SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 51
Baixar para ler offline
แนวทางการ implement NCD และ CKD clinic
แบบบูรณาการ
นพ.สกานต์ บุนนาค
ความชุกของโรค Thai Seek Project
(August 2007 to January 2009, N = 3,459)
สถานการณ์ของ CKD
CKD ประมาณ
7.6 ล้าน คน
The 2nd Thai Seek Project อยู่ระหว่างเก็บข้อมูลเสร็จสิ้น กพ. 2559
สถานการณ์ของ CKD
18.3% increased
สถานการณ์ของ CKD
12.7% increased
สถานการณ์ของ CKD
คาดการณ์ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย RRT สิทธิ UC
ปี 2554 3,000 ล้าน บาท
ปี 2558 5,247 ล้าน บาท
ปี 2559 6,318 ล้าน บาท
สาเหตุของ ESRD ในปี 2555
(prevalence)
1. DM = 36.6%
2. HT = 26.8%
3. Unknown = 22.8%
Failure of CKD screening?
เพิ่ม 20.4%
สาเหตุของ ESRD ในปี 2555
(incicence)
1. DM = 40.7%
2. HT = 27.3%
3. Unknown = 13.7%
Better CKD screening?
รวมสิทธิ์อื่น
>10,000
ล้านบาท/ปี
ONE-YEAR RESULTS
Effectiveness of Integrated Care
on Delaying CKD Progression
in Rural Communities of Thailand
Teerayuth, MD.
Bhumirajanagarindra Kidney Institute, Thailand
CKD clinic in primary care
กรณีศึกษา ร.พ.คลองขลุง-ร.พ.ทรายทองฯ จังหวัดกําแพงเพชร
สนับสนุนโดย
กระทรวงสาธารณสุขและสถาบันโรคไตภูมิราชนครินทร์
คลินิกโรคไตเรื้อรังแบบบูรณาการ
สามารถชะลอการเสื่อมลงของไต ใน
ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังได้หรือไม่ ?
คําถามของงานวิจัย (Research question)
แบบบูรณาการ
กลุ่มประชากรที่ศึกษา
จังหวัดกําแพงเพชร
*Community based randomized control trial
Intervention
คลินิกโรคไตแบบบูรณาการ
1. ทีมสหวิชาชีพ จัดตั้งที่รพ.อําเภอ
ได้แก่ แพทย์ พยาบาล เภสัชกร นักโภชนาการ นักกายภาพ
2. เครือข่ายเยี่ยมบ้าน หรือ “ทีมรักไต”
ได้แก่ พยาบาล หรือ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม. ผู้ดูแลผู้ป่วย
กลุ่มควบคุม
อ.ทรายทอง
กลุ่มศึกษา
อ.คลองขลุง
1. ยา ACEi(enalapril)/ARB(Losartan)และยาอื่นๆ √ √
2. แจกแผ่นพับ, วีดีโอ ความรู้โรคไต √ √
3. นัดผู้ป่วยมาโรงพยาบาล ทุก 3 เดือน ทุก 3 เดือน
ให้ความรู้แบบกลุ่มโดยพยาบาล √ √
ทีมสหวิชาชีพสาธิตตัวอย่างการปรุง
อาหาร, ยาซ่อมเส้น, การใช้ยางยืด
No √
4. เยี่ยมบ้าน CKD stage 3-4 ทุกราย ปีละ 1 ครั้ง
ปีละ 4 ครั้ง
(ทุก 3 เดือน)
BP, บันทึกอาหาร, นับยา, ออกกําลัง No √11
เปรียบเทียบการรักษาระหว่าง 2 กลุ่ม
1
2
กลุ่มควบคุม
อ.ทรายทอง
กลุ่มศึกษา
อ.คลองขลุง
0 1 3 6 9 12 15 18 21 24
ตรวจที่รพ.
เยี่ยมบ้าน
กําหนดนัดติดตามผู้ป่วย (Follow-up)
đ� àckæ �ēĉađaçēa � �ĕĉ�ç� åǻ äċ�ĉ�ç�
รูปแบบการดูแลผู้ป่วย
โรคไตเรื้อรังแบบบูรณาการ
โภชนากร แพทย์
พยาบาล
เภสัชกร นักกายภาพ
ประกอบด้วย อสม. และจนท.รพ.สต.
เดือน
ระหว่างรอผลเลือด ดูสื่อการสอนโรคไต
ขั้นตอนการรับบริการในคลินิคสหวิชาชีพ
ผู้ป่วย
เข้ากลุ่มให้ความรู้พบทีมสหวิชาชีพ
พยาบาล เภสัชกร นักโภชนาการ นักกายภาพบําบัด
พบแพทย์
รับยา พบเภสัชกร
5-10 นาที
15-30 นาที
30-40 นาที
5-10 นาที
5-10 นาที
หน้าที่ของสหวิชาชีพ
ในคลินิคโรคไตเรื้อรัง ร.พ.คลองขลุง
ทีมปฏิบัติงาน หน้าที่
พยาบาล ประเมินอาการ, บันทึกข้อมูลฺ,BMI, รอบเอว
แพทย์ รักษาเพื่อให้ได้เป้ าหมายตาม guidelines
เภสัชกร • ตรวจสอบวิธีการใช้ยาและปรับตามGFR
• สอนอ่านฉลาก
• หลีกเลี่ยงการใช้ NSAID
โภชนากร
/นักกําหนดอาหาร
สอนการรับประทานอาหารสําหรับโรคไต
อาหารโปรตีนตํ่า อาหารลดเค็ม
เครือข่ายเยี่ยมบ้านผู้ป่ วยโรคไตเรื้อรัง
รพ.สต
• มีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขแห่งละ 3-5 ท่าน
• ดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังร่วมกับอสม.ในพื้นที่รับผิดชอบ
อสม.
• ลงพื้นที่ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เพื่อเยี่ยมผู้ป่วยและผู้ดูแลผู้ป่วย
• เก็บข้อมูลความดันโลหิต บันทึกรายการอาหาร ตรวจการใช้ยา
ผู้ดูแล
• ปรุงอาหารให้เหมาะสมกับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
• ช่วยเก็บข้อมูลการรับประทานอาหาร
กิจกรรมเยี่ยมบ้าน
1. ประเมินการรับประทานอาหารผู้ป่วย
และให้คําแนะนําที่เหมาะสม
2. วัดความดันโลหิต
3. ตรวจสอบการใช้ยา
4. ติดตามการออกกําลังกาย
“ บันได 4 ขั้น ป้ องกันโรคไต ”
แบบประเมินการรับประทานอาหารอย่างง่าย (EDA)
19
ไม้บรรทัดวัดเนื้อ
ผลการศึกษาหลัก
นพ. ธีรยุทธ เจียมจริยาภรณ์ และ คณะ
การรักษาแบบบูรณาการ GFR ลดลงช้ากว่า 2.74 m/min ต่อ 2ปี
23
จํานวนผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังกําแพงเพชร = ~ 20000+ ราย
จํานวนผู้ที่ต้องล้างไต (5%) = ~ 1000+ ราย
ค่าล้างไต = 200,000 บาท ต่อราย ต่อปี
***** ช่วยลดค่าล้างไต 200 ล้านบาท ต่อปี*****
รักษาแบบมาตรฐาน
GFR ลดลง 4 m/min ต่อปี
รักษาแบบบูรณาการ GFR ลดลง 2 m/min ต่อปี
ช่วยยืดเวลาล้างไตจาก 7 ปี ออกไปเป็น 14 ปี
ระยะล้างไต
14 ปี
7 ปี
eGFR
2015 2022 2029
Acknowledgement
The authors would like thank you village health volunteers, sub-district health
personnel, nurses and physicians of hospital at Khlong Khlung and Sai Thong
Wattana District, Kamphaeng Phet, Thailand.
7 มาตรการที่สําคัญในการจัดการโรคไตเรื้อรัง (กรมควบคุมโรค)
มาตรการที่ 1 เฝ้ าระวัง ติดตามและการคัดกรองโรคและพฤติกรรมเสี่ยงต่อการ
เกิดโรคทั้ง เพื่อเชื่อมโยงการให้บริการระดับชุมชนและสถานบริการ
มาตรการที่2 การสร้างความตระหนักในระดับประชากรและกลุ่มเป้ าหมาย
เฉพาะ
มาตรการที่ 3 การเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมลดเสี่ยงและการจัดการโรคไตเรื้อรังโดย
ชุมชน
มาตรการที่ 4 การให้คําปรึกษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
มาตรการที่ 5 การพัฒนาคุณภาพการบริการ
มาตรการที่ 6 การเสริมสร้างศักยภาพผู้ดําเนินงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับให้มี
ความเข้มแข็ง
มาตรการที่ 7 การกํากับ ติดตาม และประเมินผลและมีระบบสารสนเทศที่มี
ประสิทธิภาพ
มาตรการที่ 1
เฝ้ าระวัง ติดตามและการคัดกรองโรคและพฤติกรรมเสี่ยงต่อการ
เกิดโรคทั้ง เพื่อเชื่อมโยงการให้บริการระดับชุมชนและสถานบริการ
• เน้นการดําเนินงานใน district health system และ รพสต. / ศสม
• CKD clinic ใน รพช. / รพศ. / รพท.
มาตรการที่2
การสร้างความตระหนักในระดับประชากรและกลุ่มเป้ าหมายเฉพาะ
ระดับส่วนกลาง
• กําหนดประเด็นสําคัญ และ Key message เพื่อสื่อสารไปสู่ประชากรทั้งในวง
กว้างและกลุ่มเฉพาะ (กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย)
• สนับสนุนทรัพยากรในรูปแบบต่างๆให้พื้นที่
– คน : การจัดอบรมครู ก. การสนับสนุนวิทยากรลงไปในพื้นที่
– ของ : พัฒนาผลิตและรวบรวมสื่อและเครื่องมือต้นฉบับ
– เงิน : การบูรณาการงบประมาณ สป. + กรมวิชาการ + สปสช + สมาคม
วิชาชีพ (ในการอบรมครู ก. และ การจัดทําสื่อ
มาตรการที่2
การสร้างความตระหนักในระดับประชากรและกลุ่มเป้ าหมายเฉพาะ
ระดับเขต/จังหวัด
• กําหนดเป็นนโยบายของจังหวัด ในการสื่อสาร key message เรื่องโรคไตเรื้อรัง
พร้อมกันทั่วทั้งจังหวัด
• สื่อสารเตือนภัย เพื่อสร้างความรู้ ความตระหนัก ตามประเด็นสาคัญ และ Key
message ที่กําหนดไว้ ผ่านสื่อวิทยุโทรทัศน์สื่อสิ่งพิมพ์วารสารและ/หรือ
หนังสือพิมพ์ของท้องถิ่น รวมทั้งป้ ายโฆษณาประชาสัมพันธ์ในสถานบริการ และ
สถานที่ราชการ
• ส่งเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานประชาสัมพันธ์ระดับชุมชน
มาตรการที่2
การสร้างความตระหนักในระดับประชากรและกลุ่มเป้ าหมายเฉพาะ
ระดับสถานบริการ
• ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ สร้างความตระหนัก เรื่องโรคไตเรื้อรัง ในคลินิกที่
เกี่ยวข้องกับ NCD/CKD
• ประเมินระดับความรู้ ความตระหนักโรคไตเรื้อรัง
ระดับชุมชน
• การประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางสื่อสารของชุมชน วิทยุชุมชน เสียงตาสาน บอร์ด
เวทีประชาคมของชุมชน
• สร้างและพัฒนาศักยภาพทีมหมอครอบครัวและ อสม. ในการให้ความรู้และการ
ประชาสัมพันธ์
• ค้นหาบุคคลต้นแบบ ในการดูแลตนเองจากไตเรื้อรังได้ดี เพื่อเป็นสื่อบุคคลใน
ชุมชน
มาตรการที่ 3
การเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมลดเสี่ยงและการจัดการโรคไตเรื้อรังโดยชุมชน
ระดับส่วนกลาง
• ควบคุมผลิตภัณฑ์
– การกําหนดมาตรฐานฉลากสินค้า
– การควบคุมปริมาณโซเดียม และ นําตาล ในผลิตภัณฑ์
• การคิดและเผยแพร่เมนูอาหารผู้ป่วย NCD/CKD
• ผลิตเครื่องมือทดสอบปริมาณโซเดียม และ นํ้าตาลในอาหารด้วยตนเอง
ระดับพื้นที่
• กําหนดให้มีพื้นที่สําหรับผลิตภัณฑ์รวมทั้งเพิ่มทางเลือกอาหารที่เหมาะสมกับ
ผู้ป่วย NCD/CKD เช่นปริมาณโซเดียมตํ่าและนํ้าตาลตํ่า
มาตรการที่ 4
การให้คําปรึกษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
มาตรการที่ 5
การพัฒนาคุณภาพการบริการ
ผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูง และ โรคไตเรื้อรังในสถานบริการ
รพสต./ศสม. รพช. รพท. หรือ รพศ
DM, HT ที่ควบคุมได้* และ ไม่มีภาวะแทรกซ้อน (ตา, ไต, เท้า,
หัวใจ และ หลอดเลือดตีบ)
• CKD ระยะ 1-2 และ
• CKD ระยะ 3 ที่ได้รับการดูแลจน eGFR คงที่** และ ไม่มี
ภาวะแทรกซ้อนทางไต*** (ควรได้รับการตรวจประเมินจาก
แพทย์ในระดับ รพช. อย่างน้อยปีละครั้ง)
DM, HT ที่ควบคุมไม่ได้ หรือ มีภาวะแทรกซ้อน (ตา, ไต, เท้า, หัวใจ และ หลอดเลือดตีบ
ที่ไม่รุนแรง ควบคุมภาวะแทรกซ้อนได้)
• CKD ระยะ 3 ในช่วง 1 ปีแรก หรือ มี eGFR ไม่คงที่
• CKD ระยะ 4 ที่ eGFR คงที่** และ สามารถควบคุมภาวะแทรกซ้อนทางไต***ได้
(ควรได้รับการตรวจประเมินจากแพทย์อายุรกรรมโรคไต.อย่างน้อยปีละครั้ง)
DM, HT ที่มีภาวะแทรกซ้อน (ตา, ไต, เท้า, หัวใจ
และ หลอดเลือดตีบ ที่รุนแรง หรือ ควบคุม
ภาวะแทรกซ้อนไม่ได้)
• CKD ระยะ 4 ที่ eGFR ไม่คงที่** หรือมี
ภาวะแทรกซ้อนทางไต***ที่ควบคุมไม่ได้
• CKD ระยะ 5
• จัดบริการเช่นเดียวกับระดับ รพช. เพื่อ
ดูแลผู้ป่วย CKD ระยะ 3-4 ในเขตเมือง
เป้ าหมาย: ค้นหาและจัดการปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลต่อ DM HT
กิจกรรมสําคัญ
- ควบคุมระดับนํ้าตาลในเลือด
- ควบคุมระดับความดันโลหิต (BP)
- คัดกรองภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยDM, HT (ตา, ไต, เท้า,
หัวใจ และ หลอดเลือดตีบ) และ คัดกรองโรคไตในผู้ป่วยที่มี
ความเสี่ยงโรคไตเช่น DM, HT, ผู้ใช้ยา NSAIDs,ผู้สูงอายุ
- ลดเครื่องดื่ม Alc.
- งดสูบบุหรี่
- ควบคุมนํ้าหนักตัว(ค่าดัชนีมวลกายBMI)
- ควบคุมอาหาร
- ออกกาลังกาย
• จัดกิจกรรมเรียนรู้แบบกลุ่มเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถจัดการ
ตนเองและควบคุมโรคได้
• จัดระบบสนับสนุนแบบรายบุคคลในการดูแลตนเองและ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกรณีที่ DM, HT ควบคุมไม่ได้ หรือ
eGFR ไม่คงที่ หรือมีพฤติกรรมไม่เป็นไปตามเป้ าหมาย
• จัดการปัจจัยเสี่ยงและเยี่ยมบ้านร่วมกับชุมขน
เป้ าหมาย : เพื่อชะลอความเสื่อมของไต และ ระวังรักษาภาวะแทรกซ้อน
กิจกรรมสาคัญ
– บูรณาการ NCD&CKD clinic ในกรณี CKD stage 1-2
• ถ้ามี DM เข้า DM clinic
• ถ้ามี HT ไม่มี DM เข้า HT clinic
• ถ้ามีแต่ CKD ไม่มี DM หรือ HT เข้าวันเดียวกับHT clinic
– แยกบริการ CKD clinic ในกรณี CKD stage 3-4
– มีทีมสหวิชาชีพ (แพทย์ พยาบาล เภสัชกร นักกําหนดอาหาร/นักโภชนาการ)เพื่อ
ให้บริการในคลินิก
– จัดให้มีกลุ่ม Self-help groupเพื่อจัดการความเสี่ยงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
– จัดรูปแบบ Self-management support ที่เหมาะสมมุ่งให้เกิดการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม
– ติดตามเยี่ยมบ้านให้ครอบคลุม ร่วมกับทีมสหวิชาชีพและทีมชุมชน
– ระวังรักษาภาวะแทรกซ้อน
– การเตรียมความพร้อมผู้ป่วยเพื่อรับการบําบัดทดแทนไต ในผู้ป่วยที่มีระดับ eGFR
ระดับ 4
– ให้ palliative care กรณีผู้ป่วย End Stage Kidney Disease (ESDR) ที่เลือกไม่รับ
การบําบัดทดแทนไต
เป้ าหมาย : ป้ องกันการเกิดไตวายระยะสุดท้าย
และ ให้การบําบัดทดแทนไต
กิจกรรมสาคัญ
- จัดบริการ CKD clinic (โดยอาจรวมอยู่
กับ nephro clinic)
- ให้การรักษาผู้ป่วยCKD ที่ความยุ่งยาก
ซับซ้อน
- เฝ้ าระวังรักษาภาวะแทรกซ้อน
- เตรียมความพร้อมผู้ป่วยเพื่อการบําบัด
ทดแทนไต
- วินิจฉัยภาวะESRD
- ให้การรักษาด้วยการบําบัดทดแทนไต
- ให้ palliative care กรณีผู้ป่วย End
Stage Kidney Disease (ESDR) ที่เลือก
ไม่รับการบําบัดทดแทนไต
- มีทีมสหวิชาชีพ (อายุรแพทย์โรคไต
พยาบาล เภสัชกร นักกําหนดอาหาร/นัก
โภชนาการ) เพื่อให้บริการในคลินิก
- จัดรูปแบบ Self-management support
ที่เหมาะสม
หมายถึง
* DM, HT ที่ควบคุมได้ หมายถึง ผู้ป่วยที่สามารถควบคุมระดับน้าตาลและระดับความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์ที่กําหนด
** eGFR คงที่ หมายถึง มีการลดลงของ eGFR เฉลี่ย < 4 mL/min/1.73m2 ต่อปี
*** ภาวะแทรกซ้อนทางไตหมายถึง ภาวะนํ้าและเกลือเกินสมดุลเกลือแร่หรือกรดด่างในเลือดผิดปกติทุพโภชนาการ อาการจากของเสียในเลือดคั่งเป็นต้น
หมายเหตุ clinic ใน รพช. ควรจัดระบบให้ผู้ป่วยจากตําบลเดียวกันมาตรวจในสัปดาห์เดียวกัน เพื่อให้ จนท จาก รพสต. มาร่วมกิจกรรมกับผู้ป่วยในพื้นที่ของตนได้ง่ายเช่นเดียวกับ clinic ใน รพ.จังหวัด ควร
จัดระบบให้ผู้ป่วยจากอําเภอเดียวกันมาตรวจในสัปดาห์เดียวกัน จนท จาก รพช. มาร่วมกิจกรรมกับผู้ป่วยในพื้นที่ของตนได้ง่าย
DHSDHS
A
S/M1
M2/F M2/F
H H H H
CKD DM/HT
Stage
4-5
In CKD
clinic
In
DM/HT
clinic
• CKD Stage
3-4
• DM/HT
• CKD Stage
1-3
• Prevention
• Screening
• Home visit
M2/F
เป้ าหมายผู้ป่วย • CKD stage 3-4
• DM, HT
กรณีผู้ป่วย DM, HT ที่มี CKD stage 1-2 และ 3 ที่คงที่ ให้ F/U ใน clinic DM, HT เดิม
• ถ้ามี DM เข้า DM clinic
• ถ้ามี HT ไม่มี DM เข้า HT clinic
กรณีผู้ป่วย CKD ระยะ 3 ในช่วง 1 ปีแรก หรือ มี eGFR ไม่คงที่ หรือ ระยะ 4
• แยกผู้ป่วยมารับบริการใน CKD clinic
w1 w2 w3 w4
กลุ่มตําบล A กลุ่มตําบล B กลุ่มตําบล C กลุ่มตําบล D
M2/F
ปฐมนิเทศ
พบพยาบาลประเมินเบื้องต้นและจัดทําแฟ้ ม NCD
นัดเข้าตรวจติดตามใน
NCD-CKD clinic
ตรวจคัดกรอง
แรกเข้า CKD clinic
M2/F ตรวจห้องปฏิบัติการ
พยาบาล ซักประวิติตรวจร่างกายตามแบบประเมินเบื้องต้น (5-10 นาที)
แบ่งกลุ่มผู้ป่วยเป็นกลุ่มตามปัญหาหลัก (จากที่แพทย์กําหนดจากการตรวจครั้งก่อน หรือ
จากการประเมินเบื้องต้นของพยาบาล) อาหาร, ยา, การออกกําลัง, การรักษาอื่นๆ
เข้ากลุ่มพบสหสาขาตามปัญหาหลัก (30-40 นาที)
เข้าพบแพทย์ (5-10 นาที)
ผู้ป่วยที่มีปัญหาเร่งด่วนเข้าพบสหสาขาเป็นรายบุคคล
รับใบสั่งยาและใบนัด
ตรวจห้องปฏิบัติการเพิ่มเติม
ดูวีดีทัศน์ความรู้ทั่วไป (30-40 นาที)
ตรวจติดตาม
A/S/M1
เป้ าหมายผู้ป่วย • CKD stage 4-5
• DM, HT
• ผู้ป่วยเช่นเดียวกับ M2/F ในเขต
อําเภอเมือง
กลุ่มผู้ป่วย w1 w2 w3 w4
คลินิกเฉพาะโรค 1 กลุ่มอําเภอ A กลุ่มอําเภอ B กลุ่มอําเภอ C กลุ่มอําเภอ D
คลินิกเฉพาะโรค 2
จัดให้มี clinic แบ่งตามคลินิกเฉพาะโรคตามที่ รพ.มี
• NCD clinic (ถ้าทําได้ควรเป็นวันเดียวกัน)
– DM clinic
– Cardio clinic
– CKD clinic
การเชื่อมโยงข้อมูลระหว่าง clinic
จัด clinic ให้อยู่ในวันเดียวกัน
A/S/M1 ตรวจห้องปฏิบัติการ
พยาบาล ซักประวิติตรวจร่างกายตามแบบประเมินเบื้องต้น
แบ่งกลุ่มผู้ป่วยเป็นกลุ่มตามปัญหาหลัก (จากที่แพทย์กําหนดจากการตรวจครั้งก่อน หรือ
จากการประเมินเบื้องต้นของพยาบาล) อาหาร, ยา, การออกกําลัง, การรักษาอื่นๆ
เข้ากลุ่มพบสหสาขาตามปัญหาหลัก
เข้าพบแพทย์
ผู้ป่วยที่มีปัญหาเร่งด่วนเข้าพบสหสาขาเป็นรายบุคคล
รับใบสั่งยาและใบนัด
ตรวจห้องปฏิบัติการเพิ่มเติม
ดูวีดีทัศน์ความรู้ทั่วไป
เน้นเพิ่มเรื่อง
• ภาวะแทรกซ้อน : การป้ องกัน
และรักษาเบื้องต้น
• การเตรียมความพร้อมสู่ RRT
1. การเยี่ยมโดยสหวิชาชีพ โดยมีระยะเวลาตามความเหมาะสม ในกรณีที่เป็น index
case อันได้แก่
• ผู้ป่วยที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้าตาลในเลือดหรือความดันโลหิตได้ตาม
เกณฑ์ หรือมี eGFR ไม่คงที่ หรือมีภาวะแทรกซ้อนที่ควบคุมไม่ได้ หลังจาก
ผ่านการเข้า Group และ Individual education แล้ว
• ผู้ป่วยที่เพิ่งออกจากโรงพยาบาล (Discharge)
• ผู้ป่วยที่เพิ่งได้รับการทํา Vascular Access
• ผู้ป่วย ESRD ที่เบื้องต้นปฏิเสธการรักษา
• ผู้ป่วยอื่นๆ ที่พื้นที่เห็นสมควร เช่น ผู้ป่วยไม่มาตามนัด
2. การเยี่ยมโดย รพ.สต/อสม. เยี่ยม case CKD stage 3-5 ทุก case เดือนละครั้ง
สรุปแฟ้ มการเยี่ยมบ้านให้กับแพทย์ก่อนการ F/U ครั้งต่อไป
การเยี่ยมบ้าน
แบบ form
• ประเมินผู้ป่วยแรกเข้า clinic
• ตรวจติดตาม
– Main one page : ประเมินเบื้องต้น, check box การ notify แพทย์จากสห
สาขา, แบบบันทึกของแพทย์, check box การส่งพบสหสาขา
– แบบบันทึกความเห็นของสหสาขา
– Flow chart ผล lab สําคัญ, nutritional scoring
• แบบบันทึกการนอน รพ.
• เยี่ยมบ้าน
• รับส่งต่อ
การจัดทํามาตรฐานการดูแลผู้ป่วย
สนับสนุนให้มีการตรวจ serum Cr ด้วยวิธี enzymatic method ใน
ทุก รพ. ระดับ F ขึ้นไปทั่วประเทศภายในปี 2560
มาตรการที่ 6
การเสริมสร้างศักยภาพผู้ดําเนินงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับ
ให้มีความเข้มแข็ง
• การอบรม system manager
• การอบรม case manager
• การอบรมเชิงปฏิบัติการระยะสั้นสําหรับสหวิชาชีพ
• การอบรม อสม.
• การอบรมด้านโภชนบําบัด
มาตรการที่ 7
การกํากับ ติดตาม และประเมินผลและ
มีระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ
– วางแนวทางการบริหารข้อมูล (เชิงปริมาณ)
• ผ่านระบบการรายงาน
– Process KPI : ผ่านกรรมการสาขาไตระดับต่างๆ
– Clinical outcome KPI : ผ่านระบบ program iT จาก 43 แฟ้ ม
• ผ่านระบบ survey : กรมวิชาการ และ สบรส
– วางแนวทางการ M&E CKD clinic (ข้อมูลเชิงคุณภาพ) : บูรณาการ
ร่วมกับระบบนิเทศงานโครงการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย
Program CKD registry และ KPI Template (20 ตัวชี้วัด) จาก
ส่วนกลาง
• นพ.เจริญ เกียรติวัชรชัย รพ.หาดใหญ่ ขณะนี้ได้จัดทํา template, query scrip
ในการดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลมาตรฐาน (43 แฟ้ ม) เสร็จแล้ว 15 ตัวชี้วัด
• ทีมงานศูนย์ tech. ได้นําขึ้น web HDC กระทรวงครบ 15 ตัวชี้วัดแล้ว
http://203.157.103.163/hdc/reports/page.php?cat_id=39fd60c25235d
b479930db85a0e97dd3
• นิยามให้ยึดตาม HDC กระทรวง สธ
งบประมาณ 2559
• สํานักปลัดกระทรวง สธ
– งบประมาณเพื่อบริหารจัดการของเขตบริการสุขภาพ 12 เขต เขตละ 5 ล้าน
บาท
– งบประมาณเพื่อสนับสนุนการดําเนินงานตามภาระกิจพื้นฐานของสํานักงาน
สาธารณสุขจังหวัด
– งบประมาณเพื่อสนับสนุนการดําเนินงานตามภาระกิจพื้นฐานของสํานักงาน
สาธารณสุขอําเภอ แห่งละ 350,000
– งบโครงการ Long Term Care (เบื้องต้นเน้นผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงแต่ท่าน
ปลัดฯ มีดําริให้ขยายกรอบมาใช้ NCD ในช่วงต่อไป) จัดสรรไปยังตําบลนํา
ร่องเป้ าหมาย 1,000 ตําบล รวม 600 ล้านบาท
งบประมาณ 2559
• สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
– กองทุนไต : งบสนับสนุนส่งเสริมการจัดบริการ 23,600,000 บาท
– กองทุนโรคเรื้อรัง (จัดสรรไป สสจ)
– งบ family care team (จัดสรรไป สสจ ลงชุมชน)
– งบจัดสรรไปยังองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
งบประมาณ 2559
• กรมควบคุมโรค
– โครงการพัฒนาการดาเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง (CKD)งบประมาณ ทั้งสิ้น
6,642,000 บาท กิจกรรมส่วนกลาง + จัดสรรไป 15 จังหวัดเป้ าหมาย
• กรมการแพทย์
– งบประมาณกรมฯ 1,561,980 บาท
– เงินบํารุง รพ.ราชวิถี เพื่อสนับสนุนการดําเนินงาน COE 10 ล้านบาท
ประเด็นการพูดคุย
1. คน สหสาขาวิชาชีพ
2. การสร้างคน ที่จะไป สอนคนต่อ
3. เงิน เงินส่วน ที่จะเพิ่มเติมลงไปใน กรณีพิเศษ
4. ระบบ การเชื่อมโยงข้อมูลในระดับ ต่าง ๆ
5. การสนับสนุนเครือข่าย นอกกระทรวง เช่น อปท.

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังUtai Sukviwatsirikul
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
อาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตอาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตchalunthorn teeyamaneerat
 
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...Dr.Suradet Chawadet
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557Utai Sukviwatsirikul
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKD
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKDคู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKD
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKDCAPD AngThong
 
หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไตหนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไตCAPD AngThong
 
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลคู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลUtai Sukviwatsirikul
 

Mais procurados (20)

คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
อาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตอาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไต
 
คู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการคู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการ
 
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
 
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKD
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKDคู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKD
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKD
 
หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไตหนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
 
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลคู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
 

Destaque

แนวทางการประเมินผลคลินิกชะลอไตเสื่อม CKD Clinic คุณภาพ
แนวทางการประเมินผลคลินิกชะลอไตเสื่อม CKD Clinic คุณภาพแนวทางการประเมินผลคลินิกชะลอไตเสื่อม CKD Clinic คุณภาพ
แนวทางการประเมินผลคลินิกชะลอไตเสื่อม CKD Clinic คุณภาพCAPD AngThong
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559CAPD AngThong
 
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง Tuang Thidarat Apinya
 
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.สกานต์ บุนนาค
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.สกานต์ บุนนาคService plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.สกานต์ บุนนาค
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.สกานต์ บุนนาคKamol Khositrangsikun
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนCAPD AngThong
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัดnoppadolbunnum
 
1 รายงานฉบับสมบูรณ์ 2015 09-04
1 รายงานฉบับสมบูรณ์ 2015 09-041 รายงานฉบับสมบูรณ์ 2015 09-04
1 รายงานฉบับสมบูรณ์ 2015 09-04Kamol Khositrangsikun
 
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงRachanont Hiranwong
 
งานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้านงานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้านAimmary
 

Destaque (18)

แนวทางการประเมินผลคลินิกชะลอไตเสื่อม CKD Clinic คุณภาพ
แนวทางการประเมินผลคลินิกชะลอไตเสื่อม CKD Clinic คุณภาพแนวทางการประเมินผลคลินิกชะลอไตเสื่อม CKD Clinic คุณภาพ
แนวทางการประเมินผลคลินิกชะลอไตเสื่อม CKD Clinic คุณภาพ
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
 
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
 
Present.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapdPresent.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapd
 
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
006 2-1 cupเมืองย่า-โคราช
006 2-1 cupเมืองย่า-โคราช006 2-1 cupเมืองย่า-โคราช
006 2-1 cupเมืองย่า-โคราช
 
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.สกานต์ บุนนาค
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.สกานต์ บุนนาคService plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.สกานต์ บุนนาค
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.สกานต์ บุนนาค
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรัง
 
Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัด
 
1 รายงานฉบับสมบูรณ์ 2015 09-04
1 รายงานฉบับสมบูรณ์ 2015 09-041 รายงานฉบับสมบูรณ์ 2015 09-04
1 รายงานฉบับสมบูรณ์ 2015 09-04
 
Cpg and care map alcohol
Cpg and care map alcoholCpg and care map alcohol
Cpg and care map alcohol
 
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
 
งานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้านงานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้าน
 
การบริหารจัดการCkd
การบริหารจัดการCkdการบริหารจัดการCkd
การบริหารจัดการCkd
 

Semelhante a รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร

Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)wanvisa kaewngam
 
Cipo สาขาไต รอบ 6 เดือน 2559 update 16 พค 59
Cipo สาขาไต รอบ 6 เดือน  2559 update 16 พค 59Cipo สาขาไต รอบ 6 เดือน  2559 update 16 พค 59
Cipo สาขาไต รอบ 6 เดือน 2559 update 16 พค 59Kamol Khositrangsikun
 
1.2นพ.วินัย ลีสมิทธ์
1.2นพ.วินัย ลีสมิทธ์1.2นพ.วินัย ลีสมิทธ์
1.2นพ.วินัย ลีสมิทธ์CAPD AngThong
 
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...CAPD AngThong
 
Service plan นำเสนอ วายุภักดิ์ กันยายน 2558
Service plan นำเสนอ วายุภักดิ์ กันยายน 2558 Service plan นำเสนอ วายุภักดิ์ กันยายน 2558
Service plan นำเสนอ วายุภักดิ์ กันยายน 2558 Kamol Khositrangsikun
 
รายงานผลการดำเนินงาน การประเมินผลการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความดั...
รายงานผลการดำเนินงานการประเมินผลการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความดั...รายงานผลการดำเนินงานการประเมินผลการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความดั...
รายงานผลการดำเนินงาน การประเมินผลการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความดั...Channarong Chokbumrungsuk
 
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Diseaseโรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney DiseaseCAPD AngThong
 
Hand out service plan มหาราช นำเสนอ สสจ. 29 เมษายน 2559
Hand out service plan มหาราช นำเสนอ สสจ. 29 เมษายน 2559Hand out service plan มหาราช นำเสนอ สสจ. 29 เมษายน 2559
Hand out service plan มหาราช นำเสนอ สสจ. 29 เมษายน 2559Kamol Khositrangsikun
 
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCChuchai Sornchumni
 
การสำรวจของเครือข่ายวิจัยทางการแพทย์เรื่องเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2557
การสำรวจของเครือข่ายวิจัยทางการแพทย์เรื่องเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2557การสำรวจของเครือข่ายวิจัยทางการแพทย์เรื่องเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2557
การสำรวจของเครือข่ายวิจัยทางการแพทย์เรื่องเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2557Chuchai Sornchumni
 
Improvement of clinical outcome in kidney diseases via on line thai glomerula...
Improvement of clinical outcome in kidney diseases via on line thai glomerula...Improvement of clinical outcome in kidney diseases via on line thai glomerula...
Improvement of clinical outcome in kidney diseases via on line thai glomerula...Boonyarit Cheunsuchon
 
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีCAPD AngThong
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังUtai Sukviwatsirikul
 
ชี้แจงแนวทางไต ปี 53
ชี้แจงแนวทางไต ปี 53ชี้แจงแนวทางไต ปี 53
ชี้แจงแนวทางไต ปี 53nipapat
 
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015Utai Sukviwatsirikul
 
1 service plan kpi and program on 10 sep 2015-final
1 service plan kpi and program on 10 sep 2015-final1 service plan kpi and program on 10 sep 2015-final
1 service plan kpi and program on 10 sep 2015-finalKamol Khositrangsikun
 

Semelhante a รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร (20)

การบูรณาการCkd กับ ncd1
การบูรณาการCkd กับ ncd1การบูรณาการCkd กับ ncd1
การบูรณาการCkd กับ ncd1
 
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
 
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
 
Cipo สาขาไต รอบ 6 เดือน 2559 update 16 พค 59
Cipo สาขาไต รอบ 6 เดือน  2559 update 16 พค 59Cipo สาขาไต รอบ 6 เดือน  2559 update 16 พค 59
Cipo สาขาไต รอบ 6 เดือน 2559 update 16 พค 59
 
1.2นพ.วินัย ลีสมิทธ์
1.2นพ.วินัย ลีสมิทธ์1.2นพ.วินัย ลีสมิทธ์
1.2นพ.วินัย ลีสมิทธ์
 
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
 
Service plan นำเสนอ วายุภักดิ์ กันยายน 2558
Service plan นำเสนอ วายุภักดิ์ กันยายน 2558 Service plan นำเสนอ วายุภักดิ์ กันยายน 2558
Service plan นำเสนอ วายุภักดิ์ กันยายน 2558
 
Pdf diabetes & ckd for nurses
Pdf   diabetes &  ckd for nurses Pdf   diabetes &  ckd for nurses
Pdf diabetes & ckd for nurses
 
รายงานผลการดำเนินงาน การประเมินผลการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความดั...
รายงานผลการดำเนินงานการประเมินผลการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความดั...รายงานผลการดำเนินงานการประเมินผลการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความดั...
รายงานผลการดำเนินงาน การประเมินผลการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความดั...
 
Cpg copd
Cpg copdCpg copd
Cpg copd
 
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Diseaseโรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
 
Hand out service plan มหาราช นำเสนอ สสจ. 29 เมษายน 2559
Hand out service plan มหาราช นำเสนอ สสจ. 29 เมษายน 2559Hand out service plan มหาราช นำเสนอ สสจ. 29 เมษายน 2559
Hand out service plan มหาราช นำเสนอ สสจ. 29 เมษายน 2559
 
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
 
การสำรวจของเครือข่ายวิจัยทางการแพทย์เรื่องเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2557
การสำรวจของเครือข่ายวิจัยทางการแพทย์เรื่องเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2557การสำรวจของเครือข่ายวิจัยทางการแพทย์เรื่องเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2557
การสำรวจของเครือข่ายวิจัยทางการแพทย์เรื่องเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2557
 
Improvement of clinical outcome in kidney diseases via on line thai glomerula...
Improvement of clinical outcome in kidney diseases via on line thai glomerula...Improvement of clinical outcome in kidney diseases via on line thai glomerula...
Improvement of clinical outcome in kidney diseases via on line thai glomerula...
 
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
 
ชี้แจงแนวทางไต ปี 53
ชี้แจงแนวทางไต ปี 53ชี้แจงแนวทางไต ปี 53
ชี้แจงแนวทางไต ปี 53
 
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
 
1 service plan kpi and program on 10 sep 2015-final
1 service plan kpi and program on 10 sep 2015-final1 service plan kpi and program on 10 sep 2015-final
1 service plan kpi and program on 10 sep 2015-final
 

Mais de Kamol Khositrangsikun

Culture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจร
Culture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจรCulture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจร
Culture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจรKamol Khositrangsikun
 
Hand out culture negative peritonitis Feb 2018 - Baxter Scientia
Hand out culture negative peritonitis   Feb 2018 - Baxter ScientiaHand out culture negative peritonitis   Feb 2018 - Baxter Scientia
Hand out culture negative peritonitis Feb 2018 - Baxter ScientiaKamol Khositrangsikun
 
Part 2 - PD guideline Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattaya
Part 2 - PD guideline  Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattayaPart 2 - PD guideline  Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattaya
Part 2 - PD guideline Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattayaKamol Khositrangsikun
 
Hand out diabetes nephropathy management
Hand out diabetes nephropathy managementHand out diabetes nephropathy management
Hand out diabetes nephropathy managementKamol Khositrangsikun
 
31 August 2017 Precise: Trouble shooting catheter dysfunction
31 August 2017 Precise: Trouble shooting catheter dysfunction31 August 2017 Precise: Trouble shooting catheter dysfunction
31 August 2017 Precise: Trouble shooting catheter dysfunctionKamol Khositrangsikun
 
Service plan 5 พฤษภาคม 2560 สุราษฎร์ธานี
Service plan 5 พฤษภาคม  2560   สุราษฎร์ธานี Service plan 5 พฤษภาคม  2560   สุราษฎร์ธานี
Service plan 5 พฤษภาคม 2560 สุราษฎร์ธานี Kamol Khositrangsikun
 
ประเด็นพัฒนา Pre dialysis ckd
ประเด็นพัฒนา Pre dialysis ckdประเด็นพัฒนา Pre dialysis ckd
ประเด็นพัฒนา Pre dialysis ckdKamol Khositrangsikun
 
สาขาไต - Dialysis นำเสนอ ศูนย์ราชการ 29 สิงหาคม 2559
สาขาไต - Dialysis นำเสนอ ศูนย์ราชการ 29 สิงหาคม 2559สาขาไต - Dialysis นำเสนอ ศูนย์ราชการ 29 สิงหาคม 2559
สาขาไต - Dialysis นำเสนอ ศูนย์ราชการ 29 สิงหาคม 2559Kamol Khositrangsikun
 
Hand out CKD & RRT มิราเคิลแกรนด์ 7 กรกฎาคม 2559
Hand out CKD & RRT มิราเคิลแกรนด์ 7 กรกฎาคม 2559Hand out CKD & RRT มิราเคิลแกรนด์ 7 กรกฎาคม 2559
Hand out CKD & RRT มิราเคิลแกรนด์ 7 กรกฎาคม 2559Kamol Khositrangsikun
 
การคัดกรอง CKD ผ่านระบบฐานข้อมูล
การคัดกรอง CKD  ผ่านระบบฐานข้อมูลการคัดกรอง CKD  ผ่านระบบฐานข้อมูล
การคัดกรอง CKD ผ่านระบบฐานข้อมูลKamol Khositrangsikun
 
Slide share service plan 5 กรกฎาคม 2559
Slide share service plan 5 กรกฎาคม  2559 Slide share service plan 5 กรกฎาคม  2559
Slide share service plan 5 กรกฎาคม 2559 Kamol Khositrangsikun
 
Kpi guidelines pd quality 2016-final
Kpi guidelines pd quality 2016-finalKpi guidelines pd quality 2016-final
Kpi guidelines pd quality 2016-finalKamol Khositrangsikun
 
Centre management - PD quality นพ.สกานต์
Centre management -  PD quality นพ.สกานต์Centre management -  PD quality นพ.สกานต์
Centre management - PD quality นพ.สกานต์Kamol Khositrangsikun
 
Center management - PD Quality Baxter 27 มีนาคม 2559
Center management - PD Quality  Baxter  27 มีนาคม 2559 Center management - PD Quality  Baxter  27 มีนาคม 2559
Center management - PD Quality Baxter 27 มีนาคม 2559 Kamol Khositrangsikun
 

Mais de Kamol Khositrangsikun (20)

Disaster management 2020
Disaster management 2020Disaster management 2020
Disaster management 2020
 
CKD for 2019
CKD for 2019 CKD for 2019
CKD for 2019
 
Culture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจร
Culture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจรCulture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจร
Culture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจร
 
Hemodialysis regulation 2561
Hemodialysis regulation 2561Hemodialysis regulation 2561
Hemodialysis regulation 2561
 
Hand out pd for everyone
Hand out pd for everyoneHand out pd for everyone
Hand out pd for everyone
 
Hand out ckd for 2018
Hand out ckd for 2018Hand out ckd for 2018
Hand out ckd for 2018
 
Hand out culture negative peritonitis Feb 2018 - Baxter Scientia
Hand out culture negative peritonitis   Feb 2018 - Baxter ScientiaHand out culture negative peritonitis   Feb 2018 - Baxter Scientia
Hand out culture negative peritonitis Feb 2018 - Baxter Scientia
 
Key Performance Index Final Version
Key Performance Index Final VersionKey Performance Index Final Version
Key Performance Index Final Version
 
Part 2 - PD guideline Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattaya
Part 2 - PD guideline  Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattayaPart 2 - PD guideline  Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattaya
Part 2 - PD guideline Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattaya
 
Hand out diabetes nephropathy management
Hand out diabetes nephropathy managementHand out diabetes nephropathy management
Hand out diabetes nephropathy management
 
31 August 2017 Precise: Trouble shooting catheter dysfunction
31 August 2017 Precise: Trouble shooting catheter dysfunction31 August 2017 Precise: Trouble shooting catheter dysfunction
31 August 2017 Precise: Trouble shooting catheter dysfunction
 
Service plan 5 พฤษภาคม 2560 สุราษฎร์ธานี
Service plan 5 พฤษภาคม  2560   สุราษฎร์ธานี Service plan 5 พฤษภาคม  2560   สุราษฎร์ธานี
Service plan 5 พฤษภาคม 2560 สุราษฎร์ธานี
 
ประเด็นพัฒนา Pre dialysis ckd
ประเด็นพัฒนา Pre dialysis ckdประเด็นพัฒนา Pre dialysis ckd
ประเด็นพัฒนา Pre dialysis ckd
 
สาขาไต - Dialysis นำเสนอ ศูนย์ราชการ 29 สิงหาคม 2559
สาขาไต - Dialysis นำเสนอ ศูนย์ราชการ 29 สิงหาคม 2559สาขาไต - Dialysis นำเสนอ ศูนย์ราชการ 29 สิงหาคม 2559
สาขาไต - Dialysis นำเสนอ ศูนย์ราชการ 29 สิงหาคม 2559
 
Hand out CKD & RRT มิราเคิลแกรนด์ 7 กรกฎาคม 2559
Hand out CKD & RRT มิราเคิลแกรนด์ 7 กรกฎาคม 2559Hand out CKD & RRT มิราเคิลแกรนด์ 7 กรกฎาคม 2559
Hand out CKD & RRT มิราเคิลแกรนด์ 7 กรกฎาคม 2559
 
การคัดกรอง CKD ผ่านระบบฐานข้อมูล
การคัดกรอง CKD  ผ่านระบบฐานข้อมูลการคัดกรอง CKD  ผ่านระบบฐานข้อมูล
การคัดกรอง CKD ผ่านระบบฐานข้อมูล
 
Slide share service plan 5 กรกฎาคม 2559
Slide share service plan 5 กรกฎาคม  2559 Slide share service plan 5 กรกฎาคม  2559
Slide share service plan 5 กรกฎาคม 2559
 
Kpi guidelines pd quality 2016-final
Kpi guidelines pd quality 2016-finalKpi guidelines pd quality 2016-final
Kpi guidelines pd quality 2016-final
 
Centre management - PD quality นพ.สกานต์
Centre management -  PD quality นพ.สกานต์Centre management -  PD quality นพ.สกานต์
Centre management - PD quality นพ.สกานต์
 
Center management - PD Quality Baxter 27 มีนาคม 2559
Center management - PD Quality  Baxter  27 มีนาคม 2559 Center management - PD Quality  Baxter  27 มีนาคม 2559
Center management - PD Quality Baxter 27 มีนาคม 2559
 

รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร

  • 1. แนวทางการ implement NCD และ CKD clinic แบบบูรณาการ นพ.สกานต์ บุนนาค
  • 2. ความชุกของโรค Thai Seek Project (August 2007 to January 2009, N = 3,459) สถานการณ์ของ CKD CKD ประมาณ 7.6 ล้าน คน The 2nd Thai Seek Project อยู่ระหว่างเก็บข้อมูลเสร็จสิ้น กพ. 2559
  • 5. สถานการณ์ของ CKD คาดการณ์ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย RRT สิทธิ UC ปี 2554 3,000 ล้าน บาท ปี 2558 5,247 ล้าน บาท ปี 2559 6,318 ล้าน บาท สาเหตุของ ESRD ในปี 2555 (prevalence) 1. DM = 36.6% 2. HT = 26.8% 3. Unknown = 22.8% Failure of CKD screening? เพิ่ม 20.4% สาเหตุของ ESRD ในปี 2555 (incicence) 1. DM = 40.7% 2. HT = 27.3% 3. Unknown = 13.7% Better CKD screening? รวมสิทธิ์อื่น >10,000 ล้านบาท/ปี
  • 6. ONE-YEAR RESULTS Effectiveness of Integrated Care on Delaying CKD Progression in Rural Communities of Thailand Teerayuth, MD. Bhumirajanagarindra Kidney Institute, Thailand
  • 7. CKD clinic in primary care กรณีศึกษา ร.พ.คลองขลุง-ร.พ.ทรายทองฯ จังหวัดกําแพงเพชร สนับสนุนโดย กระทรวงสาธารณสุขและสถาบันโรคไตภูมิราชนครินทร์
  • 10. Intervention คลินิกโรคไตแบบบูรณาการ 1. ทีมสหวิชาชีพ จัดตั้งที่รพ.อําเภอ ได้แก่ แพทย์ พยาบาล เภสัชกร นักโภชนาการ นักกายภาพ 2. เครือข่ายเยี่ยมบ้าน หรือ “ทีมรักไต” ได้แก่ พยาบาล หรือ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม. ผู้ดูแลผู้ป่วย
  • 11. กลุ่มควบคุม อ.ทรายทอง กลุ่มศึกษา อ.คลองขลุง 1. ยา ACEi(enalapril)/ARB(Losartan)และยาอื่นๆ √ √ 2. แจกแผ่นพับ, วีดีโอ ความรู้โรคไต √ √ 3. นัดผู้ป่วยมาโรงพยาบาล ทุก 3 เดือน ทุก 3 เดือน ให้ความรู้แบบกลุ่มโดยพยาบาล √ √ ทีมสหวิชาชีพสาธิตตัวอย่างการปรุง อาหาร, ยาซ่อมเส้น, การใช้ยางยืด No √ 4. เยี่ยมบ้าน CKD stage 3-4 ทุกราย ปีละ 1 ครั้ง ปีละ 4 ครั้ง (ทุก 3 เดือน) BP, บันทึกอาหาร, นับยา, ออกกําลัง No √11 เปรียบเทียบการรักษาระหว่าง 2 กลุ่ม
  • 12. 1 2 กลุ่มควบคุม อ.ทรายทอง กลุ่มศึกษา อ.คลองขลุง 0 1 3 6 9 12 15 18 21 24 ตรวจที่รพ. เยี่ยมบ้าน กําหนดนัดติดตามผู้ป่วย (Follow-up) đ� àckæ �ēĉađaçēa � �ĕĉ�ç� åǻ äċ�ĉ�ç� รูปแบบการดูแลผู้ป่วย โรคไตเรื้อรังแบบบูรณาการ โภชนากร แพทย์ พยาบาล เภสัชกร นักกายภาพ ประกอบด้วย อสม. และจนท.รพ.สต. เดือน
  • 14. หน้าที่ของสหวิชาชีพ ในคลินิคโรคไตเรื้อรัง ร.พ.คลองขลุง ทีมปฏิบัติงาน หน้าที่ พยาบาล ประเมินอาการ, บันทึกข้อมูลฺ,BMI, รอบเอว แพทย์ รักษาเพื่อให้ได้เป้ าหมายตาม guidelines เภสัชกร • ตรวจสอบวิธีการใช้ยาและปรับตามGFR • สอนอ่านฉลาก • หลีกเลี่ยงการใช้ NSAID โภชนากร /นักกําหนดอาหาร สอนการรับประทานอาหารสําหรับโรคไต อาหารโปรตีนตํ่า อาหารลดเค็ม
  • 15. เครือข่ายเยี่ยมบ้านผู้ป่ วยโรคไตเรื้อรัง รพ.สต • มีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขแห่งละ 3-5 ท่าน • ดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังร่วมกับอสม.ในพื้นที่รับผิดชอบ อสม. • ลงพื้นที่ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เพื่อเยี่ยมผู้ป่วยและผู้ดูแลผู้ป่วย • เก็บข้อมูลความดันโลหิต บันทึกรายการอาหาร ตรวจการใช้ยา ผู้ดูแล • ปรุงอาหารให้เหมาะสมกับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง • ช่วยเก็บข้อมูลการรับประทานอาหาร
  • 16. กิจกรรมเยี่ยมบ้าน 1. ประเมินการรับประทานอาหารผู้ป่วย และให้คําแนะนําที่เหมาะสม 2. วัดความดันโลหิต 3. ตรวจสอบการใช้ยา 4. ติดตามการออกกําลังกาย “ บันได 4 ขั้น ป้ องกันโรคไต ”
  • 17.
  • 18.
  • 21. ผลการศึกษาหลัก นพ. ธีรยุทธ เจียมจริยาภรณ์ และ คณะ การรักษาแบบบูรณาการ GFR ลดลงช้ากว่า 2.74 m/min ต่อ 2ปี
  • 22. 23 จํานวนผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังกําแพงเพชร = ~ 20000+ ราย จํานวนผู้ที่ต้องล้างไต (5%) = ~ 1000+ ราย ค่าล้างไต = 200,000 บาท ต่อราย ต่อปี ***** ช่วยลดค่าล้างไต 200 ล้านบาท ต่อปี***** รักษาแบบมาตรฐาน GFR ลดลง 4 m/min ต่อปี รักษาแบบบูรณาการ GFR ลดลง 2 m/min ต่อปี ช่วยยืดเวลาล้างไตจาก 7 ปี ออกไปเป็น 14 ปี ระยะล้างไต 14 ปี 7 ปี eGFR 2015 2022 2029
  • 23. Acknowledgement The authors would like thank you village health volunteers, sub-district health personnel, nurses and physicians of hospital at Khlong Khlung and Sai Thong Wattana District, Kamphaeng Phet, Thailand.
  • 24.
  • 25. 7 มาตรการที่สําคัญในการจัดการโรคไตเรื้อรัง (กรมควบคุมโรค) มาตรการที่ 1 เฝ้ าระวัง ติดตามและการคัดกรองโรคและพฤติกรรมเสี่ยงต่อการ เกิดโรคทั้ง เพื่อเชื่อมโยงการให้บริการระดับชุมชนและสถานบริการ มาตรการที่2 การสร้างความตระหนักในระดับประชากรและกลุ่มเป้ าหมาย เฉพาะ มาตรการที่ 3 การเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมลดเสี่ยงและการจัดการโรคไตเรื้อรังโดย ชุมชน มาตรการที่ 4 การให้คําปรึกษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มาตรการที่ 5 การพัฒนาคุณภาพการบริการ มาตรการที่ 6 การเสริมสร้างศักยภาพผู้ดําเนินงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับให้มี ความเข้มแข็ง มาตรการที่ 7 การกํากับ ติดตาม และประเมินผลและมีระบบสารสนเทศที่มี ประสิทธิภาพ
  • 26. มาตรการที่ 1 เฝ้ าระวัง ติดตามและการคัดกรองโรคและพฤติกรรมเสี่ยงต่อการ เกิดโรคทั้ง เพื่อเชื่อมโยงการให้บริการระดับชุมชนและสถานบริการ • เน้นการดําเนินงานใน district health system และ รพสต. / ศสม • CKD clinic ใน รพช. / รพศ. / รพท.
  • 27. มาตรการที่2 การสร้างความตระหนักในระดับประชากรและกลุ่มเป้ าหมายเฉพาะ ระดับส่วนกลาง • กําหนดประเด็นสําคัญ และ Key message เพื่อสื่อสารไปสู่ประชากรทั้งในวง กว้างและกลุ่มเฉพาะ (กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย) • สนับสนุนทรัพยากรในรูปแบบต่างๆให้พื้นที่ – คน : การจัดอบรมครู ก. การสนับสนุนวิทยากรลงไปในพื้นที่ – ของ : พัฒนาผลิตและรวบรวมสื่อและเครื่องมือต้นฉบับ – เงิน : การบูรณาการงบประมาณ สป. + กรมวิชาการ + สปสช + สมาคม วิชาชีพ (ในการอบรมครู ก. และ การจัดทําสื่อ
  • 28. มาตรการที่2 การสร้างความตระหนักในระดับประชากรและกลุ่มเป้ าหมายเฉพาะ ระดับเขต/จังหวัด • กําหนดเป็นนโยบายของจังหวัด ในการสื่อสาร key message เรื่องโรคไตเรื้อรัง พร้อมกันทั่วทั้งจังหวัด • สื่อสารเตือนภัย เพื่อสร้างความรู้ ความตระหนัก ตามประเด็นสาคัญ และ Key message ที่กําหนดไว้ ผ่านสื่อวิทยุโทรทัศน์สื่อสิ่งพิมพ์วารสารและ/หรือ หนังสือพิมพ์ของท้องถิ่น รวมทั้งป้ ายโฆษณาประชาสัมพันธ์ในสถานบริการ และ สถานที่ราชการ • ส่งเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานประชาสัมพันธ์ระดับชุมชน
  • 29. มาตรการที่2 การสร้างความตระหนักในระดับประชากรและกลุ่มเป้ าหมายเฉพาะ ระดับสถานบริการ • ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ สร้างความตระหนัก เรื่องโรคไตเรื้อรัง ในคลินิกที่ เกี่ยวข้องกับ NCD/CKD • ประเมินระดับความรู้ ความตระหนักโรคไตเรื้อรัง ระดับชุมชน • การประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางสื่อสารของชุมชน วิทยุชุมชน เสียงตาสาน บอร์ด เวทีประชาคมของชุมชน • สร้างและพัฒนาศักยภาพทีมหมอครอบครัวและ อสม. ในการให้ความรู้และการ ประชาสัมพันธ์ • ค้นหาบุคคลต้นแบบ ในการดูแลตนเองจากไตเรื้อรังได้ดี เพื่อเป็นสื่อบุคคลใน ชุมชน
  • 30. มาตรการที่ 3 การเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมลดเสี่ยงและการจัดการโรคไตเรื้อรังโดยชุมชน ระดับส่วนกลาง • ควบคุมผลิตภัณฑ์ – การกําหนดมาตรฐานฉลากสินค้า – การควบคุมปริมาณโซเดียม และ นําตาล ในผลิตภัณฑ์ • การคิดและเผยแพร่เมนูอาหารผู้ป่วย NCD/CKD • ผลิตเครื่องมือทดสอบปริมาณโซเดียม และ นํ้าตาลในอาหารด้วยตนเอง ระดับพื้นที่ • กําหนดให้มีพื้นที่สําหรับผลิตภัณฑ์รวมทั้งเพิ่มทางเลือกอาหารที่เหมาะสมกับ ผู้ป่วย NCD/CKD เช่นปริมาณโซเดียมตํ่าและนํ้าตาลตํ่า
  • 32. ผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูง และ โรคไตเรื้อรังในสถานบริการ รพสต./ศสม. รพช. รพท. หรือ รพศ DM, HT ที่ควบคุมได้* และ ไม่มีภาวะแทรกซ้อน (ตา, ไต, เท้า, หัวใจ และ หลอดเลือดตีบ) • CKD ระยะ 1-2 และ • CKD ระยะ 3 ที่ได้รับการดูแลจน eGFR คงที่** และ ไม่มี ภาวะแทรกซ้อนทางไต*** (ควรได้รับการตรวจประเมินจาก แพทย์ในระดับ รพช. อย่างน้อยปีละครั้ง) DM, HT ที่ควบคุมไม่ได้ หรือ มีภาวะแทรกซ้อน (ตา, ไต, เท้า, หัวใจ และ หลอดเลือดตีบ ที่ไม่รุนแรง ควบคุมภาวะแทรกซ้อนได้) • CKD ระยะ 3 ในช่วง 1 ปีแรก หรือ มี eGFR ไม่คงที่ • CKD ระยะ 4 ที่ eGFR คงที่** และ สามารถควบคุมภาวะแทรกซ้อนทางไต***ได้ (ควรได้รับการตรวจประเมินจากแพทย์อายุรกรรมโรคไต.อย่างน้อยปีละครั้ง) DM, HT ที่มีภาวะแทรกซ้อน (ตา, ไต, เท้า, หัวใจ และ หลอดเลือดตีบ ที่รุนแรง หรือ ควบคุม ภาวะแทรกซ้อนไม่ได้) • CKD ระยะ 4 ที่ eGFR ไม่คงที่** หรือมี ภาวะแทรกซ้อนทางไต***ที่ควบคุมไม่ได้ • CKD ระยะ 5 • จัดบริการเช่นเดียวกับระดับ รพช. เพื่อ ดูแลผู้ป่วย CKD ระยะ 3-4 ในเขตเมือง เป้ าหมาย: ค้นหาและจัดการปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลต่อ DM HT กิจกรรมสําคัญ - ควบคุมระดับนํ้าตาลในเลือด - ควบคุมระดับความดันโลหิต (BP) - คัดกรองภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยDM, HT (ตา, ไต, เท้า, หัวใจ และ หลอดเลือดตีบ) และ คัดกรองโรคไตในผู้ป่วยที่มี ความเสี่ยงโรคไตเช่น DM, HT, ผู้ใช้ยา NSAIDs,ผู้สูงอายุ - ลดเครื่องดื่ม Alc. - งดสูบบุหรี่ - ควบคุมนํ้าหนักตัว(ค่าดัชนีมวลกายBMI) - ควบคุมอาหาร - ออกกาลังกาย • จัดกิจกรรมเรียนรู้แบบกลุ่มเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถจัดการ ตนเองและควบคุมโรคได้ • จัดระบบสนับสนุนแบบรายบุคคลในการดูแลตนเองและ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกรณีที่ DM, HT ควบคุมไม่ได้ หรือ eGFR ไม่คงที่ หรือมีพฤติกรรมไม่เป็นไปตามเป้ าหมาย • จัดการปัจจัยเสี่ยงและเยี่ยมบ้านร่วมกับชุมขน เป้ าหมาย : เพื่อชะลอความเสื่อมของไต และ ระวังรักษาภาวะแทรกซ้อน กิจกรรมสาคัญ – บูรณาการ NCD&CKD clinic ในกรณี CKD stage 1-2 • ถ้ามี DM เข้า DM clinic • ถ้ามี HT ไม่มี DM เข้า HT clinic • ถ้ามีแต่ CKD ไม่มี DM หรือ HT เข้าวันเดียวกับHT clinic – แยกบริการ CKD clinic ในกรณี CKD stage 3-4 – มีทีมสหวิชาชีพ (แพทย์ พยาบาล เภสัชกร นักกําหนดอาหาร/นักโภชนาการ)เพื่อ ให้บริการในคลินิก – จัดให้มีกลุ่ม Self-help groupเพื่อจัดการความเสี่ยงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม – จัดรูปแบบ Self-management support ที่เหมาะสมมุ่งให้เกิดการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม – ติดตามเยี่ยมบ้านให้ครอบคลุม ร่วมกับทีมสหวิชาชีพและทีมชุมชน – ระวังรักษาภาวะแทรกซ้อน – การเตรียมความพร้อมผู้ป่วยเพื่อรับการบําบัดทดแทนไต ในผู้ป่วยที่มีระดับ eGFR ระดับ 4 – ให้ palliative care กรณีผู้ป่วย End Stage Kidney Disease (ESDR) ที่เลือกไม่รับ การบําบัดทดแทนไต เป้ าหมาย : ป้ องกันการเกิดไตวายระยะสุดท้าย และ ให้การบําบัดทดแทนไต กิจกรรมสาคัญ - จัดบริการ CKD clinic (โดยอาจรวมอยู่ กับ nephro clinic) - ให้การรักษาผู้ป่วยCKD ที่ความยุ่งยาก ซับซ้อน - เฝ้ าระวังรักษาภาวะแทรกซ้อน - เตรียมความพร้อมผู้ป่วยเพื่อการบําบัด ทดแทนไต - วินิจฉัยภาวะESRD - ให้การรักษาด้วยการบําบัดทดแทนไต - ให้ palliative care กรณีผู้ป่วย End Stage Kidney Disease (ESDR) ที่เลือก ไม่รับการบําบัดทดแทนไต - มีทีมสหวิชาชีพ (อายุรแพทย์โรคไต พยาบาล เภสัชกร นักกําหนดอาหาร/นัก โภชนาการ) เพื่อให้บริการในคลินิก - จัดรูปแบบ Self-management support ที่เหมาะสม หมายถึง * DM, HT ที่ควบคุมได้ หมายถึง ผู้ป่วยที่สามารถควบคุมระดับน้าตาลและระดับความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์ที่กําหนด ** eGFR คงที่ หมายถึง มีการลดลงของ eGFR เฉลี่ย < 4 mL/min/1.73m2 ต่อปี *** ภาวะแทรกซ้อนทางไตหมายถึง ภาวะนํ้าและเกลือเกินสมดุลเกลือแร่หรือกรดด่างในเลือดผิดปกติทุพโภชนาการ อาการจากของเสียในเลือดคั่งเป็นต้น หมายเหตุ clinic ใน รพช. ควรจัดระบบให้ผู้ป่วยจากตําบลเดียวกันมาตรวจในสัปดาห์เดียวกัน เพื่อให้ จนท จาก รพสต. มาร่วมกิจกรรมกับผู้ป่วยในพื้นที่ของตนได้ง่ายเช่นเดียวกับ clinic ใน รพ.จังหวัด ควร จัดระบบให้ผู้ป่วยจากอําเภอเดียวกันมาตรวจในสัปดาห์เดียวกัน จนท จาก รพช. มาร่วมกิจกรรมกับผู้ป่วยในพื้นที่ของตนได้ง่าย
  • 33. DHSDHS A S/M1 M2/F M2/F H H H H CKD DM/HT Stage 4-5 In CKD clinic In DM/HT clinic • CKD Stage 3-4 • DM/HT • CKD Stage 1-3 • Prevention • Screening • Home visit
  • 34. M2/F เป้ าหมายผู้ป่วย • CKD stage 3-4 • DM, HT กรณีผู้ป่วย DM, HT ที่มี CKD stage 1-2 และ 3 ที่คงที่ ให้ F/U ใน clinic DM, HT เดิม • ถ้ามี DM เข้า DM clinic • ถ้ามี HT ไม่มี DM เข้า HT clinic กรณีผู้ป่วย CKD ระยะ 3 ในช่วง 1 ปีแรก หรือ มี eGFR ไม่คงที่ หรือ ระยะ 4 • แยกผู้ป่วยมารับบริการใน CKD clinic w1 w2 w3 w4 กลุ่มตําบล A กลุ่มตําบล B กลุ่มตําบล C กลุ่มตําบล D
  • 36. M2/F ตรวจห้องปฏิบัติการ พยาบาล ซักประวิติตรวจร่างกายตามแบบประเมินเบื้องต้น (5-10 นาที) แบ่งกลุ่มผู้ป่วยเป็นกลุ่มตามปัญหาหลัก (จากที่แพทย์กําหนดจากการตรวจครั้งก่อน หรือ จากการประเมินเบื้องต้นของพยาบาล) อาหาร, ยา, การออกกําลัง, การรักษาอื่นๆ เข้ากลุ่มพบสหสาขาตามปัญหาหลัก (30-40 นาที) เข้าพบแพทย์ (5-10 นาที) ผู้ป่วยที่มีปัญหาเร่งด่วนเข้าพบสหสาขาเป็นรายบุคคล รับใบสั่งยาและใบนัด ตรวจห้องปฏิบัติการเพิ่มเติม ดูวีดีทัศน์ความรู้ทั่วไป (30-40 นาที) ตรวจติดตาม
  • 37. A/S/M1 เป้ าหมายผู้ป่วย • CKD stage 4-5 • DM, HT • ผู้ป่วยเช่นเดียวกับ M2/F ในเขต อําเภอเมือง กลุ่มผู้ป่วย w1 w2 w3 w4 คลินิกเฉพาะโรค 1 กลุ่มอําเภอ A กลุ่มอําเภอ B กลุ่มอําเภอ C กลุ่มอําเภอ D คลินิกเฉพาะโรค 2 จัดให้มี clinic แบ่งตามคลินิกเฉพาะโรคตามที่ รพ.มี • NCD clinic (ถ้าทําได้ควรเป็นวันเดียวกัน) – DM clinic – Cardio clinic – CKD clinic การเชื่อมโยงข้อมูลระหว่าง clinic จัด clinic ให้อยู่ในวันเดียวกัน
  • 38. A/S/M1 ตรวจห้องปฏิบัติการ พยาบาล ซักประวิติตรวจร่างกายตามแบบประเมินเบื้องต้น แบ่งกลุ่มผู้ป่วยเป็นกลุ่มตามปัญหาหลัก (จากที่แพทย์กําหนดจากการตรวจครั้งก่อน หรือ จากการประเมินเบื้องต้นของพยาบาล) อาหาร, ยา, การออกกําลัง, การรักษาอื่นๆ เข้ากลุ่มพบสหสาขาตามปัญหาหลัก เข้าพบแพทย์ ผู้ป่วยที่มีปัญหาเร่งด่วนเข้าพบสหสาขาเป็นรายบุคคล รับใบสั่งยาและใบนัด ตรวจห้องปฏิบัติการเพิ่มเติม ดูวีดีทัศน์ความรู้ทั่วไป เน้นเพิ่มเรื่อง • ภาวะแทรกซ้อน : การป้ องกัน และรักษาเบื้องต้น • การเตรียมความพร้อมสู่ RRT
  • 39. 1. การเยี่ยมโดยสหวิชาชีพ โดยมีระยะเวลาตามความเหมาะสม ในกรณีที่เป็น index case อันได้แก่ • ผู้ป่วยที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้าตาลในเลือดหรือความดันโลหิตได้ตาม เกณฑ์ หรือมี eGFR ไม่คงที่ หรือมีภาวะแทรกซ้อนที่ควบคุมไม่ได้ หลังจาก ผ่านการเข้า Group และ Individual education แล้ว • ผู้ป่วยที่เพิ่งออกจากโรงพยาบาล (Discharge) • ผู้ป่วยที่เพิ่งได้รับการทํา Vascular Access • ผู้ป่วย ESRD ที่เบื้องต้นปฏิเสธการรักษา • ผู้ป่วยอื่นๆ ที่พื้นที่เห็นสมควร เช่น ผู้ป่วยไม่มาตามนัด 2. การเยี่ยมโดย รพ.สต/อสม. เยี่ยม case CKD stage 3-5 ทุก case เดือนละครั้ง สรุปแฟ้ มการเยี่ยมบ้านให้กับแพทย์ก่อนการ F/U ครั้งต่อไป การเยี่ยมบ้าน
  • 40. แบบ form • ประเมินผู้ป่วยแรกเข้า clinic • ตรวจติดตาม – Main one page : ประเมินเบื้องต้น, check box การ notify แพทย์จากสห สาขา, แบบบันทึกของแพทย์, check box การส่งพบสหสาขา – แบบบันทึกความเห็นของสหสาขา – Flow chart ผล lab สําคัญ, nutritional scoring • แบบบันทึกการนอน รพ. • เยี่ยมบ้าน • รับส่งต่อ
  • 41. การจัดทํามาตรฐานการดูแลผู้ป่วย สนับสนุนให้มีการตรวจ serum Cr ด้วยวิธี enzymatic method ใน ทุก รพ. ระดับ F ขึ้นไปทั่วประเทศภายในปี 2560
  • 42. มาตรการที่ 6 การเสริมสร้างศักยภาพผู้ดําเนินงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับ ให้มีความเข้มแข็ง • การอบรม system manager • การอบรม case manager • การอบรมเชิงปฏิบัติการระยะสั้นสําหรับสหวิชาชีพ • การอบรม อสม. • การอบรมด้านโภชนบําบัด
  • 43.
  • 44. มาตรการที่ 7 การกํากับ ติดตาม และประเมินผลและ มีระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ – วางแนวทางการบริหารข้อมูล (เชิงปริมาณ) • ผ่านระบบการรายงาน – Process KPI : ผ่านกรรมการสาขาไตระดับต่างๆ – Clinical outcome KPI : ผ่านระบบ program iT จาก 43 แฟ้ ม • ผ่านระบบ survey : กรมวิชาการ และ สบรส – วางแนวทางการ M&E CKD clinic (ข้อมูลเชิงคุณภาพ) : บูรณาการ ร่วมกับระบบนิเทศงานโครงการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย
  • 45. Program CKD registry และ KPI Template (20 ตัวชี้วัด) จาก ส่วนกลาง • นพ.เจริญ เกียรติวัชรชัย รพ.หาดใหญ่ ขณะนี้ได้จัดทํา template, query scrip ในการดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลมาตรฐาน (43 แฟ้ ม) เสร็จแล้ว 15 ตัวชี้วัด • ทีมงานศูนย์ tech. ได้นําขึ้น web HDC กระทรวงครบ 15 ตัวชี้วัดแล้ว http://203.157.103.163/hdc/reports/page.php?cat_id=39fd60c25235d b479930db85a0e97dd3 • นิยามให้ยึดตาม HDC กระทรวง สธ
  • 46.
  • 47.
  • 48. งบประมาณ 2559 • สํานักปลัดกระทรวง สธ – งบประมาณเพื่อบริหารจัดการของเขตบริการสุขภาพ 12 เขต เขตละ 5 ล้าน บาท – งบประมาณเพื่อสนับสนุนการดําเนินงานตามภาระกิจพื้นฐานของสํานักงาน สาธารณสุขจังหวัด – งบประมาณเพื่อสนับสนุนการดําเนินงานตามภาระกิจพื้นฐานของสํานักงาน สาธารณสุขอําเภอ แห่งละ 350,000 – งบโครงการ Long Term Care (เบื้องต้นเน้นผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงแต่ท่าน ปลัดฯ มีดําริให้ขยายกรอบมาใช้ NCD ในช่วงต่อไป) จัดสรรไปยังตําบลนํา ร่องเป้ าหมาย 1,000 ตําบล รวม 600 ล้านบาท
  • 49. งบประมาณ 2559 • สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ – กองทุนไต : งบสนับสนุนส่งเสริมการจัดบริการ 23,600,000 บาท – กองทุนโรคเรื้อรัง (จัดสรรไป สสจ) – งบ family care team (จัดสรรไป สสจ ลงชุมชน) – งบจัดสรรไปยังองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
  • 50. งบประมาณ 2559 • กรมควบคุมโรค – โครงการพัฒนาการดาเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง (CKD)งบประมาณ ทั้งสิ้น 6,642,000 บาท กิจกรรมส่วนกลาง + จัดสรรไป 15 จังหวัดเป้ าหมาย • กรมการแพทย์ – งบประมาณกรมฯ 1,561,980 บาท – เงินบํารุง รพ.ราชวิถี เพื่อสนับสนุนการดําเนินงาน COE 10 ล้านบาท
  • 51. ประเด็นการพูดคุย 1. คน สหสาขาวิชาชีพ 2. การสร้างคน ที่จะไป สอนคนต่อ 3. เงิน เงินส่วน ที่จะเพิ่มเติมลงไปใน กรณีพิเศษ 4. ระบบ การเชื่อมโยงข้อมูลในระดับ ต่าง ๆ 5. การสนับสนุนเครือข่าย นอกกระทรวง เช่น อปท.