SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 18
สังคมก้มหน้า
: สังคมที่มองไปทางไหนก็มีแต่คนก้มหน้าเล่นอุปกรณ์พกพาเคลื่อนที่
อาทิเช่น มือถือ(Mobile) แฟ็บเล็ต(Phablet) แท็ปเล็ต(Tablet) เป็นต้น
ชี้แจง
 เนื้อหาต่อไปนี้ แม้ว่าจะใช้คาว่าติดโทรศัพท์มือถือหรือสมาร์ทโฟน แต่ขอให้เข้าใจว่าครอบคลุมถึง
อุปกรณ์พกพาเคลื่อนที่ทุกชนิดที่ต่อเน็ตได้
 เหตุที่ใช้คาว่าติดโทรศัพท์มือถือเป็นหลักเพราะถือว่าเป็นพฤติกรรมที่เห็นได้มากที่สุดในสังคมก้ม
หน้า เมื่อพูดก็เห็นภาพทันที
 ซึ่งพฤติกรรมการติดอุปกรณ์พกพาอย่างอื่นเช่น แฟ็บเล็ต หรือ แท็ปเล็ต ก็มีพฤติกรรมไม่ต่างจาก
การติดโทรศัพท์มือถือนั่นเอง จึงขอเรียกสั้นๆ โดยรวมว่าเป็นการติดโทรศัพท์มือถือ
สังคมก้มหน้า
ภาพที่เห็นได้ในชีวิตประจาวัน
เกณฑ์การวินิจฉัยว่าเข้าข่ายการเสพติด
โทรศัพท์มือถือ
 พกโทรศัพท์มือถือติดตัวตลอดเวลา ต้องวางโทรศัพท์ไว้ใกล้ๆ ตัว และจะรู้สึกกังวลใจมากถ้ามือถือ
ไม่ได้อยู่กับตัว
 หมกมุ่นอยู่กับการเช็คข้อความ อัพเดทข้อมูลในสมาร์ทโฟนอยู่ตลอดเวลา ชอบหยิบขึ้นมาดูบ่อย ๆ
แม้ไม่มีเรื่องด่วน เพราะห้ามใจไม่ไหว
 เมื่อมีเสียงเตือนเข้ามา คุณจะวางภารกิจตรงหน้าทั้งหมด เพื่อเช็คข้อความในโทรศัพท์ไม่งั้นจะไม่มี
สมาธิ ลุกลี้ลุกลน กระวนกระวายใจ จนทาภารกิจที่อยู่ตรงหน้าต่อไม่ได้
เกณฑ์การวินิจฉัยว่าเข้าข่ายการเสพติด
โทรศัพท์มือถือ
 ใช้เวลาพูดคุยกับเพื่อนในโลกออนไลน์มากกว่าคุยกับเพื่อนที่อยู่ตรงหน้า
 ลองตั้งใจจะไม่เล่นมือถือสัก 1 ชั่วโมง แต่ไม่สามารถทาได้ต้องหยิบมือถือขึ้นมาเล่นทุกทีสิ
 หมกมุ่นกับการแชร์ชีวิตส่วนตัวลงอินเตอร์เน็ต พฤติกรรม อาทิเช่น ต้องถ่ายรูปอาหารก่อนกิน เวลา
ทะเลาะกับเพื่อนหรือแฟนต้องโพสลงโซเชียลมีเดีย ไปไหนจะต้องเช็คอินสถานที่ เป็นต้น
 ชอบเล่นโทรศัพท์เป็นประจาในขณะที่ทากิจกรรมอื่นในชีวิตประจาวันไปด้วย เช่น ระหว่างทาน
ข้าว เข้าห้องน้า ขับรถ หรือระหว่างนั่งรอรถเมล์ ขึ้นรถไฟฟ้า
เกณฑ์การวินิจฉัยว่าเข้าข่ายการเสพติด
โทรศัพท์มือถือ
 ตื่นนอนปุ๊บก็หยิบโทรศัพท์ขึ้นมาเช็คข้อความปั๊บ พอก่อนจะนอน ก็ยังเล่นโทรศัพท์ เล่นเกมส์
 หากวางมือถือไว้ผิดที่ หรือหาไม่เจอ จะรู้สึกตื่นตระหนกตกใจมาก
 กลัวโทรศัพท์ตัวเองหาย แม้ว่าจะวางอยู่ในที่ที่ปลอดภัยแล้วก็ตาม
 ไม่เคยปิดโทรศัพท์มือถือเลย
 วางโทรศัพท์ไม่ได้แม้ขณะกาลังชาร์จแบตโทรศัพท์
 การที่พ่อแม่ขาดเวลาในการเอาใจใส่
 การที่ครอบครัวไม่มีเวลาให้แก่กัน จนสมาชิกในครอบครัวเกิดความรู้สึกเหงา รู้สึกไร้ตัวตนทางสังคม ผลักดันให้บุคคล
นั้นๆเลือกจะแก้เหงาผ่านทางสื่อโซเชียลเน็ตเวิร์ค
 สังคมยุคโลกาภิวัตน์และเทคโนโลยีทาให้ผู้คนต้องการเสพข่าวสารอย่างรวดเร็ว ตลอดเวลา ทุกหนทุกแห่ง
 อยากมีตัวตนบนอินเตอร์เน็ตเพราะจะทาให้รู้สึกเหมือนกับว่าตัวเองเป็นคนสาคัญในชีวิตจริงไปด้วย
 การปรับตัวให้เข้ากับสังคมของมนุษย์
 เป็นแหล่งบันเทิงพกพาชั้นเยี่ยม แก้เบื่อและคลายเหงาได้ทุกที่
 ด้วยเทคโนโลยีในปัจจุบัน ทาให้มือถือให้ความสะดวกสบายในการใช้บริการต่างๆเพียงแค่ปลายนิ้ว
สาเหตุของการเสพติดมือถือ
ผลเสียที่เกิดขึ้น
 ทาให้เกิดความสัมพันธ์ที่ไม่ลงรอย หรือมีปฏิสัมพันธ์กับคนรอบข้างน้อยลงไปส่งผลกระทบต่อความ
รับผิดชอบหน้าที่ การงาน การเรียน
 เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ เพราะมัวสนใจอยู่แต่กับสิ่งที่อยู่ตรงหน้า
 สร้างนิสัยเสียให้ต้องดูมือถือเป็นประจาทั้งๆที่ไม่มีเรื่องเร่งด่วน ห้ามตัวเองไม่ได้
 ทาให้เกิดความเครียด ความวิตกกังวล เวลาที่ไม่ได้ใช้จะรู้สึกไม่สบายใจ
 เสี่ยงต่อการที่จะมีพฤติกรรมเสพติดด้านอื่นๆ เช่น ติดเกม, Social Network
 ส่งผลต่อสุขภาพ เสี่ยงต่อโรคต่างๆ เช่น นิ้วล็อก จอประสาทตาเสื่อม ปวดเมื่อยคอบ่า ไหล่ หมอนรอง
กระดูกเสื่อมสภาพก่อนวัยอันควร โรคอ้วน
วิธีป้ องกัน แก้ไขอาการติดมือถือสาหรับตัวเอง
 ลองตั้งค่าการใช้งานโซเชียลมีเดียและอีเมลให้ต้องกรอก Username และ Password ทุกครั้งที่เข้าใช้งาน เพื่อ
ไม่ให้คุณเข้าถึงมันได้ง่ายๆ แบบอัตโนมัติทุกครั้ง
 พยายามใช้มือถือเท่าที่จาเป็น และหากิจกรรมอื่นทดแทน เช่น อ่านหนังสือ ออกกาลังกาย
 ถ้ารู้สึกเหงา ให้หาเพื่อนคุยแทนการใช้โทรศัพท์ เช่น คุยกับคนในบ้าน เพื่อนร่วมงาน นัดเพื่อนมาเจอกัน อย่าหมกมุ่น
อยู่กับการสนทนาผ่านหน้าจอโลกไซเบอร์
 ตั้งกฎว่าจะไม่แตะต้องมือถือภายในเวลาที่กาหนด เช่น 30 นาที หรือ 1 ชั่วโมง แล้วค่อย ๆ เพิ่มเวลาห่างจากมือถือให้
ได้มากขึ้น
 ลองกาหนดให้ห้องนอนเป็นเขตปลอดมือถือ แล้วทาตามให้ได้จะได้ไม่ต้องหยิบมือถือมาเล่นทันทีตั้งแต่ลืมตาตื่น
หรือผล็อยหลับไปกับมือถือที่เล่นก่อนนอน
ตัวอย่างการแก้ปัญหาในต่างประเทศ
 ที่เมือง Fort Lee ในรัฐ New Jersey ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ออกข้อบังคับใหม่ห้ามคนเดินถนนทั่วไป เล่นหรือพิมพ์
โทรศัพท์มือถือ ใครฝ่าฝืนก็จะโดนโทษปรับทันที $85 หรือราว 2,550 บาท
 อย่างไรก็ตามจากการสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ตารวจภายในเมือง Fort Lee ปรากฏว่าพวกเขาระบุเป็นเสียงเดียวกันว่าผู้ฝ่าฝืนกฏ
ส่วนใหญ่ยินยอมพร้อมที่ จะจ่ายค่าปรับแต่ยืนยันว่าจะไม่หยุดการเดินไปเล่นมือถือไปของตัวเองแน่นอน
ตัวอย่างการแก้ปัญหาในต่างประเทศ
 ฟุตบาทใหม่ในย่านท่องเที่ยวแห่งหนึ่งในเมืองฉงชิ่ง (重庆市) ของจีน กาลังได้รับความสนใจอย่างมากทั้ง
จากนักท่องเที่ยวชาวจีนและต่างชาติ หลังเจ้าหน้าที่จัดการแบ่งทางเดินบนฟุตบาทความยาว 50 เมตร ออกเป็น 2 ช่อง
ช่องหนึ่งสาหรับคนเดินเท้าปกติ อีกช่องหนึ่งสาหรับคนที่ก้มหน้าก้มตาจิ้มหรือเขี่ยโทรศัพท์มือถือซึ่งมักไม่ค่อยเงย
หน้าดูทาง
ตัวอย่างการแก้ปัญหาในต่างประเทศ
 ฟากหนึ่งจะพ่นคาว่า ห้ามเล่นมือถือลงไปบน
พื้น ส่วนอีกเลนจะมีลูกศรบอกทิศทางเดิน พร้อม
พ่นคาว่า “CELL PHONES: Walk In
This Lane At Your Own Risk.”
 นอกจากนี้ที่กรุงวอชิงตันก็มีเหมือนกัน
ตัวอย่างโฆษณารณรงค์การลดสังคมก้มหน้า
ไทย
https://www.youtube.com/watch?v=zriBdZsldxQ Disconnect to
Connect - ใช้มือถือแต่พอดี (dtac Thailand TVC) เป็นโฆษณาตัวแรกในไทยที่หยิบยก
ประเด็นว่าคนเราควรเงยหน้าขึ้นมาคุยกับคนข้างๆเรา มากกว่าก้มหน้าเล่นแต่มือถือ
ต่างประเทศ
https://www.youtube.com/watch?v=WtbKjr5r3Kc

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

โครงงานสำรวจ
โครงงานสำรวจโครงงานสำรวจ
โครงงานสำรวจkessara61977
 
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัยโครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัยpanadda kingkaew
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของkessara61977
 
การสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟน
การสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนการสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟน
การสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนkessara61977
 
อินเตอร์เน็ต เสร็จแล้วจ๊ะ
อินเตอร์เน็ต เสร็จแล้วจ๊ะอินเตอร์เน็ต เสร็จแล้วจ๊ะ
อินเตอร์เน็ต เสร็จแล้วจ๊ะพายุ ตัวป่วน
 
โครงงาน Is2
โครงงาน Is2โครงงาน Is2
โครงงาน Is2kessara61977
 
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่นอินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่นเดชฤทธิ์ ทองประภา
 
ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้
ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้
ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้Kanda Runapongsa Saikaew
 
Social Network ส่งท้ายปี 2014
Social Network ส่งท้ายปี 2014Social Network ส่งท้ายปี 2014
Social Network ส่งท้ายปี 2014Thanawat Boontan
 
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้วัจนี ศรีพวงผกาพันธุ์
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องM'suKanya MinHyuk
 
กลุ่ม6
กลุ่ม6กลุ่ม6
กลุ่ม6punloveh
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningrubtumproject.com
 

Mais procurados (20)

โครงงานสำรวจ
โครงงานสำรวจโครงงานสำรวจ
โครงงานสำรวจ
 
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัยโครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ
 
การสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟน
การสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนการสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟน
การสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟน
 
อินเตอร์เน็ต เสร็จแล้วจ๊ะ
อินเตอร์เน็ต เสร็จแล้วจ๊ะอินเตอร์เน็ต เสร็จแล้วจ๊ะ
อินเตอร์เน็ต เสร็จแล้วจ๊ะ
 
โครงงาน Is2
โครงงาน Is2โครงงาน Is2
โครงงาน Is2
 
งานนำเสนอ5[2]
งานนำเสนอ5[2]งานนำเสนอ5[2]
งานนำเสนอ5[2]
 
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่นอินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
 
Mil chapter 1_2(2)
Mil chapter 1_2(2)Mil chapter 1_2(2)
Mil chapter 1_2(2)
 
ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้
ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้
ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้
 
Social Network ส่งท้ายปี 2014
Social Network ส่งท้ายปี 2014Social Network ส่งท้ายปี 2014
Social Network ส่งท้ายปี 2014
 
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
 
Game1
Game1Game1
Game1
 
2
22
2
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
กลุ่ม6
กลุ่ม6กลุ่ม6
กลุ่ม6
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
IT news
IT newsIT news
IT news
 
IS2
IS2IS2
IS2
 

Semelhante a สังคมก้มหน้า

บทคัดย่อ โครงงานIS3
บทคัดย่อ โครงงานIS3 บทคัดย่อ โครงงานIS3
บทคัดย่อ โครงงานIS3 Akawid Puangkeaw
 
โครงงาน Is2
โครงงาน Is2โครงงาน Is2
โครงงาน Is2kessara61977
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียน ม.5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียน ม.5สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียน ม.5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียน ม.5Porshe Hope
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 

Semelhante a สังคมก้มหน้า (10)

บทคัดย่อ โครงงานIS3
บทคัดย่อ โครงงานIS3 บทคัดย่อ โครงงานIS3
บทคัดย่อ โครงงานIS3
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
Is
IsIs
Is
 
โครงงาน Is2
โครงงาน Is2โครงงาน Is2
โครงงาน Is2
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียน ม.5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียน ม.5สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียน ม.5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียน ม.5
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 

สังคมก้มหน้า