SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
คานา
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเรียนรู้สาหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสีคิ้ว “สวัสดิ์ผดุงวิทยา” ซึ่งเอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้นี้
มีจานวน 6 เล่ม
เล่มที่ 1 เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่มที่ 2 เรื่อง สมการเคมี
เล่มที่ 3 เรื่อง มวล พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่มที่ 4 เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่มที่ 5 เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
เล่มที่ 6 เรื่อง การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้นี้จัดทาขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกให้ครูและนักเรียน
สามารถนาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้
7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ในระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ซึ่งประกอบไป
ด้วยแบบทดสอบก่อน - หลังเรียน บันทึกกิจกรรมการทดลอง ใบงานและใบความรู้ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า
จะเป็นประโยชน์แก่ครูผู้สอน นักเรียนหรือบุคคลที่สนใจทั่วไป
ปรีช์ญภัทร เล่งระบา
ก
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
สารบัญ
หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี 1
กิจกรรม 2.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี 3
ใบความรู้ที่ 2.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี 7
ใบงานที่ 2.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี 10
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี 12
ภาคผนวก 14
 ตัวอย่างการบันทึกกิจกรรม 2.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี 15
 เฉลยใบงานที่ 2.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี 17
 เฉลยข้อสอบก่อนเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี 19
 เฉลยข้อสอบหลังเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี 20
บรรณานุกรม 21
ข
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี
คาชี้แจง
1. แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ
**************************************************************************************************
1. การเปลี่ยนแปลงในข้อใดจัดว่ามีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีเกิดขึ้น
ก. เกิดตะกอน
ข. เกิดฟองแก๊ส
ค. มีสีเปลี่ยนแปลงไป
ง. สังเกตได้จากทุกข้อ
2. การเปลี่ยนแปลงในข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
ก. การระเหิดของลูกเหม็น
ข. การละลายของเกลือในน้า
ค. การย่อยสลายสารอินทรีย์ในดิน
ง. การควบแน่นของไอน้าในอากาศ
3. ข้อใดไม่ใช่การเกิดปฏิกิริยาเคมี
ก. การผลิตน้าโซดา
ข. การเติมน้าตาลทรายลงในกาแฟดา
ค. การมีกลิ่นหืนของน้ามันเมื่อเปิดฝาขวดทิ้งไว้
ง. การเผากระดาษเงินกระดาษทองในวันตรุษจีน
4. ข้อใดเกิดปฏิกิริยาเคมี
1. การทาทิงเจอร์ไอโอดีน โดยผสมไอโอดีนกับเอทานอล
2. การเหม็นหืนของน้ามันเมื่อทิ้งไว้นานๆ
3. การผลิตน้าอัดลมและน้าโซดา
4. บ่มมะม่วงดิบจนเป็นมะม่วงสุก
ก. 1 2 3
ข. 2 3 4
ค. 1 2 4
ง. 1 3 4
5. ข้อใดที่ไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงทางเคมี
ก. กล้วยสุก
ข. การจุดประทัด
ค. ละลายน้าตาลในน้า
ง. การลุกไหม้ของไม้ขีดไฟ
1
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
6. เมื่อให้ความร้อนกับสารประกอบชนิดหนึ่ง อาจมีการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ได้ทั้งสิ้น ยกเว้นข้อใด
ก. มวลเพิ่มขึ้น
ข. มีสารประกอบชนิดใหม่เกิดขึ้น
ค. สลายตัวให้ธาตุ
ง. มีแก๊สเกิดขึ้น
7. ข้อใด ไม่ใช่ ปฏิกิริยาเคมี
ก. กินยาลดกรดเพื่อลดความเจ็บปวดจากโรคกระเพาะ
ข. ใช้ยาล้างห้องน้า ทาความสะอาดพื้นห้องน้า
ค. การเผาไหม้ของแก๊สบนเตาหุงต้ม
ง. การทานาเกลือ
8. ข้อใดถูกต้องเมื่อมีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น
ก. พลังงานจะคายออกมา
ข. พลังงานจะถูกดูดเข้าไป
ค. มีการเปลี่ยนแปลงสถานะเกิดขึ้น
ง. มีทั้งการให้พลังงานออกมาและการดูดพลังงานเข้าไป
9. ข้อใดเป็นปฏิกิริยาเคมีประเภทคายความร้อน
ก. การทาน้าแข็งแห้ง
ข. ลูกเหม็นตั้งทิ้งไว้มีขนาดเล็กลง
ค. การเผาผลาญอาหารในร่างกายมนุษย์
ง. ใส่โซดาไฟลงในน้าใช้มือจับภาชนะดูจะรู้สึกร้อน
10. การทาไวน์ เป็นการทาให้เกิดปฏิกิริยาระหว่างยีสต์กับอะไร
ก. น้าตาลจากผลไม้
ข. กรดในผลไม้
ค. เบสในผลไม้
ง. ออกซิเจนในอากาศ
***********************************************************************
2
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
กิจกรรม 2.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
สมาชิกในกลุ่ม
1. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
2. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
3. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
4. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
5. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
6. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
จุดประสงค์ของกิจกรรม
ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแปลงที่สามารถสังเกตได้ เมื่อมีปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น และยกตัวอย่าง
ปฏิกิริยาเคมีบางปฏิกิริยา
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
รายการ ปริมาณ/กลุ่ม
1. ที่ตั้งหลอดทดลอง
2. หลอดทดลองขนาดกลาง
3. สารละลายเลด (II) ไนเตรต 0.1 mol/dm3
4. สารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์ 0.1 mol/dm3
5. น้าส้มสายชูกลั่น 5%
6. ผงฟู
7. กรดไฮโดรคลอริก 0.1 mol/dm3
8. สารละลายด่างทับทิม 0.1 mol/dm3
9. สารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต 0.1 mol/dm3
10. กรดซิตริก
1 อัน
8 หลอด
5 cm3
5 cm3
5 cm3
1 กรัม หรือ 1 ช้อนเบอร์ 1
5 cm3
5 cm3
5 cm3
1 กรัม หรือ 1 ช้อนเบอร์ 1
3
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
วิธีทดลอง
1. นาหลอดทดลองขนาดกลางมา 4 หลอด ทาการทดลองในแต่ละหลอดตามข้อ 2-5
2. หลอดที่ 1 ใส่สารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์ 2 cm3
ลงในหลอดทดลอง ใช้มือจับหลอดทดลองไว้
ตลอด จากนั้นหยดสารละลายเลด(II)ไนเตรตทีละหยดจนครบ 5 หยด สังเกตลักษณะของสาร และ
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งก่อนและหลังการเติมสาร บันทึกผล
3. หลอดที่ 2 ใส่ผงฟู 1 ช้อนเบอร์ 1 ลงในหลอดทดลอง ใช้มือจับหลอดทดลองไว้ตลอด จากนั้นหยด
น้าส้มสายชูลงไป 20 หยด สังเกตลักษณะของสาร และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งก่อนและหลังการ
เติมสาร บันทึกผล
4. หลอดที่ 3 ใส่สารละลายด่างทับทิมเจือจาง 2 cm3
ลงในหลอดทดลอง ใช้มือจับหลอดทดลองไว้ตลอด
จากนั้นหยดกรดไฮโดรคลอริกทีละหยดจนครบ 20 หยด สังเกตลักษณะของสาร และการ
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งก่อนและหลังการเติมสาร บันทึกผล
5. หลอดที่ 4 ใส่สารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต 2 cm3
ลงในหลอดทดลอง ใช้มือจับหลอด
ทดลองไว้ตลอด จากนั้นเติมเกล็ดของกรดซิตริกประมาณครึ่งช้อนเบอร์ 1 สังเกตลักษณะของสาร
และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งก่อนและหลังการเติมสาร บันทึกผล
4
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ผลการทดลอง
คู่ของสารที่ผสมกัน
ผลการสังเกต
ก่อนผสม หลังผสม
1. โพแทสเซียมไอโอไดด์ + เลด (II) ไนเตรต ……………………………………….
……………………………………….
……………………………………….
………………………………………..
………………………………………..
………………………………………..
……………………………………….
……………………………………….
……………………………………….
………………………………………..
………………………………………..
………………………………………..
2. ผงฟู + น้าส้มสายชูกลั่น ……………………………………….
……………………………………….
……………………………………….
………………………………………..
………………………………………..
………………………………………..
……………………………………….
……………………………………….
……………………………………….
………………………………………..
………………………………………..
………………………………………..
3. ด่างทับทิม + กรดไฮโดรคลอริก ……………………………………….
……………………………………….
……………………………………….
………………………………………..
………………………………………..
………………………………………..
……………………………………….
……………………………………….
……………………………………….
………………………………………..
………………………………………..
………………………………………..
4. โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต + กรดซิตริก ……………………………………….
……………………………………….
……………………………………….
………………………………………..
………………………………………..
………………………………………..
……………………………………….
……………………………………….
……………………………………….
………………………………………..
………………………………………..
………………………………………..
5
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อภิปรายผลการทดลอง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สรุปผลการทดลอง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
การเปลี่ยนแปลงของสิ่งต่างๆ รอบตัวเรา มีการเปลี่ยนแปลงใดบ้างที่แสดงว่าสารเกิดปฏิกิริยา
เคมีและไม่เกิดปฏิกิริยาเคมี?
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
6
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ใบความรู้ที่ 2.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical reaction) คือ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับสารแล้วทาให้ได้สารใหม่ที่
มีสมบัติเปลี่ยนไปจากเดิม เช่น การเผาไหม้เชื้อเพลิงต่าง ๆ การสึกกร่อนชองโลหะ การบูดเน่าของอาหาร
การย่อยอาหารในกระเพาะอาหารและลาไส้เล็ก การเกิดฝนกรด
https://pixabay.com/th//กองไฟ-เปลวไฟ-ไม้-การเผาไหม้-1354472/
http://www.satriwit3.ac.th/external_newsblog.php?links=1236
http://aplus.com/a/awesome-office-supplies?no_monetization=true
7
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เมื่อมีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น สามารถสังเกตได้จากหนึ่งหรือหลายข้อต่อไปนี้
1. มีฟองแก๊ส เช่น เมื่อจุ่มลวดแมกนีเซียมลงในกรดไฮโดรคลอริก เกิดฟองแก๊สไฮโดรเจน
2. มีตะกอน เมื่อสารละลายซิลเวอร์ไนเตรต เกิดปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริก เกิดตะกอนสีขาวของซิล
เวอร์คลอไรด์
3. สีของสารเปลี่ยนไป เช่น แก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์และแก๊สออกซิเจน ไม่มีสี แต่เมื่อเกิดปฏิกิริยาเคมี
ได้แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ที่มีสีน้าตาลแดง
4. อุณหภูมิเพิ่มขึ้นหรือลดลง
5. มีกลิ่นเกิดขึ้น
http://www.chem.uiuc.edu/webfunchem/MgHClexp/MgHClExp6.htm
http://mrsaintsscience.weebly.com/chapters-9--11--chemical-reactions--stoichiometry.html
ปฏิกิริยาเคมีบางปฏิกิริยาเกิดเร็วมาก เช่น การเผาไหม้ของกระดาษ , การระเบิด และ
บางปฏิกิริยาเกิดช้ามาก เช่น การเกิดสนิมของเหล็ก การเกิดหินงอกหินย้อย
http://album.sanook.com/files/2430743 http://board.postjung.com/606235.html
8
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ในปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นอาจมีการดูดหรือ คายพลังงานให้กับสิ่งแวดล้อม โดยเมื่อเกิดปฏิกิริยาจนได้
สารใหม่แล้ว จะทาให้สารใหม่กลับคืนเป็นสารเดิมก่อนทาปฏิกิริยาได้ยากหรือทาไม่ได้เลย ในปฏิกิริยาเคมีจะ
ประกอบด้วยสาร 2 ชนิด คือ
1. สารตั้งต้น คือ สารที่มีอยู่หรือสารที่นามาทาปฏิกิริยาเคมี
2. ผลิตภัณฑ์ คือ สารที่เกิดขึ้นหลังจากปฏิกิริยาเคมีสิ้นสุดลง
9
ภาพจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.2 เล่ม 2 บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท.จากัด
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้
1. การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ หมายความว่าอย่างไร
ตอบ
2. การเปลี่ยนแปลงทางเคมี หมายความว่าอย่างไร
ตอบ
3. การเปลี่ยนแปลงของสารในชีวิตประจาวันการเปลี่ยนแปลงใดบ้างจัดเป็นการเปลี่ยนแปลง
ทางกายภาพและการเปลี่ยนแปลงใดบ้างจัดเป็นการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
ตอบ
4. จงยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพ และการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของสารที่นักเรียน
เคยพบในชีวิตประจาวันมาอย่างละ 3 ตัวอย่าง
ตอบ
5. การเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้จัดเป็นการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพหรือการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เพราะ
เหตุใด
การเปลี่ยนแปลงของสาร ประเภทของการเปลี่ยนแปลง เหตุผล
http://www.siamchemi.com/สารกันบูด/
https://pixabay.com/th/สนิม-เหล็ก-สกรู-สิ่งที่แนบ
มา-โลหะ-861756/
http://www.charpa.co.th/articles/rotten02.php
10
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงของสาร ประเภทของการเปลี่ยนแปลง เหตุผล
https://www.quora.com/What-is-the-reaction-
between-zinc-and-hydrochloric-acid
https://pixabay.com/th/น้าแข็ง-ฤดูหนาว-เย็น-แช่
แข็ง-570500/
https://pantip.com/topic/31343459
http://www.blisby.com/blog/diy-coffee-filter-
roses/
http://www.took-d.com/product/19/เมล็ดป๊อป
คอร์น-พันธุ์ผีเสือ-ตรา-corona
11
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี
คาชี้แจง
1. แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ
**************************************************************************************************
1. ข้อใดเกิดปฏิกิริยาเคมี
1. การทาทิงเจอร์ไอโอดีน โดยผสมไอโอดีนกับเอทานอล
2. การเหม็นหืนของน้ามันเมื่อทิ้งไว้นานๆ
3. การผลิตน้าอัดลมและน้าโซดา
4. บ่มมะม่วงดิบจนเป็นมะม่วงสุก
ก. 1 2 3
ข. 2 3 4
ค. 1 2 4
ง. 1 3 4
2. ข้อใดไม่ใช่การเกิดปฏิกิริยาเคมี
ก. การผลิตน้าโซดา
ข. การเติมน้าตาลทรายลงในกาแฟดา
ค. การมีกลิ่นหืนของน้ามันเมื่อเปิดฝาขวดทิ้งไว้
ง. การเผากระดาษเงินกระดาษทองในวันตรุษจีน
3. การเปลี่ยนแปลงในข้อใดจัดว่ามีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีเกิดขึ้น
ก. เกิดตะกอน
ข. เกิดฟองแก๊ส
ค. มีสีเปลี่ยนแปลงไป
ง. สังเกตได้จากทุกข้อ
4. ข้อใดที่ไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงทางเคมี
ก. กล้วยสุก
ข. การจุดประทัด
ค. ละลายน้าตาลในน้า
ง. การลุกไหม้ของไม้ขีดไฟ
12
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5. การเปลี่ยนแปลงในข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
ก. การระเหิดของลูกเหม็น
ข. การละลายของเกลือในน้า
ค. การย่อยสลายสารอินทรีย์ในดิน
ง. การควบแน่นของไอน้าในอากาศ
6. ข้อใดเป็นปฏิกิริยาเคมีประเภทคายความร้อน
ก. การทาน้าแข็งแห้ง
ข. ลูกเหม็นตั้งทิ้งไว้มีขนาดเล็กลง
ค. การเผาผลาญอาหารในร่างกายมนุษย์
ง. ใส่โซดาไฟลงในน้าใช้มือจับภาชนะดูจะรู้สึกร้อน
7. การทาไวน์ เป็นการทาให้เกิดปฏิกิริยาระหว่างยีสต์กับอะไร
ก. น้าตาลจากผลไม้
ข. กรดในผลไม้
ค. เบสในผลไม้
ง. ออกซิเจนในอากาศ
8. ข้อใดถูกต้องเมื่อมีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น
ก. พลังงานจะคายออกมา
ข. พลังงานจะถูกดูดเข้าไป
ค. มีการเปลี่ยนแปลงสถานะเกิดขึ้น
ง. มีทั้งการให้พลังงานออกมาและการดูดพลังงานเข้าไป
9. ข้อใด ไม่ใช่ ปฏิกิริยาเคมี
ก. กินยาลดกรดเพื่อลดความเจ็บปวดจากโรคกระเพาะ
ข. ใช้ยาล้างห้องน้า ทาความสะอาดพื้นห้องน้า
ค. การเผาไหม้ของแก๊สบนเตาหุงต้ม
ง. การทานาเกลือ
10. เมื่อให้ความร้อนกับสารประกอบชนิดหนึ่ง อาจมีการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ได้ทั้งสิ้น ยกเว้นข้อใด
ก. มวลเพิ่มขึ้น
ข. มีสารประกอบชนิดใหม่เกิดขึ้น
ค. สลายตัวให้ธาตุ
ง. มีแก๊สเกิดขึ้น
***********************************************************************
13
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
14
 ตัวอย่างการบันทึกกิจกรรม 2.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
 เฉลยใบงานที่ 2.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
 เฉลยข้อสอบก่อนเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี
 เฉลยข้อสอบหลังเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ตัวอย่างการบันทึกกิจกรรม 2.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
สมาชิกในกลุ่ม
1. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
2. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
3. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
4. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
5. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
6. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
จุดประสงค์ของกิจกรรม
เมื่อทากิจกรรมนี้แล้ว นักเรียนควรจะสามารถทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแปลงที่สามารถสังเกต
ได้เมื่อมีปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น และยกตัวอย่างปฏิกิริยาเคมีบางปฏิกิริยา
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
รายการ ปริมาณ/กลุ่ม
1. ที่ตั้งหลอดทดลอง
2. หลอดทดลองขนาดกลาง
3. สารละลายเลด (II) ไนเตรต 0.1 mol/dm3
4. สารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์ 0.1 mol/dm3
5. น้าส้มสายชูกลั่น 5%
6. ผงฟู
7. กรดไฮโดรคลอริก 0.1 mol/dm3
8. สารละลายด่างทับทิม 0.1 mol/dm3
9. สารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต 0.1 mol/dm3
10. กรดซิตริก
1 อัน
8 หลอด
5 cm3
5 cm3
5 cm3
1 กรัม หรือ 1 ช้อนเบอร์ 1
5 cm3
5 cm3
5 cm3
1 กรัม หรือ 1 ช้อนเบอร์ 1
15
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ผลการทดลอง
คู่ของสารที่ผสมกัน
ผลการสังเกต
ก่อนผสม หลังผสม
1. โพแทสเซียมไอโอไดด์ + เลด (II) ไนเตรต สารละลายทั้ง 2 ชนิด
ใสไม่มีสี
มีตะกอนสีเหลืองเกิดขึ้น
2. ผงฟู + น้าส้มสายชูกลั่น - ผงฟูเป็นผงสีขาว
- น้าส้มสายชูเป็นของเหลว
ใสไม่มีสี
ได้สารละลายไม่มีสี
และมีฟองแก๊สเกิดขึ้น
3. ด่างทับทิม + กรดไฮโดรคลอริก - ด่างทับทิม มีสีม่วง
- สารละลายกรดไฮโดร
คลอริกใสไม่มีสี
สีของสารละลาย
จางหายไป
4. โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต + กรดซิตริก - สารละลายโซเดียม
ไฮโดรเจนคาร์บอเนต
ใสไม่มีสี
- กรดซิตริกเป็น
ของแข็งสีขาว
เกิดฟองแก๊สมีอุณหภูมิลดลง
อภิปรายผลการทดลอง
ในหลอดที่ 1 จะมีตะกอนสีเหลืองเกิดขึ้น
ในหลอดที่ 2 มีฟองแก๊สเกิดขึ้น
ในหลอดที่ 3 สีของสารละลายจางหายไป
ในหลอดที่ 4 มีฟองแก๊สเกิดขึ้นและอุณหภูมิของสารละลายลดลง
เมื่อวัดอุณหภูมิด้วยเทอร์มอมิเตอร์จะพบว่าในทุกๆ หลอดจะมีอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไปเล็กน้อย
สรุปผลการทดลอง
เมื่อสารเกิดปฏิกิริยาเคมี จะมีการเปลี่ยนแปลงที่สามารถสังเกตได้ ได้แก่ การเกิดตะกอน การเกิดฟอง
แก๊ส การเปลี่ยนแปลงสีของสารขณะเกิดปฏิกิริยา การเปลี่ยนแปลงอุณภูมิเช่นมีการเพิ่มขึ้นของ
อุณหภูมิหรือมีการลดลงของอุณหภูมิของสารเมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยา
การเปลี่ยนแปลงของสิ่งต่างๆ รอบตัวเรา มีการเปลี่ยนแปลงใดบ้างที่แสดงว่าสารเกิดปฏิกิริยา
เคมีและไม่เกิดปฏิกิริยาเคมี?
แนวคาตอบ การเปลี่ยนแปลงที่ไม่เกิดปฏิกิริยา เช่น การละลายของสาร การหลอมเหลว การตกผลึก
เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงที่เป็นการเกิดปฏิกิริยาเคมี เช่น การเผาไหม้ การรวมตัวกันของกรดกับ
เบส การเกิดสนิม การสุกของผลไม้ การหายใจ เป็นต้น
16
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เฉลยใบงานที่ 2.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้
1. การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ หมายความว่าอย่างไร
ตอบ การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวกับสมบัติทางกายภาพของสาร ไม่มีสารใหม่เกิดขึ้นภายหลังการ
เปลี่ยนแปลงองค์ประกอบและสมบัติทางเคมีของสารจะเหมือนเดิม แต่รูปร่างภายนอก อาจแตกต่างจากเดิม
2. การเปลี่ยนแปลงทางเคมี หมายความว่าอย่างไร
ตอบ การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี มีสารใหม่เกิดขึ้น โดยสารใหม่ที่เกิดขึ้น
มีองค์ประกอบและสมบัติทางเคมี แตกต่างไปจากเดิม
3. การเปลี่ยนแปลงของสารในชีวิตประจาวันการเปลี่ยนแปลงใดบ้างจัดเป็นการเปลี่ยนแปลง
ทางกายภาพและการเปลี่ยนแปลงใดบ้างจัดเป็นการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
ตอบ การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เช่น การระเหิดของลูกเหม็น การระเหยของน้า
การเปลี่ยนแปลงทางเคมี เช่น การเกิดสนิมเหล็ก การระเบิดของประทัด
4. จงยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพ และการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของสารที่นักเรียน
เคยพบในชีวิตประจาวันมาอย่างละ 3 ตัวอย่าง
ตอบ ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เช่น การกลายเป็นไอของน้า การระเหิดของลูกเหม็น
การหลอมเหลวของน้าแข็ง ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เช่น การเกิดสนิมของเหล็ก การบูดเน่าของ
อาหาร การที่อมข้าวที่เคี้ยวไว้ แล้วรู้สึกว่ามีรสหวานเกิดขึ้น
5. การเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้จัดเป็นการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพหรือการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เพราะ
เหตุใด
การเปลี่ยนแปลงของสาร ประเภทของการเปลี่ยนแปลง เหตุผล
http://www.siamchemi.com/สารกันบูด/
การเปลี่ยนแปลงทางเคมี มีกลิ่นและรสชาติที่เปลี่ยนแปลงไป
https://pixabay.com/th/สนิม-เหล็ก-สกรู-สิ่งที่แนบ
มา-โลหะ-861756/
การเปลี่ยนแปลงทางเคมี มีสนิมเหล็กสีแดงมาเกาะที่น๊อต
http://www.charpa.co.th/articles/rotten02.php
การเปลี่ยนแปลงทางเคมี มีราเกิดขึ้น
17
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงของสาร ประเภทของการเปลี่ยนแปลง เหตุผล
https://www.quora.com/What-is-the-reaction-
between-zinc-and-hydrochloric-acid
การเปลี่ยนแปลงทางเคมี มีฟองแก๊สเกิดขึ้น
https://pixabay.com/th/น้าแข็ง-ฤดูหนาว-เย็น-แช่
แข็ง-570500/
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เป็นการเปลี่ยนสถานะจากของแข็ง
เป็นของเหลว
https://pantip.com/topic/31343459
การเปลี่ยนแปลงทางเคมี มีความร้อนเกิดขึ้น และมีเปลวไฟสี
ต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับชนิดของโลหะที่
บรรจุอยู่ในพลุไฟ
http://www.blisby.com/blog/diy-coffee-filter-
roses/
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของ
กระดาษแต่ยังคงสมบัติของกระดาษ
เหมือนเดิม
http://www.took-d.com/product/19/เมล็ดป๊อป
คอร์น-พันธุ์ผีเสือ-ตรา-corona
การเปลี่ยนแปลงทางเคมี เมล็ดข้าวโพดเมื่อได้รับความร้อนเกิด
การเปลี่ยนแปลงสภาพเป็นป๊อบ
คอร์นไม่สามารถกลับคืนสภาพมา
เป็นเมล็ดข้าวโพดเหมือนเดิมได้อีก
18
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี
ข้อ ก ข ค ง
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9 
10 
19
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี
ข้อ ก ข ค ง
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9 
10 
20
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
บรรณานุกรม
กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด.
_____.(2552). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขึ้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
_____. เทคโนโลยี. (2554). คู่มือครู รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1.
พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
เสียง เชษฐศิริพงศ์. (2556). MINI วิทยาศาสตร์ ม.2. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สานักพิมพ์
พ.ศ. พัฒนา จากัด.
_____. (ม.ป.ป.). วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา จากัด.
ฝ่ายวิชาการสานักพิมพ์ภูมิบัณฑิต. (ม.ป.ป.). คู่มือ-เตรียมสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2 หลักสูตร 51.
กรุงเทพมหานคร: บริษัท ภูมิบัณฑิตการพิมพ์ จากัด.
ประดับ นาคแก้ว และดาวัลย์ เสริมสุขบุญ. (2555). วิทยาศาสตร์ ม.2. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร:
บริษัท สานักพิมพ์แม็ค จากัด.
รศ. ดร. ยุพา วรยศ และคนอื่น ๆ. (ม.ป.ป.). วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 2 . พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร:
บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด.
21

More Related Content

What's hot

แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์Kapom K.S.
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานแบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานkrupornpana55
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันPreeyapat Lengrabam
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์Maruko Supertinger
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีSutisa Tantikulwijit
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 

What's hot (20)

แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
Ijso biology 2561
Ijso biology 2561Ijso biology 2561
Ijso biology 2561
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานแบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 

Similar to เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี

เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีPreeyapat Lengrabam
 
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีPreeyapat Lengrabam
 
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยเล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยPreeyapat Lengrabam
 
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืน
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืนกลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืน
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืนfreelance
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
P57176810959
P57176810959P57176810959
P57176810959mamka
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดลอัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดลbuabun
 

Similar to เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี (11)

เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยเล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
 
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศแบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
 
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืน
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืนกลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืน
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืน
 
Hydroelectric power
Hydroelectric powerHydroelectric power
Hydroelectric power
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
 
P57176810959
P57176810959P57176810959
P57176810959
 
บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดลอัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
 
Sheet rate
Sheet rateSheet rate
Sheet rate
 

More from Preeyapat Lengrabam

7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223Preeyapat Lengrabam
 
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติPreeyapat Lengrabam
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซกPreeyapat Lengrabam
 
2 กฎของบอยล์
2 กฎของบอยล์2 กฎของบอยล์
2 กฎของบอยล์Preeyapat Lengrabam
 
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...Preeyapat Lengrabam
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีPreeyapat Lengrabam
 

More from Preeyapat Lengrabam (10)

7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
 
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 
2 กฎของบอยล์
2 กฎของบอยล์2 กฎของบอยล์
2 กฎของบอยล์
 
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 

เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี

  • 1.
  • 2. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี คานา เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเรียนรู้สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสีคิ้ว “สวัสดิ์ผดุงวิทยา” ซึ่งเอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้นี้ มีจานวน 6 เล่ม เล่มที่ 1 เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่มที่ 2 เรื่อง สมการเคมี เล่มที่ 3 เรื่อง มวล พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่มที่ 4 เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่มที่ 5 เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน เล่มที่ 6 เรื่อง การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้นี้จัดทาขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกให้ครูและนักเรียน สามารถนาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ในระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ซึ่งประกอบไป ด้วยแบบทดสอบก่อน - หลังเรียน บันทึกกิจกรรมการทดลอง ใบงานและใบความรู้ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า จะเป็นประโยชน์แก่ครูผู้สอน นักเรียนหรือบุคคลที่สนใจทั่วไป ปรีช์ญภัทร เล่งระบา ก
  • 3. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี สารบัญ หน้า คานา ก สารบัญ ข แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี 1 กิจกรรม 2.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี 3 ใบความรู้ที่ 2.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี 7 ใบงานที่ 2.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี 10 แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี 12 ภาคผนวก 14  ตัวอย่างการบันทึกกิจกรรม 2.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี 15  เฉลยใบงานที่ 2.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี 17  เฉลยข้อสอบก่อนเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี 19  เฉลยข้อสอบหลังเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี 20 บรรณานุกรม 21 ข
  • 4. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี คาชี้แจง 1. แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที 2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ ************************************************************************************************** 1. การเปลี่ยนแปลงในข้อใดจัดว่ามีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีเกิดขึ้น ก. เกิดตะกอน ข. เกิดฟองแก๊ส ค. มีสีเปลี่ยนแปลงไป ง. สังเกตได้จากทุกข้อ 2. การเปลี่ยนแปลงในข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ก. การระเหิดของลูกเหม็น ข. การละลายของเกลือในน้า ค. การย่อยสลายสารอินทรีย์ในดิน ง. การควบแน่นของไอน้าในอากาศ 3. ข้อใดไม่ใช่การเกิดปฏิกิริยาเคมี ก. การผลิตน้าโซดา ข. การเติมน้าตาลทรายลงในกาแฟดา ค. การมีกลิ่นหืนของน้ามันเมื่อเปิดฝาขวดทิ้งไว้ ง. การเผากระดาษเงินกระดาษทองในวันตรุษจีน 4. ข้อใดเกิดปฏิกิริยาเคมี 1. การทาทิงเจอร์ไอโอดีน โดยผสมไอโอดีนกับเอทานอล 2. การเหม็นหืนของน้ามันเมื่อทิ้งไว้นานๆ 3. การผลิตน้าอัดลมและน้าโซดา 4. บ่มมะม่วงดิบจนเป็นมะม่วงสุก ก. 1 2 3 ข. 2 3 4 ค. 1 2 4 ง. 1 3 4 5. ข้อใดที่ไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงทางเคมี ก. กล้วยสุก ข. การจุดประทัด ค. ละลายน้าตาลในน้า ง. การลุกไหม้ของไม้ขีดไฟ 1
  • 5. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี 6. เมื่อให้ความร้อนกับสารประกอบชนิดหนึ่ง อาจมีการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ได้ทั้งสิ้น ยกเว้นข้อใด ก. มวลเพิ่มขึ้น ข. มีสารประกอบชนิดใหม่เกิดขึ้น ค. สลายตัวให้ธาตุ ง. มีแก๊สเกิดขึ้น 7. ข้อใด ไม่ใช่ ปฏิกิริยาเคมี ก. กินยาลดกรดเพื่อลดความเจ็บปวดจากโรคกระเพาะ ข. ใช้ยาล้างห้องน้า ทาความสะอาดพื้นห้องน้า ค. การเผาไหม้ของแก๊สบนเตาหุงต้ม ง. การทานาเกลือ 8. ข้อใดถูกต้องเมื่อมีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น ก. พลังงานจะคายออกมา ข. พลังงานจะถูกดูดเข้าไป ค. มีการเปลี่ยนแปลงสถานะเกิดขึ้น ง. มีทั้งการให้พลังงานออกมาและการดูดพลังงานเข้าไป 9. ข้อใดเป็นปฏิกิริยาเคมีประเภทคายความร้อน ก. การทาน้าแข็งแห้ง ข. ลูกเหม็นตั้งทิ้งไว้มีขนาดเล็กลง ค. การเผาผลาญอาหารในร่างกายมนุษย์ ง. ใส่โซดาไฟลงในน้าใช้มือจับภาชนะดูจะรู้สึกร้อน 10. การทาไวน์ เป็นการทาให้เกิดปฏิกิริยาระหว่างยีสต์กับอะไร ก. น้าตาลจากผลไม้ ข. กรดในผลไม้ ค. เบสในผลไม้ ง. ออกซิเจนในอากาศ *********************************************************************** 2
  • 6. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี กิจกรรม 2.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี สมาชิกในกลุ่ม 1. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 2. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 3. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 4. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 5. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 6. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... จุดประสงค์ของกิจกรรม ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแปลงที่สามารถสังเกตได้ เมื่อมีปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น และยกตัวอย่าง ปฏิกิริยาเคมีบางปฏิกิริยา วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี รายการ ปริมาณ/กลุ่ม 1. ที่ตั้งหลอดทดลอง 2. หลอดทดลองขนาดกลาง 3. สารละลายเลด (II) ไนเตรต 0.1 mol/dm3 4. สารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์ 0.1 mol/dm3 5. น้าส้มสายชูกลั่น 5% 6. ผงฟู 7. กรดไฮโดรคลอริก 0.1 mol/dm3 8. สารละลายด่างทับทิม 0.1 mol/dm3 9. สารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต 0.1 mol/dm3 10. กรดซิตริก 1 อัน 8 หลอด 5 cm3 5 cm3 5 cm3 1 กรัม หรือ 1 ช้อนเบอร์ 1 5 cm3 5 cm3 5 cm3 1 กรัม หรือ 1 ช้อนเบอร์ 1 3
  • 7. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี วิธีทดลอง 1. นาหลอดทดลองขนาดกลางมา 4 หลอด ทาการทดลองในแต่ละหลอดตามข้อ 2-5 2. หลอดที่ 1 ใส่สารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์ 2 cm3 ลงในหลอดทดลอง ใช้มือจับหลอดทดลองไว้ ตลอด จากนั้นหยดสารละลายเลด(II)ไนเตรตทีละหยดจนครบ 5 หยด สังเกตลักษณะของสาร และ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งก่อนและหลังการเติมสาร บันทึกผล 3. หลอดที่ 2 ใส่ผงฟู 1 ช้อนเบอร์ 1 ลงในหลอดทดลอง ใช้มือจับหลอดทดลองไว้ตลอด จากนั้นหยด น้าส้มสายชูลงไป 20 หยด สังเกตลักษณะของสาร และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งก่อนและหลังการ เติมสาร บันทึกผล 4. หลอดที่ 3 ใส่สารละลายด่างทับทิมเจือจาง 2 cm3 ลงในหลอดทดลอง ใช้มือจับหลอดทดลองไว้ตลอด จากนั้นหยดกรดไฮโดรคลอริกทีละหยดจนครบ 20 หยด สังเกตลักษณะของสาร และการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งก่อนและหลังการเติมสาร บันทึกผล 5. หลอดที่ 4 ใส่สารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต 2 cm3 ลงในหลอดทดลอง ใช้มือจับหลอด ทดลองไว้ตลอด จากนั้นเติมเกล็ดของกรดซิตริกประมาณครึ่งช้อนเบอร์ 1 สังเกตลักษณะของสาร และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งก่อนและหลังการเติมสาร บันทึกผล 4
  • 8. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ผลการทดลอง คู่ของสารที่ผสมกัน ผลการสังเกต ก่อนผสม หลังผสม 1. โพแทสเซียมไอโอไดด์ + เลด (II) ไนเตรต ………………………………………. ………………………………………. ………………………………………. ……………………………………….. ……………………………………….. ……………………………………….. ………………………………………. ………………………………………. ………………………………………. ……………………………………….. ……………………………………….. ……………………………………….. 2. ผงฟู + น้าส้มสายชูกลั่น ………………………………………. ………………………………………. ………………………………………. ……………………………………….. ……………………………………….. ……………………………………….. ………………………………………. ………………………………………. ………………………………………. ……………………………………….. ……………………………………….. ……………………………………….. 3. ด่างทับทิม + กรดไฮโดรคลอริก ………………………………………. ………………………………………. ………………………………………. ……………………………………….. ……………………………………….. ……………………………………….. ………………………………………. ………………………………………. ………………………………………. ……………………………………….. ……………………………………….. ……………………………………….. 4. โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต + กรดซิตริก ………………………………………. ………………………………………. ………………………………………. ……………………………………….. ……………………………………….. ……………………………………….. ………………………………………. ………………………………………. ………………………………………. ……………………………………….. ……………………………………….. ……………………………………….. 5
  • 9. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี อภิปรายผลการทดลอง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สรุปผลการทดลอง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… การเปลี่ยนแปลงของสิ่งต่างๆ รอบตัวเรา มีการเปลี่ยนแปลงใดบ้างที่แสดงว่าสารเกิดปฏิกิริยา เคมีและไม่เกิดปฏิกิริยาเคมี? ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6
  • 10. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ใบความรู้ที่ 2.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยาเคมี (Chemical reaction) คือ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับสารแล้วทาให้ได้สารใหม่ที่ มีสมบัติเปลี่ยนไปจากเดิม เช่น การเผาไหม้เชื้อเพลิงต่าง ๆ การสึกกร่อนชองโลหะ การบูดเน่าของอาหาร การย่อยอาหารในกระเพาะอาหารและลาไส้เล็ก การเกิดฝนกรด https://pixabay.com/th//กองไฟ-เปลวไฟ-ไม้-การเผาไหม้-1354472/ http://www.satriwit3.ac.th/external_newsblog.php?links=1236 http://aplus.com/a/awesome-office-supplies?no_monetization=true 7
  • 11. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี เมื่อมีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น สามารถสังเกตได้จากหนึ่งหรือหลายข้อต่อไปนี้ 1. มีฟองแก๊ส เช่น เมื่อจุ่มลวดแมกนีเซียมลงในกรดไฮโดรคลอริก เกิดฟองแก๊สไฮโดรเจน 2. มีตะกอน เมื่อสารละลายซิลเวอร์ไนเตรต เกิดปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริก เกิดตะกอนสีขาวของซิล เวอร์คลอไรด์ 3. สีของสารเปลี่ยนไป เช่น แก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์และแก๊สออกซิเจน ไม่มีสี แต่เมื่อเกิดปฏิกิริยาเคมี ได้แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ที่มีสีน้าตาลแดง 4. อุณหภูมิเพิ่มขึ้นหรือลดลง 5. มีกลิ่นเกิดขึ้น http://www.chem.uiuc.edu/webfunchem/MgHClexp/MgHClExp6.htm http://mrsaintsscience.weebly.com/chapters-9--11--chemical-reactions--stoichiometry.html ปฏิกิริยาเคมีบางปฏิกิริยาเกิดเร็วมาก เช่น การเผาไหม้ของกระดาษ , การระเบิด และ บางปฏิกิริยาเกิดช้ามาก เช่น การเกิดสนิมของเหล็ก การเกิดหินงอกหินย้อย http://album.sanook.com/files/2430743 http://board.postjung.com/606235.html 8
  • 12. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ในปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นอาจมีการดูดหรือ คายพลังงานให้กับสิ่งแวดล้อม โดยเมื่อเกิดปฏิกิริยาจนได้ สารใหม่แล้ว จะทาให้สารใหม่กลับคืนเป็นสารเดิมก่อนทาปฏิกิริยาได้ยากหรือทาไม่ได้เลย ในปฏิกิริยาเคมีจะ ประกอบด้วยสาร 2 ชนิด คือ 1. สารตั้งต้น คือ สารที่มีอยู่หรือสารที่นามาทาปฏิกิริยาเคมี 2. ผลิตภัณฑ์ คือ สารที่เกิดขึ้นหลังจากปฏิกิริยาเคมีสิ้นสุดลง 9 ภาพจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.2 เล่ม 2 บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท.จากัด
  • 13. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ใบงานที่ 2.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 1. การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ หมายความว่าอย่างไร ตอบ 2. การเปลี่ยนแปลงทางเคมี หมายความว่าอย่างไร ตอบ 3. การเปลี่ยนแปลงของสารในชีวิตประจาวันการเปลี่ยนแปลงใดบ้างจัดเป็นการเปลี่ยนแปลง ทางกายภาพและการเปลี่ยนแปลงใดบ้างจัดเป็นการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ตอบ 4. จงยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพ และการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของสารที่นักเรียน เคยพบในชีวิตประจาวันมาอย่างละ 3 ตัวอย่าง ตอบ 5. การเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้จัดเป็นการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพหรือการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เพราะ เหตุใด การเปลี่ยนแปลงของสาร ประเภทของการเปลี่ยนแปลง เหตุผล http://www.siamchemi.com/สารกันบูด/ https://pixabay.com/th/สนิม-เหล็ก-สกรู-สิ่งที่แนบ มา-โลหะ-861756/ http://www.charpa.co.th/articles/rotten02.php 10
  • 14. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี การเปลี่ยนแปลงของสาร ประเภทของการเปลี่ยนแปลง เหตุผล https://www.quora.com/What-is-the-reaction- between-zinc-and-hydrochloric-acid https://pixabay.com/th/น้าแข็ง-ฤดูหนาว-เย็น-แช่ แข็ง-570500/ https://pantip.com/topic/31343459 http://www.blisby.com/blog/diy-coffee-filter- roses/ http://www.took-d.com/product/19/เมล็ดป๊อป คอร์น-พันธุ์ผีเสือ-ตรา-corona 11
  • 15. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี แบบทดสอบหลังเรียนเรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี คาชี้แจง 1. แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที 2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ ************************************************************************************************** 1. ข้อใดเกิดปฏิกิริยาเคมี 1. การทาทิงเจอร์ไอโอดีน โดยผสมไอโอดีนกับเอทานอล 2. การเหม็นหืนของน้ามันเมื่อทิ้งไว้นานๆ 3. การผลิตน้าอัดลมและน้าโซดา 4. บ่มมะม่วงดิบจนเป็นมะม่วงสุก ก. 1 2 3 ข. 2 3 4 ค. 1 2 4 ง. 1 3 4 2. ข้อใดไม่ใช่การเกิดปฏิกิริยาเคมี ก. การผลิตน้าโซดา ข. การเติมน้าตาลทรายลงในกาแฟดา ค. การมีกลิ่นหืนของน้ามันเมื่อเปิดฝาขวดทิ้งไว้ ง. การเผากระดาษเงินกระดาษทองในวันตรุษจีน 3. การเปลี่ยนแปลงในข้อใดจัดว่ามีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีเกิดขึ้น ก. เกิดตะกอน ข. เกิดฟองแก๊ส ค. มีสีเปลี่ยนแปลงไป ง. สังเกตได้จากทุกข้อ 4. ข้อใดที่ไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงทางเคมี ก. กล้วยสุก ข. การจุดประทัด ค. ละลายน้าตาลในน้า ง. การลุกไหม้ของไม้ขีดไฟ 12
  • 16. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี 5. การเปลี่ยนแปลงในข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ก. การระเหิดของลูกเหม็น ข. การละลายของเกลือในน้า ค. การย่อยสลายสารอินทรีย์ในดิน ง. การควบแน่นของไอน้าในอากาศ 6. ข้อใดเป็นปฏิกิริยาเคมีประเภทคายความร้อน ก. การทาน้าแข็งแห้ง ข. ลูกเหม็นตั้งทิ้งไว้มีขนาดเล็กลง ค. การเผาผลาญอาหารในร่างกายมนุษย์ ง. ใส่โซดาไฟลงในน้าใช้มือจับภาชนะดูจะรู้สึกร้อน 7. การทาไวน์ เป็นการทาให้เกิดปฏิกิริยาระหว่างยีสต์กับอะไร ก. น้าตาลจากผลไม้ ข. กรดในผลไม้ ค. เบสในผลไม้ ง. ออกซิเจนในอากาศ 8. ข้อใดถูกต้องเมื่อมีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น ก. พลังงานจะคายออกมา ข. พลังงานจะถูกดูดเข้าไป ค. มีการเปลี่ยนแปลงสถานะเกิดขึ้น ง. มีทั้งการให้พลังงานออกมาและการดูดพลังงานเข้าไป 9. ข้อใด ไม่ใช่ ปฏิกิริยาเคมี ก. กินยาลดกรดเพื่อลดความเจ็บปวดจากโรคกระเพาะ ข. ใช้ยาล้างห้องน้า ทาความสะอาดพื้นห้องน้า ค. การเผาไหม้ของแก๊สบนเตาหุงต้ม ง. การทานาเกลือ 10. เมื่อให้ความร้อนกับสารประกอบชนิดหนึ่ง อาจมีการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ได้ทั้งสิ้น ยกเว้นข้อใด ก. มวลเพิ่มขึ้น ข. มีสารประกอบชนิดใหม่เกิดขึ้น ค. สลายตัวให้ธาตุ ง. มีแก๊สเกิดขึ้น *********************************************************************** 13
  • 17. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี 14  ตัวอย่างการบันทึกกิจกรรม 2.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี  เฉลยใบงานที่ 2.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี  เฉลยข้อสอบก่อนเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี  เฉลยข้อสอบหลังเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี
  • 18. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ตัวอย่างการบันทึกกิจกรรม 2.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี สมาชิกในกลุ่ม 1. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 2. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 3. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 4. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 5. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 6. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... จุดประสงค์ของกิจกรรม เมื่อทากิจกรรมนี้แล้ว นักเรียนควรจะสามารถทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแปลงที่สามารถสังเกต ได้เมื่อมีปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น และยกตัวอย่างปฏิกิริยาเคมีบางปฏิกิริยา วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี รายการ ปริมาณ/กลุ่ม 1. ที่ตั้งหลอดทดลอง 2. หลอดทดลองขนาดกลาง 3. สารละลายเลด (II) ไนเตรต 0.1 mol/dm3 4. สารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์ 0.1 mol/dm3 5. น้าส้มสายชูกลั่น 5% 6. ผงฟู 7. กรดไฮโดรคลอริก 0.1 mol/dm3 8. สารละลายด่างทับทิม 0.1 mol/dm3 9. สารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต 0.1 mol/dm3 10. กรดซิตริก 1 อัน 8 หลอด 5 cm3 5 cm3 5 cm3 1 กรัม หรือ 1 ช้อนเบอร์ 1 5 cm3 5 cm3 5 cm3 1 กรัม หรือ 1 ช้อนเบอร์ 1 15
  • 19. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ผลการทดลอง คู่ของสารที่ผสมกัน ผลการสังเกต ก่อนผสม หลังผสม 1. โพแทสเซียมไอโอไดด์ + เลด (II) ไนเตรต สารละลายทั้ง 2 ชนิด ใสไม่มีสี มีตะกอนสีเหลืองเกิดขึ้น 2. ผงฟู + น้าส้มสายชูกลั่น - ผงฟูเป็นผงสีขาว - น้าส้มสายชูเป็นของเหลว ใสไม่มีสี ได้สารละลายไม่มีสี และมีฟองแก๊สเกิดขึ้น 3. ด่างทับทิม + กรดไฮโดรคลอริก - ด่างทับทิม มีสีม่วง - สารละลายกรดไฮโดร คลอริกใสไม่มีสี สีของสารละลาย จางหายไป 4. โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต + กรดซิตริก - สารละลายโซเดียม ไฮโดรเจนคาร์บอเนต ใสไม่มีสี - กรดซิตริกเป็น ของแข็งสีขาว เกิดฟองแก๊สมีอุณหภูมิลดลง อภิปรายผลการทดลอง ในหลอดที่ 1 จะมีตะกอนสีเหลืองเกิดขึ้น ในหลอดที่ 2 มีฟองแก๊สเกิดขึ้น ในหลอดที่ 3 สีของสารละลายจางหายไป ในหลอดที่ 4 มีฟองแก๊สเกิดขึ้นและอุณหภูมิของสารละลายลดลง เมื่อวัดอุณหภูมิด้วยเทอร์มอมิเตอร์จะพบว่าในทุกๆ หลอดจะมีอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไปเล็กน้อย สรุปผลการทดลอง เมื่อสารเกิดปฏิกิริยาเคมี จะมีการเปลี่ยนแปลงที่สามารถสังเกตได้ ได้แก่ การเกิดตะกอน การเกิดฟอง แก๊ส การเปลี่ยนแปลงสีของสารขณะเกิดปฏิกิริยา การเปลี่ยนแปลงอุณภูมิเช่นมีการเพิ่มขึ้นของ อุณหภูมิหรือมีการลดลงของอุณหภูมิของสารเมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยา การเปลี่ยนแปลงของสิ่งต่างๆ รอบตัวเรา มีการเปลี่ยนแปลงใดบ้างที่แสดงว่าสารเกิดปฏิกิริยา เคมีและไม่เกิดปฏิกิริยาเคมี? แนวคาตอบ การเปลี่ยนแปลงที่ไม่เกิดปฏิกิริยา เช่น การละลายของสาร การหลอมเหลว การตกผลึก เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงที่เป็นการเกิดปฏิกิริยาเคมี เช่น การเผาไหม้ การรวมตัวกันของกรดกับ เบส การเกิดสนิม การสุกของผลไม้ การหายใจ เป็นต้น 16
  • 20. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี เฉลยใบงานที่ 2.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 1. การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ หมายความว่าอย่างไร ตอบ การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวกับสมบัติทางกายภาพของสาร ไม่มีสารใหม่เกิดขึ้นภายหลังการ เปลี่ยนแปลงองค์ประกอบและสมบัติทางเคมีของสารจะเหมือนเดิม แต่รูปร่างภายนอก อาจแตกต่างจากเดิม 2. การเปลี่ยนแปลงทางเคมี หมายความว่าอย่างไร ตอบ การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี มีสารใหม่เกิดขึ้น โดยสารใหม่ที่เกิดขึ้น มีองค์ประกอบและสมบัติทางเคมี แตกต่างไปจากเดิม 3. การเปลี่ยนแปลงของสารในชีวิตประจาวันการเปลี่ยนแปลงใดบ้างจัดเป็นการเปลี่ยนแปลง ทางกายภาพและการเปลี่ยนแปลงใดบ้างจัดเป็นการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ตอบ การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เช่น การระเหิดของลูกเหม็น การระเหยของน้า การเปลี่ยนแปลงทางเคมี เช่น การเกิดสนิมเหล็ก การระเบิดของประทัด 4. จงยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพ และการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของสารที่นักเรียน เคยพบในชีวิตประจาวันมาอย่างละ 3 ตัวอย่าง ตอบ ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เช่น การกลายเป็นไอของน้า การระเหิดของลูกเหม็น การหลอมเหลวของน้าแข็ง ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เช่น การเกิดสนิมของเหล็ก การบูดเน่าของ อาหาร การที่อมข้าวที่เคี้ยวไว้ แล้วรู้สึกว่ามีรสหวานเกิดขึ้น 5. การเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้จัดเป็นการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพหรือการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เพราะ เหตุใด การเปลี่ยนแปลงของสาร ประเภทของการเปลี่ยนแปลง เหตุผล http://www.siamchemi.com/สารกันบูด/ การเปลี่ยนแปลงทางเคมี มีกลิ่นและรสชาติที่เปลี่ยนแปลงไป https://pixabay.com/th/สนิม-เหล็ก-สกรู-สิ่งที่แนบ มา-โลหะ-861756/ การเปลี่ยนแปลงทางเคมี มีสนิมเหล็กสีแดงมาเกาะที่น๊อต http://www.charpa.co.th/articles/rotten02.php การเปลี่ยนแปลงทางเคมี มีราเกิดขึ้น 17
  • 21. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี การเปลี่ยนแปลงของสาร ประเภทของการเปลี่ยนแปลง เหตุผล https://www.quora.com/What-is-the-reaction- between-zinc-and-hydrochloric-acid การเปลี่ยนแปลงทางเคมี มีฟองแก๊สเกิดขึ้น https://pixabay.com/th/น้าแข็ง-ฤดูหนาว-เย็น-แช่ แข็ง-570500/ การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เป็นการเปลี่ยนสถานะจากของแข็ง เป็นของเหลว https://pantip.com/topic/31343459 การเปลี่ยนแปลงทางเคมี มีความร้อนเกิดขึ้น และมีเปลวไฟสี ต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับชนิดของโลหะที่ บรรจุอยู่ในพลุไฟ http://www.blisby.com/blog/diy-coffee-filter- roses/ การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของ กระดาษแต่ยังคงสมบัติของกระดาษ เหมือนเดิม http://www.took-d.com/product/19/เมล็ดป๊อป คอร์น-พันธุ์ผีเสือ-ตรา-corona การเปลี่ยนแปลงทางเคมี เมล็ดข้าวโพดเมื่อได้รับความร้อนเกิด การเปลี่ยนแปลงสภาพเป็นป๊อบ คอร์นไม่สามารถกลับคืนสภาพมา เป็นเมล็ดข้าวโพดเหมือนเดิมได้อีก 18
  • 22. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี ข้อ ก ข ค ง 1  2  3  4  5  6  7  8  9  10  19
  • 23. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี ข้อ ก ข ค ง 1  2  3  4  5  6  7  8  9  10  20
  • 24. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด. _____.(2552). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขึ้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. _____. เทคโนโลยี. (2554). คู่มือครู รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. เสียง เชษฐศิริพงศ์. (2556). MINI วิทยาศาสตร์ ม.2. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา จากัด. _____. (ม.ป.ป.). วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา จากัด. ฝ่ายวิชาการสานักพิมพ์ภูมิบัณฑิต. (ม.ป.ป.). คู่มือ-เตรียมสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2 หลักสูตร 51. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ภูมิบัณฑิตการพิมพ์ จากัด. ประดับ นาคแก้ว และดาวัลย์ เสริมสุขบุญ. (2555). วิทยาศาสตร์ ม.2. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สานักพิมพ์แม็ค จากัด. รศ. ดร. ยุพา วรยศ และคนอื่น ๆ. (ม.ป.ป.). วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 2 . พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด. 21