางการพัฒนาประเทศ ในระยะเวลาที่ผ่านมานี้ ประเทศจีนยืนหยัดใน
หลักการการแสวงหาความจริงจากข้อเท็จจริง (seek truth from facts)1
และใช้ผลการปฏิบัติเป็น
มาตรฐานอย่างเดียวที่จะมาทดสอบความจริง สรุปประสบการณ์และบทเรียนของประเทศตนเองและ
ต่างประเทศด้วย นามาซึ่งการปฏิรูปที่กล้าหาญแต่ก็ทาโดยระมัดระวัง การยืนหยัดในเหตุผลเชิง
ปฏิบัตินี้ ทาให้ประเทศจีนได้หลีกเลี่ยงการหลงเชื่อตัวแบบระบอบประชาธิปไตยตะวันตก ว่าไม่ใช่จะ
แก้ไขปัญหาสังคมและการเมืองของประเทศจีนได้ทั้งหมด และยังทาให้ประเทศจีนสามารถหลีกเลี่ยง
การหลงเชื่อระบบทุนนิยม ว่าไม่ใช่จะแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของจีนได้ทั้งหมดโดยอาศัยกลไกตลาด
ของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมหรือเสรีนิยม (capitalism) อย่างเดียว
ประเทศจีนต้องยืนหยัดหลักการในการเปิดประเทศสู่โลกและการหลอมรวม (inclusive)
พยายามหลีกเลี่ยงไม่อยู่ในกรอบเดิมๆ และการหยุดนิ่งไม่พัฒนา เนื่องจากประเทศตะวันตกเป็นผู้นา
ในกระบวนการสร้างความทันสมัย (Modernization) ของโลก เพราะฉะนั้น พวกเขาจึงเคยชินที่จะใช้
มาตรฐานของตนเองมามองโลก และบางทีก็อดไม่ได้ที่จะพยายามบังคับให้คนอื่นต้องใช้ตัวแบบการ
พัฒนาของพวกเขาด้วย แต่ประวัติศาสตร์และปัจจุบันก็ได้พิสูจน์ให้เห็นแล้วว่า ประเทศที่ไม่ใช่
ประเทศตะวันตกนั้น ใครที่ได้ลอกตัวแบบตะวันตกไปใช้แล้ว ส่วนใหญ่ก็จบลงด้วยความผิดหวัง
ความพ่ายแพ้ กระทั่งความสิ้นหวัง
ในเดือนพฤษภาคม ปี 1988 ประธานาธิบดีท่านหนึ่งของประเทศกาลังพัฒนาประเทศหนึ่ง
ได้มาเยือนปักกิ่ง ท่านอยากให้ เติ้ง เสี่ยวผิงเล่าประสบการณ์สาคัญจากนโยบายการปฏิรูปและเปิด
ประเทศสู่โลกของจีนให้ฟัง เติ้ง เสี่ยวผิงตอบว่า คือการปลดปล่อยความคิด วิเคราะห์ด้วยตนเอง และ
_________________________________
3
หมายถึง การเชื่ออะไรว่าดีหรือไม่จากผลการปฏิบัติเท่านั้น ซึ่งก็นับได้ว่าเป็นแนวทางผลปฏิบัตินิยม (pragmatism)
4
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
กาหนดนโยบายตามความจริงของตนเอง หลังจากนั้นก็เพิ่มเติมว่า ไม่เพียงแต่ปัญหาเศรษฐกิจเท่านั้น
ที่ทาเช่นนี้ ปัญหาการเมืองก็ทาเช่นนี้เหมือนกัน ประธานาธิบดีท่านนี้จึงถามต่อว่า แล้วจะต้องติดต่อ
ตะวันตกอย่างไรดี เติ้ง เสี่ยวผิงตอบแค่สี่คา คือ 趋利避害(quli bihai) คือ “มุ่งหาผลประโยชน์
หลีกเลี่ยงอันตราย”
ในกระบวนการสร้างความทันสมัย (Modernization) ของจีนนั้น จีนได้เรียนรู้ประสบการณ์ที่
เป็นประโยชน์มากมายจากประเทศตะวันตก จากการนาเข้ารูปแบบการผลิตแบบสายพานการผลิต
(production line) จนถึงการนาตัวแบบการบริหารในบริษัทมาใช้ จากการวิจัยและพัฒนาด้าน
เทคโนโลยีจนถึงการพัฒนาอุตสาหกรรม จากการพัฒนาเศรษฐกิจอินเทอร์เน็ตจนถึงการพัฒนา
อุตสาหกรรมด้าน High-Tech ประเทศจีนได้พัฒนาอย่างรวดเร็วและได้รับประโยชน์จากการเรียนรู้
และประยุกต์ใช้ประสบการณ์และเทคโนโลยีที่ทันสมัยของตะวันตก แต่ในระหว่างทางที่ผ่านมา
ประเทศจีนก็ไม่ได้หลงลืมตัวเองไป ประเทศจีนใช้มุมมองของตนมาวินิจฉัย เรียนรู้ข้อดีจากหลายๆ
ฝ่าย ทาให้มีสิ่งใหม่ๆ ประดิษฐ์ออกมาอยู่ตลอด ยกตัวอย่างเช่น การที่ประเทศจีนเข้าร่วมองค์กร
WTO ก็กลายเป็นกระบวนการเรียนรู้ การปรับตัวและการสร้างสรรค์ครั้งยิ่งใหญ่ ทาให้ขนาด
เศรษฐกิจและการค้าระหว่างประเทศของจีนได้พัฒนายกระดับขึ้นอย่างรวดเร็ว และอีกตัวอย่างหนึ่ง
คือจีนได้ผลักดันการปฏิวัติอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ พยายามพัฒนาอุตสาหกรรม
อินเทอร์เน็ต แต่ยังรักษาความเป็นเอกลักษณ์ของตนไว้ ในปัจจุบันประเทศจีนได้กลายเป็นผู้นาชั้น
แนวหน้าของการปฏิวัติอุตสาหกรรมในครั้งนี้แล้ว ในบริษัทด้านอินเทอร์เน็ตใหญ่ที่สุดของโลก 10
บริษัทนั้น 4 บริษัทเป็นของประเทศจีน และประเทศจีนได้สร้างเครือข่าย 4G ที่ใหญ่ที่สุดของโลกด้วย
เปรียบเทียบดูแล้ว ประเทศตะวันตกบางกลุ่มดูเหมือนจะอยู่ในกรอบเดิมๆ และไม่คิดที่จะ
พัฒนา ชาวตะวันตกไม่น้อยทีเดียวที่คิดว่าระบบทุนนิยมและอารยธรรมของตะวันตกนั้นเป็น ”การ
สิ้นสุดของประวัติศาสตร์” แต่ความหยิ่งยโสทาให้คนล้าหลัง ยกประเทศอเมริกาเป็นตัวอย่าง รัฐบาล
ยุค George Walker Bush ครองอานาจ 8 ปี แต่ได้ทาให้พลังของประเทศอเมริกาถดถอยลง 8 ปี
ติดต่อกัน ส่วนการแข่งขันในการเลือกตั้งอเมริกาในปี 2016 นั้นได้เผยให้เห็นถึงความแตกแยกของ
สังคมและปัญหาเรื่องกลุ่มทุนกับการเมืองอีกครั้ง ถ้ามองไปที่ยุโรป ประเทศตะวันตกส่วนใหญ่ก็กาลัง
เผชิญกับวิกฤตผู้อพยพ วิกฤตการเงิน และเศรษฐกิจตกต่าครั้งใหญ่
5
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เราต้องยืนหยัดหลักการถือชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนเป็นสาคัญ หลีกเลี่ยงการพูดถึงประชาธิปไตย
ด้วยคาพูดเปล่าๆ สาหรับประเพณีการเมืองตะวันตก สิ่งที่ประเทศตะวันตกคิดว่ามีคุณค่ามากและพูดถึงมากที่สุด
คือ แนวคิดเสรีประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน ซึ่งพวกเขากาหนดขึ้นมาเอง ประเทศตะวันตกบางประเทศยังใช้
กาลังอาวุธเพื่อเผยแพร่ค่านิยมเหล่านี้ แต่ก็ประสบความพ่ายแพ้ในประเทศอื่นๆ ที่ไม่ใช่ประเทศตะวันตก โดย
เหตุผลที่สาคัญคือ ค่านิยมที่ยืมมาจากต่างประเทศนั้นห่างไกลจากความคาดหวังของประชาชนที่อยากจะพัฒนา
ชีวิตความเป็นอยู่ให้ดีขึ้น ซึ่งทาให้ระบบการเมืองเกิดปัญหาและสถานการณ์การเมืองเกิดความไม่สงบ
ตัวอย่างเช่น เหตุการณ์ “Arab Spring” ในตะวันออกกลาง ซึ่งได้กลายเป็น “Arab Winter” สาเหตุที่แท้จริงก็
เนื่องมาจากเหตุผลนี้เอง ปัจจุบันประเทศตะวันตกเองก็กาลังเผชิญหน้ากับสถานการณ์ต่างๆ ที่ใกล้เคียงกัน
อุปสรรคที่ใหญ่ที่สุดของตัวแบบตะวันตกในทุกวันนี้ก็คือขาดแรงกาลังที่จะพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน
ให้ดีขึ้น วิกฤตการเงินและวิกฤตเศรษฐกิจต่างๆ ได้ทาให้ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในประเทศตะวันตกหยุด
พัฒนาจนกระทั่งถอยหลังด้วย ปัจจุบันในเวทีการเมืองของตะวันตกนิยมพูดประโยคหนึ่งที่บิล คลินตันได้กล่าวไว้
เช่นกันในการชิงตาแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา นั่นคือ “it’s the economy, stupid” เพราะปัจจุบันนี้ปัญหา
ที่ประชาชนในตะวันตกสนใจมากที่สุดก็คือ เรื่องเศรษฐกิจ เรื่องการทางานและเรื่องสวัสดิการสังคมนั่นเอง
จางเหวยเหวย
6
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนเป็นเรื่องสาคัญ นี่คือประสบการณ์โบราณของคนจีนที่ปกครองประเทศ
จีนมาหลายพันปี กล่าวได้ว่าพื้นฐานของประเทศคือประชาชน การแก้ไขปัญหาชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน
ได้ดีหรือไม่ดีนั้นเป็นเรื่องใหญ่ที่สัมพันธ์กับชะตากรรมของประเทศ และมีความสาคัญต่อการได้ใจประชาชน
หรือไม่ ปัจจุบันประเทศจีนยืนหยัดในหลักการที่ยึดถือชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนเป็นสาคัญ ไม่ใช่เพียงแต่
ทาให้พรรคคอมมิวนิสต์และรัฐบาลทุ่มเทการพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดีขึ้นเท่านั้น หากยังมี
นัยสาคัญให้การกาหนดนโยบายระดับประเทศต้องสนใจและให้ความสาคัญกับการยกระดับคุณภาพชีวิต
ประชาชนในมุมมองที่สูงและกว้างขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการที่ดีขึ้น ทาให้ประชาชนมีชีวิตความ
เป็นอยู่ที่ปลอดภัยขึ้น อิสระเสรีขึ้น มีความสุขขึ้น และมีศักดิ์ศรีขึ้น ถ้ามองจากความหมายนี้แล้ว แนวคิดที่ว่า
ด้วยชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนเป็นสาคัญจึงไม่เพียงแต่มีความหมายสาคัญยิ่งต่อการบรรลุเป้าหมายความ
ฝันของจีนเท่านั้น ยังมีข้อคิดที่ดีสาหรับการแก้ไขปัญหาใหญ่ในระดับโลกได้ด้วย
เราต้องยืนหยัดการสร้างสรรค์แบบบูรณาการ หลีกเลี่ยงการลอกเลียนแบบง่ายๆ จีนค่อนข้างเก่งในด้าน
การสร้างสรรค์แบบบูรณาการ เป็นเหตุผลสาคัญที่ทาให้เส้นทางประเทศจีนแซงหน้าตัวแบบตะวันตกได้ ซึ่ง
เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมที่คนจีนชอบเรียนรู้และเก่งด้านการสังเคราะห์ด้วย ในประวัติศาสตร์ อารยธรรมจีนได้
เรียนรู้สิ่งดีๆ หลายอย่างจากอารยธรรมต่างๆ ทั่วโลก ตัวอย่างเช่น เครื่องดนตรีซอ Erhu ที่ประดิษฐ์โดยชนชาติ
เอเชียกลางกลายมาเป็นเครื่องดนตรีสาคัญของชนชาติจีน ส่วนกีฬาปิงปองที่ประดิษฐ์โดยคนอังกฤษก็กลายมา
เป็นกีฬาระดับประเทศของจีน แม้กระทั่งแนวคิดสังคมนิยมก็เป็นสิ่งที่คนตะวันตกเสนอมา แล้วจีนก็เอามาใช้
หลังจากประเทศจีนใหม่ได้สถาปนาขึ้นมา และโดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจากจีนได้ดาเนินนโยบายการปฏิรูปและ
เปิดประเทศสู่โลกในเวลาต่อมานั้น ประเทศจีนได้เลือกเรียนรู้ประสบการณ์ด้านเศรษฐกิจโดยเฉพาะด้านการ
พัฒนาการตลาดของอเมริกา การเลือกเรียนรู้ประสบการณ์ด้านการบริหารบริษัทของญี่ปุ่นและเยอรมัน การ
เลือกเรียนรู้ประสบการณ์ด้านการพัฒนาภาคการเกษตรของอิสราเอล และการเลือกเรียนรู้ประสบการณ์ด้านการ
สร้างนิคมอุตสาหกรรมและการปราบปรามทุจริตของสิงคโปร์ด้วย เหล่านี้เป็นต้น อย่างไรก็ดี ในภาพรวมแล้ว
ประเทศจีนไม่ได้ลอกเลียนสิ่งต่างๆ ที่ดีจากต่างประเทศแบบง่ายๆ หากเป็นการสังเคราะห์ประสบการณ์จาก
ประเทศต่างๆ แล้วเอามาสร้างสรรค์ขึ้นบนพื้นฐานความจริงของจีน
หากมองในมิติที่กว้างกว่านั้น การที่เศรษฐกิจสังคมของประเทศจีนได้พัฒนาอย่างรวดเร็วใน
ระยะเวลา 30 ปีที่ผ่านมานี้ สิ่งที่ขาดเสียมิได้คือการสร้างนวัตกรรมใหม่แบบรอบด้าน ในด้านการเมืองการ
ปกครอง เราได้นาการคัดเลือกและการเลือกตั้ง (selection and election) มาผสมผสานเข้าด้วยกัน ซึ่งหาก
เปรียบเทียบกับการพึ่งพาการเลือกตั้งเพียงวิธีเดียวเท่านั้นในระบบการเมืองของประเทศตะวันตกแล้ว นี่เป็น
วิธีการที่ดีกว่าอย่างเห็นได้ชัด
ทางด้านสังคม เราปฏิเสธระบบที่สังคมและรัฐบาลเผชิญหน้ากันอย่างที่เสนอกันในทางตะวันตก แต่
เราส่งเสริมการบริหารและการปกครองแบบผสมผสาน ผลักดันการเจรจาและการพูดคุยกันในสังคม
สร้างสรรค์ระบบที่เน้นการมีส่วนร่วมและปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสังคมและรัฐบาล
ทางด้านเศรษฐกิจ เราดาเนินระบบเศรษฐกิจการตลาดแบบสังคมนิยม ซึ่งเป็นระบบเศรษฐกิจที่
ประกอบไปด้วยการผสมผสานระหว่าง “มือที่มองเห็น” และ “มือที่มองไม่เห็น” และการรวมพลังของ
รัฐวิสาหกิจและวิสาหกิจเอกชนเข้าด้วยกัน เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าระบบนี้ยังมีช่องโหว่ ยังคง
ต้องการปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น แต่ก็ได้แสดงให้เห็นถึงข้อได้เปรียบและพลังการแข่งขันอันโดดเด่นออกมา
ทางด้านกฎหมาย เราผสมผสานการปกครองตามหลักนิติธรรมและการบริหารตามหลักศีลธรรมเข้า
ด้วยกัน พยายามหลีกเลี่ยงข้อบกพร่องที่ปรากฏในตะวันออก อาทิ นิตินิยม (ฝ่าเจีย) สร้างสรรค์ให้เป็น
ประเทศที่ปกครองตามกฎหมายแบบใหม่ซึ่งมีความยุติธรรมกว่า มีประสิทธิภาพกว่า และมีต้นทุนต่ากว่า
ทางตะวันตก
ต่อจากนี้ไป ประเทศจีนยังคงต้องเรียนรู้และประยุกต์ใช้ประสบการณ์ที่ดีของประเทศและภูมิภาค
ต่างๆ ทั่วโลก โดยระหว่างนี้จะยึดมั่นในหลักการ “ยึดตนเป็นหลัก” และ “ประยุกต์ใช้เพื่อตนเอง” อย่างแน่ว
แน่
เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ประธานสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล
สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ
ที่มา : http://www.guancha.cn/ZhangWeiWei/2016_10_23_378089.shtml
ที่มาภาพปก : http://feelgrafix.com/data/china/China-11.jpg
ที่มาภาพ จางเหวยเหวย : http://ww1.hdnux.com/photos/41/53/45/8829280/15/rawImage.jpg
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม.
10900 โทรศัพท์ 02-938-8826 โทรสาร 02-938-8864

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Minorities Rights in Islam and situation in pakistan
Minorities Rights in Islam and situation in pakistan Minorities Rights in Islam and situation in pakistan
Minorities Rights in Islam and situation in pakistan Malik Abdul Wahab
 
Constitution of pakistan as of 28 february 2012
Constitution of pakistan as of 28 february 2012Constitution of pakistan as of 28 february 2012
Constitution of pakistan as of 28 february 2012Bilal Naqeeb
 
Non traditional presentation
Non traditional  presentationNon traditional  presentation
Non traditional presentationsohail ahmad
 
CRS CHINA MILITARY REPORT
CRS CHINA MILITARY REPORT CRS CHINA MILITARY REPORT
CRS CHINA MILITARY REPORT David Gitter
 
Evolving PRC Military Capabilities
Evolving PRC Military CapabilitiesEvolving PRC Military Capabilities
Evolving PRC Military CapabilitiesICSA, LLC
 
Lecture 2 -Technology, Innovation and Great Power Competition
Lecture 2 -Technology, Innovation and Great Power CompetitionLecture 2 -Technology, Innovation and Great Power Competition
Lecture 2 -Technology, Innovation and Great Power CompetitionStanford University
 
Pakistan Bangladesh Relations
Pakistan Bangladesh RelationsPakistan Bangladesh Relations
Pakistan Bangladesh RelationsFreelanced
 
prisoners of geography
prisoners of geographyprisoners of geography
prisoners of geographyabc xyz
 
11.terrorism and role of media
11.terrorism and role of media11.terrorism and role of media
11.terrorism and role of mediaAlexander Decker
 
What is Constitution, Differences and Similarities Between Britain & French C...
What is Constitution, Differences and Similarities Between Britain & French C...What is Constitution, Differences and Similarities Between Britain & French C...
What is Constitution, Differences and Similarities Between Britain & French C...Sajid Abbas
 
Pakistan united sates relations
Pakistan united sates relationsPakistan united sates relations
Pakistan united sates relationsmaria mano
 
Decade of democracy in pakistan
Decade of democracy in pakistanDecade of democracy in pakistan
Decade of democracy in pakistanNazeer Mahar
 
PAK-Iran Relation: after Islamic Revolution in Iran till 2013
PAK-Iran Relation: after Islamic Revolution in Iran till 2013  PAK-Iran Relation: after Islamic Revolution in Iran till 2013
PAK-Iran Relation: after Islamic Revolution in Iran till 2013 Fast Nuces ISB
 
Political Parties in Pakistan; A Long Way Ahead
Political Parties in Pakistan; A Long Way AheadPolitical Parties in Pakistan; A Long Way Ahead
Political Parties in Pakistan; A Long Way AheadNazeer Mahar
 

Mais procurados (20)

Cpec
CpecCpec
Cpec
 
Minorities Rights in Islam and situation in pakistan
Minorities Rights in Islam and situation in pakistan Minorities Rights in Islam and situation in pakistan
Minorities Rights in Islam and situation in pakistan
 
Constitution of pakistan as of 28 february 2012
Constitution of pakistan as of 28 february 2012Constitution of pakistan as of 28 february 2012
Constitution of pakistan as of 28 february 2012
 
Non traditional presentation
Non traditional  presentationNon traditional  presentation
Non traditional presentation
 
CRS CHINA MILITARY REPORT
CRS CHINA MILITARY REPORT CRS CHINA MILITARY REPORT
CRS CHINA MILITARY REPORT
 
Evolving PRC Military Capabilities
Evolving PRC Military CapabilitiesEvolving PRC Military Capabilities
Evolving PRC Military Capabilities
 
Lecture 2 -Technology, Innovation and Great Power Competition
Lecture 2 -Technology, Innovation and Great Power CompetitionLecture 2 -Technology, Innovation and Great Power Competition
Lecture 2 -Technology, Innovation and Great Power Competition
 
IOR
IOR IOR
IOR
 
Senate of pakistan
Senate of pakistanSenate of pakistan
Senate of pakistan
 
Pakistan Bangladesh Relations
Pakistan Bangladesh RelationsPakistan Bangladesh Relations
Pakistan Bangladesh Relations
 
prisoners of geography
prisoners of geographyprisoners of geography
prisoners of geography
 
11.terrorism and role of media
11.terrorism and role of media11.terrorism and role of media
11.terrorism and role of media
 
What is Constitution, Differences and Similarities Between Britain & French C...
What is Constitution, Differences and Similarities Between Britain & French C...What is Constitution, Differences and Similarities Between Britain & French C...
What is Constitution, Differences and Similarities Between Britain & French C...
 
Pakistan united sates relations
Pakistan united sates relationsPakistan united sates relations
Pakistan united sates relations
 
Decade of democracy in pakistan
Decade of democracy in pakistanDecade of democracy in pakistan
Decade of democracy in pakistan
 
NGOs in pakistan
NGOs in pakistanNGOs in pakistan
NGOs in pakistan
 
UNO
UNOUNO
UNO
 
PAK-Iran Relation: after Islamic Revolution in Iran till 2013
PAK-Iran Relation: after Islamic Revolution in Iran till 2013  PAK-Iran Relation: after Islamic Revolution in Iran till 2013
PAK-Iran Relation: after Islamic Revolution in Iran till 2013
 
Political Parties in Pakistan; A Long Way Ahead
Political Parties in Pakistan; A Long Way AheadPolitical Parties in Pakistan; A Long Way Ahead
Political Parties in Pakistan; A Long Way Ahead
 
U.S Asia-Pacific Policy
U.S Asia-Pacific PolicyU.S Asia-Pacific Policy
U.S Asia-Pacific Policy
 

Destaque

World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560Klangpanya
 
World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560Klangpanya
 
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559Klangpanya
 
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่Klangpanya
 
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่...
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่...แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่...
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่...Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559Klangpanya
 
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทยบทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทยKlangpanya
 
OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559
OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559
OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559Klangpanya
 
OBOR Monitor I สิงหาคม 2559
OBOR Monitor I สิงหาคม 2559OBOR Monitor I สิงหาคม 2559
OBOR Monitor I สิงหาคม 2559Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559Klangpanya
 
ประสบการณ์ปฏิรูปเศรษฐกิจของจีนและบทเรียน
ประสบการณ์ปฏิรูปเศรษฐกิจของจีนและบทเรียนประสบการณ์ปฏิรูปเศรษฐกิจของจีนและบทเรียน
ประสบการณ์ปฏิรูปเศรษฐกิจของจีนและบทเรียนKlangpanya
 
International Trade - Canada USA China - Government Policies
International Trade - Canada USA China - Government PoliciesInternational Trade - Canada USA China - Government Policies
International Trade - Canada USA China - Government Policiespaul young cpa, cga
 
จีน อเมริกา สร้างความเข้าใจอันดีในหมู่คนรุ่นใหม่ผ่านโครงการ “ทูตเยาวชน”
จีน อเมริกา สร้างความเข้าใจอันดีในหมู่คนรุ่นใหม่ผ่านโครงการ “ทูตเยาวชน”จีน อเมริกา สร้างความเข้าใจอันดีในหมู่คนรุ่นใหม่ผ่านโครงการ “ทูตเยาวชน”
จีน อเมริกา สร้างความเข้าใจอันดีในหมู่คนรุ่นใหม่ผ่านโครงการ “ทูตเยาวชน”Klangpanya
 
Mexico Customs International Trade Basics
Mexico Customs International Trade BasicsMexico Customs International Trade Basics
Mexico Customs International Trade BasicsThe Offshore Group
 
ทำอย่างไรให้อาหารเพื่อสุขภาพราคาถูกลง?
ทำอย่างไรให้อาหารเพื่อสุขภาพราคาถูกลง?ทำอย่างไรให้อาหารเพื่อสุขภาพราคาถูกลง?
ทำอย่างไรให้อาหารเพื่อสุขภาพราคาถูกลง?Klangpanya
 
OBOR Monitor I ตุลาคม 2559
OBOR Monitor I ตุลาคม 2559OBOR Monitor I ตุลาคม 2559
OBOR Monitor I ตุลาคม 2559Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559Klangpanya
 

Destaque (20)

World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
 
World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560
 
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
 
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
 
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่...
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่...แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่...
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่...
 
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
 
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทยบทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
 
OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559
OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559
OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559
 
OBOR Monitor I สิงหาคม 2559
OBOR Monitor I สิงหาคม 2559OBOR Monitor I สิงหาคม 2559
OBOR Monitor I สิงหาคม 2559
 
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
 
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
 
Thailand's Eastern Economic Corridor (ECC)
Thailand's Eastern Economic Corridor (ECC)Thailand's Eastern Economic Corridor (ECC)
Thailand's Eastern Economic Corridor (ECC)
 
ประสบการณ์ปฏิรูปเศรษฐกิจของจีนและบทเรียน
ประสบการณ์ปฏิรูปเศรษฐกิจของจีนและบทเรียนประสบการณ์ปฏิรูปเศรษฐกิจของจีนและบทเรียน
ประสบการณ์ปฏิรูปเศรษฐกิจของจีนและบทเรียน
 
International Trade - Canada USA China - Government Policies
International Trade - Canada USA China - Government PoliciesInternational Trade - Canada USA China - Government Policies
International Trade - Canada USA China - Government Policies
 
จีน อเมริกา สร้างความเข้าใจอันดีในหมู่คนรุ่นใหม่ผ่านโครงการ “ทูตเยาวชน”
จีน อเมริกา สร้างความเข้าใจอันดีในหมู่คนรุ่นใหม่ผ่านโครงการ “ทูตเยาวชน”จีน อเมริกา สร้างความเข้าใจอันดีในหมู่คนรุ่นใหม่ผ่านโครงการ “ทูตเยาวชน”
จีน อเมริกา สร้างความเข้าใจอันดีในหมู่คนรุ่นใหม่ผ่านโครงการ “ทูตเยาวชน”
 
Ch01
Ch01Ch01
Ch01
 
Mexico Customs International Trade Basics
Mexico Customs International Trade BasicsMexico Customs International Trade Basics
Mexico Customs International Trade Basics
 
ทำอย่างไรให้อาหารเพื่อสุขภาพราคาถูกลง?
ทำอย่างไรให้อาหารเพื่อสุขภาพราคาถูกลง?ทำอย่างไรให้อาหารเพื่อสุขภาพราคาถูกลง?
ทำอย่างไรให้อาหารเพื่อสุขภาพราคาถูกลง?
 
OBOR Monitor I ตุลาคม 2559
OBOR Monitor I ตุลาคม 2559OBOR Monitor I ตุลาคม 2559
OBOR Monitor I ตุลาคม 2559
 
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
 

Semelhante a บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก

ความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีน
ความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีนความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีน
ความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีนKlangpanya
 
อุดรธานี : ศรีแห่งยุทธศาสตร์
อุดรธานี : ศรีแห่งยุทธศาสตร์อุดรธานี : ศรีแห่งยุทธศาสตร์
อุดรธานี : ศรีแห่งยุทธศาสตร์Klangpanya
 
การจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีนการจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีนPhakawat Owat
 
ภูมิ-รัฐประศาสนศาสตร์คาบสมุทรภาคใต้ : อดีต ปัจจุบัน อนาคต
ภูมิ-รัฐประศาสนศาสตร์คาบสมุทรภาคใต้ : อดีต ปัจจุบัน อนาคตภูมิ-รัฐประศาสนศาสตร์คาบสมุทรภาคใต้ : อดีต ปัจจุบัน อนาคต
ภูมิ-รัฐประศาสนศาสตร์คาบสมุทรภาคใต้ : อดีต ปัจจุบัน อนาคตKlangpanya
 
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreenNSTDA THAILAND
 
คาบสมุทรไทยในอดีต : แง่คิดสำหรับอนาคต
คาบสมุทรไทยในอดีต : แง่คิดสำหรับอนาคตคาบสมุทรไทยในอดีต : แง่คิดสำหรับอนาคต
คาบสมุทรไทยในอดีต : แง่คิดสำหรับอนาคตKlangpanya
 
ปากีสถาน : ความสำคัญทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์โลก
ปากีสถาน : ความสำคัญทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์โลกปากีสถาน : ความสำคัญทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์โลก
ปากีสถาน : ความสำคัญทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์โลกKlangpanya
 
สงกรานต์ที่ปากีสถาน : ทัศนศึกษาประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์โลก
สงกรานต์ที่ปากีสถาน : ทัศนศึกษาประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์โลกสงกรานต์ที่ปากีสถาน : ทัศนศึกษาประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์โลก
สงกรานต์ที่ปากีสถาน : ทัศนศึกษาประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์โลกKlangpanya
 
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทยจีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทยKlangpanya
 
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคตระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคตKlangpanya
 
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"Klangpanya
 

Semelhante a บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก (11)

ความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีน
ความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีนความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีน
ความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีน
 
อุดรธานี : ศรีแห่งยุทธศาสตร์
อุดรธานี : ศรีแห่งยุทธศาสตร์อุดรธานี : ศรีแห่งยุทธศาสตร์
อุดรธานี : ศรีแห่งยุทธศาสตร์
 
การจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีนการจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีน
 
ภูมิ-รัฐประศาสนศาสตร์คาบสมุทรภาคใต้ : อดีต ปัจจุบัน อนาคต
ภูมิ-รัฐประศาสนศาสตร์คาบสมุทรภาคใต้ : อดีต ปัจจุบัน อนาคตภูมิ-รัฐประศาสนศาสตร์คาบสมุทรภาคใต้ : อดีต ปัจจุบัน อนาคต
ภูมิ-รัฐประศาสนศาสตร์คาบสมุทรภาคใต้ : อดีต ปัจจุบัน อนาคต
 
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
 
คาบสมุทรไทยในอดีต : แง่คิดสำหรับอนาคต
คาบสมุทรไทยในอดีต : แง่คิดสำหรับอนาคตคาบสมุทรไทยในอดีต : แง่คิดสำหรับอนาคต
คาบสมุทรไทยในอดีต : แง่คิดสำหรับอนาคต
 
ปากีสถาน : ความสำคัญทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์โลก
ปากีสถาน : ความสำคัญทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์โลกปากีสถาน : ความสำคัญทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์โลก
ปากีสถาน : ความสำคัญทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์โลก
 
สงกรานต์ที่ปากีสถาน : ทัศนศึกษาประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์โลก
สงกรานต์ที่ปากีสถาน : ทัศนศึกษาประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์โลกสงกรานต์ที่ปากีสถาน : ทัศนศึกษาประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์โลก
สงกรานต์ที่ปากีสถาน : ทัศนศึกษาประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์โลก
 
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทยจีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
 
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคตระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
 
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"
 

Mais de Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKlangpanya
 
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfรร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfKlangpanya
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfKlangpanya
 
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....Klangpanya
 
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีKlangpanya
 
ปัญญากับระบบการศึกษาไทย คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ ดร. สุรัตน์ แท่นประเสริ...
ปัญญากับระบบการศึกษาไทย คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ ดร. สุรัตน์ แท่นประเสริ...ปัญญากับระบบการศึกษาไทย คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ ดร. สุรัตน์ แท่นประเสริ...
ปัญญากับระบบการศึกษาไทย คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ ดร. สุรัตน์ แท่นประเสริ...Klangpanya
 

Mais de Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdf
 
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfรร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
 
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
 
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
 
ปัญญากับระบบการศึกษาไทย คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ ดร. สุรัตน์ แท่นประเสริ...
ปัญญากับระบบการศึกษาไทย คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ ดร. สุรัตน์ แท่นประเสริ...ปัญญากับระบบการศึกษาไทย คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ ดร. สุรัตน์ แท่นประเสริ...
ปัญญากับระบบการศึกษาไทย คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ ดร. สุรัตน์ แท่นประเสริ...
 

บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก

  • 1. วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ใใใใใใใใใใใใใใใ ใใใใใใ: 1สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีน เทียบกับตะวันตก เขียนโดย จางเหวยเหวย (Zhang Weiwei) ศาสตราจารย์มหาวิทยาลัยฟู่ต้าน (Fudan) ผู้อานวยการสถาบันจีนศึกษาแห่งมหาวิทยาลัยฟู่ต้าน และนักวิจัยสถาบันวิจัยเพื่อพัฒนายุทธศาสตร์ “ชุนชิว” เทวินทร์ แซ่แต้ ผู้แปลและเรียบเรียง ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ
  • 2. 2สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ประเทศจีนได้ก้าวขึ้นมาเป็นมหาอานาจทางเศรษฐกิจของโลก ในปัจจุบันประเทศจีนมีขนาด เศรษฐกิจอยู่ในอันดับสองของโลกแล้ว และนับวันจะยิ่งมีความสาคัญในศูนย์กลางของเวทีโลกเพิ่มขึ้น ทาให้เส้นทางการพัฒนาของประเทศจีนได้รับการติดตามจากสังคมนานาชาติมากขึ้นเรื่อยๆ นักวิชาการระดับโลกหลายคนได้นาเส้นทางการพัฒนาของประเทศจีนมาเปรียบเทียบกับตัวแบบ ตะวันตก และมีความเห็นว่าการพัฒนาประเทศของจีนได้แซงหน้าตะวันตกแล้ว โดยเฉพาะเป็นการ แซงหน้าตัวแบบประชาธิปไตยและเศรษฐกิจเสรีนิยมใหม่ของตะวันตก แนวทางการพัฒนาประเทศ ของจีน ไม่เพียงนามาซึ่งการพัฒนาอย่างสันติของประเทศจีน แต่ยังเป็นแรงบันดาลใจสาหรับประเทศ ต่างๆ ที่ต้องการแสวงหาเส้นทางพัฒนาประเทศของตนโดยพึ่งตนเอง ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อทิศทาง และแนวโน้มของระบบโลกในอนาคตอย่างลึกซึ้ง เราควรต้องยืนหยัดในเหตุผลเชิงปฏิบัติและพยายามหลีกเลี่ยงไม่ให้มีอคติต่อระบบสังคม นิยม ประเทศตะวันตกนั้นชอบใช้กรอบประชาธิปไตยและเผด็จการมาวิเคราะห์และตัดสินโลกโดย ตลอด สมมติฐานของเขาคือ ประชาธิปไตยเป็นของดี และเผด็จการเป็นของเลว แต่เนื้อหาของ ประชาธิปไตยมีเพียงประเทศตะวันตกเท่านั้นที่สามารถมากาหนดได้ ถ้าระบอบประชาธิปไตยของ ประเทศอื่นแตกต่างกับระบอบประชาธิปไตยของตะวันตก ประเทศนั้นก็จะผิดหรือถือเป็นแค่ช่วง เปลี่ยนผ่าน และถ้าไม่เปลี่ยนแปลงระบอบ ประเทศนั้นก็จะพัง แต่ประเทศจีน ซึ่งยืนหยัดการใช้ หลักการเหตุผลเชิงปฏิบัติมาสารวจโลก ได้สังเกตว่าในโลกนี้มีประเทศที่ใช้ระบอบประชาธิปไตย ของตะวันตกแล้วกลายเป็นประเทศที่ไม่ได้ความหลายประเทศทีเดียว จึงได้ข้อสรุปว่า การใช้ มาตรฐานตะวันตกมาแบ่งโลกเป็นสองประเภทคือประชาธิปไตยและเผด็จการนั้น ไม่สามารถอธิบาย โลกแห่งความหลากหลายนี้ได้อีกแล้ว ถ้าจะต้องใช้เกณฑ์มาตรฐานอะไรมาแบ่งประเภทการปกครอง ประเทศของโลกให้เหมาะสมแล้ว คงมีแต่ Good Governance และ Bad Governance สองประเภทนี้ เท่านั้น Good Governance อาจมาจากตัวแบบของตะวันตกได้ เพราะว่าประเทศตะวันตกหลาย ประเทศก็บริหารปกครองได้ค่อนข้างดี แต่ในขณะเดียวกันก็มีหลายประเทศจากตะวันตกที่บริหาร ปกครองได้ไม่ค่อยดีนัก มิฉะนั้นคงไม่ทาให้ประเทศเหล่านั้นติดอยู่ในวิกฤติการเงินและปัญหาหนี้สิน อย่างรุนแรงได้ เพราะฉะนั้น Bad Governance ก็สามารถมาจากตัวแบบตะวันตกได้เช่นกัน และ ประเทศที่เลือกใช้ตัวแบบเศรษฐกิจและการเมืองแบบตะวันตกแล้วถึงขั้นล้มเหลวลงไปก็มีไม่น้อย ทีเดียว
  • 3. 3สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ในด้านการสร้างระบบการเมืองและระบบเศรษฐกิจที่ทันสมัย (modernization) ของประเทศนั้น ประเทศจีนได้ลองผิดลองถูกและผ่านความยากลาบากมามากมาย หลังจากการปฏิวัติซินไห่ในปี 1911 ประเทศจีนได้ล้มระบบการเมืองดั้งเดิม แล้วนาเอาระบบการเมืองแบบอเมริกามาใช้ แต่ไม่ นานก็ได้พิสูจน์ว่าไม่เหมาะสมกับประเทศจีน ประเทศจีนทั้งประเทศได้กลับไปตกอยู่ในภาวะขุนศึก อย่างไรก็ดีนับตั้งแต่สาธารณรัฐประชาชนจีน (ประเทศจีนใหม่) สถาปนาขึ้นเมื่อปี 1949 ถือว่าเป็น การเปิดฉากสมัยใหม่ของสังคมนิยม ถึงแม้ว่าการพัฒนาจะไม่ได้ราบรื่นตลอดมา แต่ประเทศจีนก็ไม่ เคยหยุดยั้งการแสวงหาเส้นทางการพัฒนาประเทศ ในระยะเวลาที่ผ่านมานี้ ประเทศจีนยืนหยัดใน หลักการการแสวงหาความจริงจากข้อเท็จจริง (seek truth from facts)1 และใช้ผลการปฏิบัติเป็น มาตรฐานอย่างเดียวที่จะมาทดสอบความจริง สรุปประสบการณ์และบทเรียนของประเทศตนเองและ ต่างประเทศด้วย นามาซึ่งการปฏิรูปที่กล้าหาญแต่ก็ทาโดยระมัดระวัง การยืนหยัดในเหตุผลเชิง ปฏิบัตินี้ ทาให้ประเทศจีนได้หลีกเลี่ยงการหลงเชื่อตัวแบบระบอบประชาธิปไตยตะวันตก ว่าไม่ใช่จะ แก้ไขปัญหาสังคมและการเมืองของประเทศจีนได้ทั้งหมด และยังทาให้ประเทศจีนสามารถหลีกเลี่ยง การหลงเชื่อระบบทุนนิยม ว่าไม่ใช่จะแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของจีนได้ทั้งหมดโดยอาศัยกลไกตลาด ของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมหรือเสรีนิยม (capitalism) อย่างเดียว ประเทศจีนต้องยืนหยัดหลักการในการเปิดประเทศสู่โลกและการหลอมรวม (inclusive) พยายามหลีกเลี่ยงไม่อยู่ในกรอบเดิมๆ และการหยุดนิ่งไม่พัฒนา เนื่องจากประเทศตะวันตกเป็นผู้นา ในกระบวนการสร้างความทันสมัย (Modernization) ของโลก เพราะฉะนั้น พวกเขาจึงเคยชินที่จะใช้ มาตรฐานของตนเองมามองโลก และบางทีก็อดไม่ได้ที่จะพยายามบังคับให้คนอื่นต้องใช้ตัวแบบการ พัฒนาของพวกเขาด้วย แต่ประวัติศาสตร์และปัจจุบันก็ได้พิสูจน์ให้เห็นแล้วว่า ประเทศที่ไม่ใช่ ประเทศตะวันตกนั้น ใครที่ได้ลอกตัวแบบตะวันตกไปใช้แล้ว ส่วนใหญ่ก็จบลงด้วยความผิดหวัง ความพ่ายแพ้ กระทั่งความสิ้นหวัง ในเดือนพฤษภาคม ปี 1988 ประธานาธิบดีท่านหนึ่งของประเทศกาลังพัฒนาประเทศหนึ่ง ได้มาเยือนปักกิ่ง ท่านอยากให้ เติ้ง เสี่ยวผิงเล่าประสบการณ์สาคัญจากนโยบายการปฏิรูปและเปิด ประเทศสู่โลกของจีนให้ฟัง เติ้ง เสี่ยวผิงตอบว่า คือการปลดปล่อยความคิด วิเคราะห์ด้วยตนเอง และ _________________________________ 3 หมายถึง การเชื่ออะไรว่าดีหรือไม่จากผลการปฏิบัติเท่านั้น ซึ่งก็นับได้ว่าเป็นแนวทางผลปฏิบัตินิยม (pragmatism)
  • 4. 4 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต กาหนดนโยบายตามความจริงของตนเอง หลังจากนั้นก็เพิ่มเติมว่า ไม่เพียงแต่ปัญหาเศรษฐกิจเท่านั้น ที่ทาเช่นนี้ ปัญหาการเมืองก็ทาเช่นนี้เหมือนกัน ประธานาธิบดีท่านนี้จึงถามต่อว่า แล้วจะต้องติดต่อ ตะวันตกอย่างไรดี เติ้ง เสี่ยวผิงตอบแค่สี่คา คือ 趋利避害(quli bihai) คือ “มุ่งหาผลประโยชน์ หลีกเลี่ยงอันตราย” ในกระบวนการสร้างความทันสมัย (Modernization) ของจีนนั้น จีนได้เรียนรู้ประสบการณ์ที่ เป็นประโยชน์มากมายจากประเทศตะวันตก จากการนาเข้ารูปแบบการผลิตแบบสายพานการผลิต (production line) จนถึงการนาตัวแบบการบริหารในบริษัทมาใช้ จากการวิจัยและพัฒนาด้าน เทคโนโลยีจนถึงการพัฒนาอุตสาหกรรม จากการพัฒนาเศรษฐกิจอินเทอร์เน็ตจนถึงการพัฒนา อุตสาหกรรมด้าน High-Tech ประเทศจีนได้พัฒนาอย่างรวดเร็วและได้รับประโยชน์จากการเรียนรู้ และประยุกต์ใช้ประสบการณ์และเทคโนโลยีที่ทันสมัยของตะวันตก แต่ในระหว่างทางที่ผ่านมา ประเทศจีนก็ไม่ได้หลงลืมตัวเองไป ประเทศจีนใช้มุมมองของตนมาวินิจฉัย เรียนรู้ข้อดีจากหลายๆ ฝ่าย ทาให้มีสิ่งใหม่ๆ ประดิษฐ์ออกมาอยู่ตลอด ยกตัวอย่างเช่น การที่ประเทศจีนเข้าร่วมองค์กร WTO ก็กลายเป็นกระบวนการเรียนรู้ การปรับตัวและการสร้างสรรค์ครั้งยิ่งใหญ่ ทาให้ขนาด เศรษฐกิจและการค้าระหว่างประเทศของจีนได้พัฒนายกระดับขึ้นอย่างรวดเร็ว และอีกตัวอย่างหนึ่ง คือจีนได้ผลักดันการปฏิวัติอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ พยายามพัฒนาอุตสาหกรรม อินเทอร์เน็ต แต่ยังรักษาความเป็นเอกลักษณ์ของตนไว้ ในปัจจุบันประเทศจีนได้กลายเป็นผู้นาชั้น แนวหน้าของการปฏิวัติอุตสาหกรรมในครั้งนี้แล้ว ในบริษัทด้านอินเทอร์เน็ตใหญ่ที่สุดของโลก 10 บริษัทนั้น 4 บริษัทเป็นของประเทศจีน และประเทศจีนได้สร้างเครือข่าย 4G ที่ใหญ่ที่สุดของโลกด้วย เปรียบเทียบดูแล้ว ประเทศตะวันตกบางกลุ่มดูเหมือนจะอยู่ในกรอบเดิมๆ และไม่คิดที่จะ พัฒนา ชาวตะวันตกไม่น้อยทีเดียวที่คิดว่าระบบทุนนิยมและอารยธรรมของตะวันตกนั้นเป็น ”การ สิ้นสุดของประวัติศาสตร์” แต่ความหยิ่งยโสทาให้คนล้าหลัง ยกประเทศอเมริกาเป็นตัวอย่าง รัฐบาล ยุค George Walker Bush ครองอานาจ 8 ปี แต่ได้ทาให้พลังของประเทศอเมริกาถดถอยลง 8 ปี ติดต่อกัน ส่วนการแข่งขันในการเลือกตั้งอเมริกาในปี 2016 นั้นได้เผยให้เห็นถึงความแตกแยกของ สังคมและปัญหาเรื่องกลุ่มทุนกับการเมืองอีกครั้ง ถ้ามองไปที่ยุโรป ประเทศตะวันตกส่วนใหญ่ก็กาลัง เผชิญกับวิกฤตผู้อพยพ วิกฤตการเงิน และเศรษฐกิจตกต่าครั้งใหญ่
  • 5. 5 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เราต้องยืนหยัดหลักการถือชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนเป็นสาคัญ หลีกเลี่ยงการพูดถึงประชาธิปไตย ด้วยคาพูดเปล่าๆ สาหรับประเพณีการเมืองตะวันตก สิ่งที่ประเทศตะวันตกคิดว่ามีคุณค่ามากและพูดถึงมากที่สุด คือ แนวคิดเสรีประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน ซึ่งพวกเขากาหนดขึ้นมาเอง ประเทศตะวันตกบางประเทศยังใช้ กาลังอาวุธเพื่อเผยแพร่ค่านิยมเหล่านี้ แต่ก็ประสบความพ่ายแพ้ในประเทศอื่นๆ ที่ไม่ใช่ประเทศตะวันตก โดย เหตุผลที่สาคัญคือ ค่านิยมที่ยืมมาจากต่างประเทศนั้นห่างไกลจากความคาดหวังของประชาชนที่อยากจะพัฒนา ชีวิตความเป็นอยู่ให้ดีขึ้น ซึ่งทาให้ระบบการเมืองเกิดปัญหาและสถานการณ์การเมืองเกิดความไม่สงบ ตัวอย่างเช่น เหตุการณ์ “Arab Spring” ในตะวันออกกลาง ซึ่งได้กลายเป็น “Arab Winter” สาเหตุที่แท้จริงก็ เนื่องมาจากเหตุผลนี้เอง ปัจจุบันประเทศตะวันตกเองก็กาลังเผชิญหน้ากับสถานการณ์ต่างๆ ที่ใกล้เคียงกัน อุปสรรคที่ใหญ่ที่สุดของตัวแบบตะวันตกในทุกวันนี้ก็คือขาดแรงกาลังที่จะพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน ให้ดีขึ้น วิกฤตการเงินและวิกฤตเศรษฐกิจต่างๆ ได้ทาให้ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในประเทศตะวันตกหยุด พัฒนาจนกระทั่งถอยหลังด้วย ปัจจุบันในเวทีการเมืองของตะวันตกนิยมพูดประโยคหนึ่งที่บิล คลินตันได้กล่าวไว้ เช่นกันในการชิงตาแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา นั่นคือ “it’s the economy, stupid” เพราะปัจจุบันนี้ปัญหา ที่ประชาชนในตะวันตกสนใจมากที่สุดก็คือ เรื่องเศรษฐกิจ เรื่องการทางานและเรื่องสวัสดิการสังคมนั่นเอง จางเหวยเหวย
  • 6. 6 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนเป็นเรื่องสาคัญ นี่คือประสบการณ์โบราณของคนจีนที่ปกครองประเทศ จีนมาหลายพันปี กล่าวได้ว่าพื้นฐานของประเทศคือประชาชน การแก้ไขปัญหาชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน ได้ดีหรือไม่ดีนั้นเป็นเรื่องใหญ่ที่สัมพันธ์กับชะตากรรมของประเทศ และมีความสาคัญต่อการได้ใจประชาชน หรือไม่ ปัจจุบันประเทศจีนยืนหยัดในหลักการที่ยึดถือชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนเป็นสาคัญ ไม่ใช่เพียงแต่ ทาให้พรรคคอมมิวนิสต์และรัฐบาลทุ่มเทการพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดีขึ้นเท่านั้น หากยังมี นัยสาคัญให้การกาหนดนโยบายระดับประเทศต้องสนใจและให้ความสาคัญกับการยกระดับคุณภาพชีวิต ประชาชนในมุมมองที่สูงและกว้างขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการที่ดีขึ้น ทาให้ประชาชนมีชีวิตความ เป็นอยู่ที่ปลอดภัยขึ้น อิสระเสรีขึ้น มีความสุขขึ้น และมีศักดิ์ศรีขึ้น ถ้ามองจากความหมายนี้แล้ว แนวคิดที่ว่า ด้วยชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนเป็นสาคัญจึงไม่เพียงแต่มีความหมายสาคัญยิ่งต่อการบรรลุเป้าหมายความ ฝันของจีนเท่านั้น ยังมีข้อคิดที่ดีสาหรับการแก้ไขปัญหาใหญ่ในระดับโลกได้ด้วย เราต้องยืนหยัดการสร้างสรรค์แบบบูรณาการ หลีกเลี่ยงการลอกเลียนแบบง่ายๆ จีนค่อนข้างเก่งในด้าน การสร้างสรรค์แบบบูรณาการ เป็นเหตุผลสาคัญที่ทาให้เส้นทางประเทศจีนแซงหน้าตัวแบบตะวันตกได้ ซึ่ง เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมที่คนจีนชอบเรียนรู้และเก่งด้านการสังเคราะห์ด้วย ในประวัติศาสตร์ อารยธรรมจีนได้ เรียนรู้สิ่งดีๆ หลายอย่างจากอารยธรรมต่างๆ ทั่วโลก ตัวอย่างเช่น เครื่องดนตรีซอ Erhu ที่ประดิษฐ์โดยชนชาติ เอเชียกลางกลายมาเป็นเครื่องดนตรีสาคัญของชนชาติจีน ส่วนกีฬาปิงปองที่ประดิษฐ์โดยคนอังกฤษก็กลายมา เป็นกีฬาระดับประเทศของจีน แม้กระทั่งแนวคิดสังคมนิยมก็เป็นสิ่งที่คนตะวันตกเสนอมา แล้วจีนก็เอามาใช้ หลังจากประเทศจีนใหม่ได้สถาปนาขึ้นมา และโดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจากจีนได้ดาเนินนโยบายการปฏิรูปและ เปิดประเทศสู่โลกในเวลาต่อมานั้น ประเทศจีนได้เลือกเรียนรู้ประสบการณ์ด้านเศรษฐกิจโดยเฉพาะด้านการ พัฒนาการตลาดของอเมริกา การเลือกเรียนรู้ประสบการณ์ด้านการบริหารบริษัทของญี่ปุ่นและเยอรมัน การ เลือกเรียนรู้ประสบการณ์ด้านการพัฒนาภาคการเกษตรของอิสราเอล และการเลือกเรียนรู้ประสบการณ์ด้านการ สร้างนิคมอุตสาหกรรมและการปราบปรามทุจริตของสิงคโปร์ด้วย เหล่านี้เป็นต้น อย่างไรก็ดี ในภาพรวมแล้ว ประเทศจีนไม่ได้ลอกเลียนสิ่งต่างๆ ที่ดีจากต่างประเทศแบบง่ายๆ หากเป็นการสังเคราะห์ประสบการณ์จาก ประเทศต่างๆ แล้วเอามาสร้างสรรค์ขึ้นบนพื้นฐานความจริงของจีน หากมองในมิติที่กว้างกว่านั้น การที่เศรษฐกิจสังคมของประเทศจีนได้พัฒนาอย่างรวดเร็วใน ระยะเวลา 30 ปีที่ผ่านมานี้ สิ่งที่ขาดเสียมิได้คือการสร้างนวัตกรรมใหม่แบบรอบด้าน ในด้านการเมืองการ ปกครอง เราได้นาการคัดเลือกและการเลือกตั้ง (selection and election) มาผสมผสานเข้าด้วยกัน ซึ่งหาก เปรียบเทียบกับการพึ่งพาการเลือกตั้งเพียงวิธีเดียวเท่านั้นในระบบการเมืองของประเทศตะวันตกแล้ว นี่เป็น วิธีการที่ดีกว่าอย่างเห็นได้ชัด
  • 7. ทางด้านสังคม เราปฏิเสธระบบที่สังคมและรัฐบาลเผชิญหน้ากันอย่างที่เสนอกันในทางตะวันตก แต่ เราส่งเสริมการบริหารและการปกครองแบบผสมผสาน ผลักดันการเจรจาและการพูดคุยกันในสังคม สร้างสรรค์ระบบที่เน้นการมีส่วนร่วมและปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสังคมและรัฐบาล ทางด้านเศรษฐกิจ เราดาเนินระบบเศรษฐกิจการตลาดแบบสังคมนิยม ซึ่งเป็นระบบเศรษฐกิจที่ ประกอบไปด้วยการผสมผสานระหว่าง “มือที่มองเห็น” และ “มือที่มองไม่เห็น” และการรวมพลังของ รัฐวิสาหกิจและวิสาหกิจเอกชนเข้าด้วยกัน เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าระบบนี้ยังมีช่องโหว่ ยังคง ต้องการปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น แต่ก็ได้แสดงให้เห็นถึงข้อได้เปรียบและพลังการแข่งขันอันโดดเด่นออกมา ทางด้านกฎหมาย เราผสมผสานการปกครองตามหลักนิติธรรมและการบริหารตามหลักศีลธรรมเข้า ด้วยกัน พยายามหลีกเลี่ยงข้อบกพร่องที่ปรากฏในตะวันออก อาทิ นิตินิยม (ฝ่าเจีย) สร้างสรรค์ให้เป็น ประเทศที่ปกครองตามกฎหมายแบบใหม่ซึ่งมีความยุติธรรมกว่า มีประสิทธิภาพกว่า และมีต้นทุนต่ากว่า ทางตะวันตก ต่อจากนี้ไป ประเทศจีนยังคงต้องเรียนรู้และประยุกต์ใช้ประสบการณ์ที่ดีของประเทศและภูมิภาค ต่างๆ ทั่วโลก โดยระหว่างนี้จะยึดมั่นในหลักการ “ยึดตนเป็นหลัก” และ “ประยุกต์ใช้เพื่อตนเอง” อย่างแน่ว แน่ เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ประธานสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ ที่มา : http://www.guancha.cn/ZhangWeiWei/2016_10_23_378089.shtml ที่มาภาพปก : http://feelgrafix.com/data/china/China-11.jpg ที่มาภาพ จางเหวยเหวย : http://ww1.hdnux.com/photos/41/53/45/8829280/15/rawImage.jpg สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-938-8826 โทรสาร 02-938-8864