SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 15
Baixar para ler offline
www.nstda.or.th
© NSTDA 2016
การพัฒนาองค์กรด้าน
วิจัย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
เพื่อความยั่งยืนและความเข้มแข็งของประเทศ
วันที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙
ทวีศักดิ์ กออนันตกูล
ผู้อำนวยกำร
สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ
ว – ว – ท – น - ผ
วิจัย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม ผู้ประกอบการ
www.nstda.or.th
© NSTDA 2016 2
เร่งกำรพัฒนำประเทศด้วย
วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
แทบไม่มี
งำนวิจัย
มีงำนวิจัย
เพิ่มขึ้น
มีอุตสาหกรรม
และสังคมที่ใช้
วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี
ที่มำ: ทวีศักดิ์ กออนันตกูล สวทช.
เริ่ม
มหาวิทยาลัย
ตั้ง สวทช. และ
สกว.
ตั้งสภาวิจัยแห่งชาติ
สภาพัฒน์ฯ และ
สภาการศึกษา
แห่งชาติ
คอบช.
๒๕๕๓
ตั้งหน่วยวิจัย
สวก. สวรส.
สดร. สสนก.
สทอภ. สทป. SMEs
มีชุมชนวิจัยโตขึ้น
ภำคเอกชนบำงรำยเริ่มลงทุนวิจัยจริงจัง
-57 ปี -25 ปี ปัจจุบัน
เวลา
๒๕๕๑
เพิ่มการวิจัยในภาคเอกชน
อย่างมีนัยสาคัญ
๒๕๓๔
๒๕๓๕
๒๕๐๖๒๕๐๒
2%
1%
เส้นทางสู่ความเป็นประเทศที่เจริญแล้ว
www.nstda.or.th
© NSTDA 2016 3
ถ่ำยทอดเทคโนโลยี
และสนับสนุน
ภำคเอกชน/ชุมชน
กรมสรรพำกร
กรมส่งเสริม
อุตสำหกรรม
วศ.
NIATCELS ITAP
PTEC
สสว.
BOI
SIPA ตลท.
ธนำคำร
Thailand
Science Park
Software
Park
ดำเนินกำรวิจัย
และพัฒนำบุคลำกร
มหำวิทยำลัย
เอกชน
สสนก
วว.
ศซ.
สดร.
อุดหนุนวิจัย
สวก.
สวรส.
CPMO
สกว.
อุดหนุนวิจัย
สวก.
สกว
กระทรวง/กองทุน
กสทช.
CPMO
สวรส.
ระบบนวัตกรรมของประเทศไทย ณ ๒๕๕๘
นโยบำย
วทน. วิจัย
วช
สวทน
สวทช.
สวทน
สสส
มูลนิธิต่ำงๆ
กลต.
ธนำคำร
ธนำคำร
สกว
สทอภ.
ที่มำ: ทวีศักดิ์ กออนันตกูล สวทช.
www.nstda.or.th
© NSTDA 2016
ข้อสั่งการของ นายกรัฐมนตรี
4
ข้อสั่งการของ นรม. ๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๘
• ให้ รอง นรม. (ประจิน) + รมว.วท. +
สวทช. ประชุมหารือ ให้ได้ข้อยุตินาเสนอ
นรม. ตกลงใจด่วน
ให้ครบทั้ง องค์กร /
งบประมาณ / วิธีการ /
ผลสัมฤทธิ์ ฯลฯ
www.nstda.or.th
© NSTDA 2016
ผลการดาเนินงานของ คพน. และ คอบช. ที่ผ่านมา
5* คพน. = คณะกรรมการพัฒนาระบบนวัตกรรม คอบช. = เครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ หรือ ๖ส๑ว
ประเด็นปัญหา ผลการดาเนินงานที่แก้ไขปัญหา
การจัดการงานวิจัยกระจัดกระจาย
โครงการเล็กๆ ย่อยๆ ไม่เชื่อมโยงสู่
การผลิตและบริการ
การจัดโครงการวิจัยมุ่งเป้า และการมีหน่วยงานเจ้าภาพหลักในการบริหารจัดการ
(คอบช. ๒๕๕๔) การวางแผนวิจัยมุ่งเป้าคลัสเตอร์ (สวทช. ๒๕๕๑), โครงการ
นักวิจัยแกนนา (สวทช. ๒๕๕๒), โครงการที่มีผลกระทบสูงหรือ GII (สวทช. ๒๕๕๗)
ขาดแคลนงบประมาณวิจัยเพื่อแปลง
ผลงานไปสู่การผลิต (translational
research) ซึ่งต้องใช้ต้นทุนสูง มีความ
เสี่ยงด้านการตลาดสูง
การสร้างอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย (กระทรวงวิทย์ ๒๕๓๘), การเปิดตัว
Innovation Cluster ๒ ของอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย (สวทช. ๒๕๕๗), การ
ส่งเสริมงบประมาณพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้กับสิ่งประดิษฐ์ (คพน. ๒๕๕๘)
การประสานงานของหน่วยงานภาครัฐ
ที่จัดการงานวิจัยยังขาดประสิทธิภาพ
การรวมตัวกันขององค์กรจัดการวิจัยของประเทศ ๗ หน่วยงานเป็น คอบช. (๒๕๕๓)
เพื่อร่วมกันทางานบริหารจัดการงานวิจัยของประเทศ
โครงสร้างพื้นฐานการสอบวัด
มาตรฐานผลิตภัณฑ์ยังมีน้อย
การจัดการระบบ MSTQ (มาตรวิทยา-มาตรฐาน-การบริการทดสอบ-ระบบรับรอง
คุณภาพ) ของประเทศ เพื่อเร่งการรับรองคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ (คพน.
กระทรวงวิทย์ และกระทรวงอุตสาหกรรม ๒๕๕๘)
ตลาดภาครัฐและระเบียบพัสดุ กีดกัน
ผู้ประกอบการภายในประเทศที่เพิ่ง
พัฒนาสินค้าออกสู่ตลาด
การจัดทาระบบ “บัญชีนวัตกรรม” ของประเทศ (คพน. ๒๕๕๘), การอนุญาตให้
ภาครัฐสามารถจัดซื้อพัสดุที่อยู่ในบัญชีนวัตกรรมได้โดยวิธีกรณีพิเศษ (คพน. ๒๕๕๘)
แรงกระตุ้นส่งเสริมให้เอกชนเพิ่มการ
วิจัยยังต่ากว่าประเทศเพื่อนบ้าน
มาตรการลดหย่อนภาษีแก่ค่าใช้จ่ายวิจัยของเอกชน ๒๐๐% (๒๕๔๕), ๓๐๐% (คพน.
๒๕๕๘), Talent Mobility และ Work-integrated Learning (กระทรวงวิทย์ ๒๕๕๘)
www.nstda.or.th
© NSTDA 2016
เป้าหมายของการปฏิรูป ระบบ ววทน.
Productive and New
Growth Engine
ก้าวหน้า ทันสมัย แข่งขันได้
Inclusive Growth Engine
มีเหตุผล คิดวิเคราะห์
แบ่งปัน ทั่วถึง
• กำรเกษตรอุตสำหกรรม
• อุตสำหกรรม (ศักยภำพ)
• โลจิสติกส์
• สำธำรณสุข
• กำรศึกษำ
• เกษตรพอเพียง
• สิ่งแวดล้อม
• พลังงำน
• ทรัพยำกรชีวภำพ
โครงสร้างพื้นฐานทาง
ปัญญาของประเทศ
(Knowledge)
โครงสร้างพื้นฐานทาง
นวัตกรรมของประเทศ
(Competitiveness)
• นโยบาย และ
ยุทธศาสตร์ชาติ
• ยุทธศาสตร์ระดับ
ภูมิภาค
• ยุทธศาสตร์ราย
อุตสาหกรรม
• วิจัยประยุกต์
• การชชปประโยชน์
เชิงพาณิชย์
• การชชปประโยชน์
เชิงสังคม
• การส่งเสริม
นวัตกรรม
• สร้าง
ผู้ประกอบการ
ชหม่
• สนับสนุนการ
ยกระดับ
อุตสาหกรรม
• การจัดซืปอจัดจ้าง
ภาครัฐ
• การลงทุนขนาด
ชหญ่ของรัฐ
(Mega project)
• Public Private
Partnership
เปปาหมาย
ทิศทาง
การพัฒนา
ระบบ
ววทน.
เพื่อการ
พัฒนา
ประเทศ
มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน สมดุล
พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันประเทศไทยใน 20 ปี ข้างหน้า
Green Growth Engine
ระบบนิเวศสมดุล
ใช้ทรัพยากรอย่างรู้คุณค่า
สร้างคน
ระบบ
วิจัย
ระบบ
ววทน.
* เป็นไปตามข้อเสนอของ สปช.
• มาตรฐานวิชาชีพ
• กฏหมาย
• กฏระเบียบ
• แนวทางปฏิบัติ
• มาตรการส่งเสริม
การวิจัย
• คลังข้อมูลผลงาน
นักวิจัย เครื่องมือ
ศูนย์วิจัย
• การจัดการ
ทรัพย์สินทาง
ปัญญา
• สร้างความ
ตระหนักชห้สังคม
• พัฒนานักวิจัย
• จัดโครงสร้าง
หน่วยงาน
บทบาท หน้าที่
• ระบบจัดสรร
งบประมาณ
www.nstda.or.th
© NSTDA 2016
ข้อเสนอการปฎิรูปโครงสร้างชนระบบ ววทน. ของประเทศ
7
สภานโยบายวิจัย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ
นายกรัฐมนตรีเป็นประธาน เน้นการมีส่วนร่วมของภาคเอกชน
คณะกรรมการนโยบายวิจัยแห่งชาติ คณะกรรมการนโยบาย ววทน. แห่งชาติ
สร้างความรู้ ปัญญา บริหารจัดการ
ความรู้ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน
สร้างนวัตกรรม เพื่อเพิ่มผลิตภาพ
คุณค่า มูลค่า ลดการใช้ทรัพยากร
ระบบ
วิจัย
ระบบ
ววทน.
• กาหนดนโยบายและยุทธศาสตร์วิจัยระดับชาติ + ภูมิภาค
• กาหนดมาตรฐานวิชาชีพนักวิจัย จริยธรรม กฏหมาย
ระเบียบ และแนวทางการปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง
• ศึกษาวิจัยนโยบายเพื่อกาหนดมาตรการส่งเสริมการวิจัย
ของประเทศที่เหมาะสม
• จัดทาคลังข้อมูลผลงาน นักวิจัย เครื่องมือ การจัดการ
ทรัพย์สินทางปัญญาให้สังคมเข้าถึง และเพื่อการติดตาม
ประเมินผลการวิจัย
• ส่งเสริมให้สังคมไทยมีการคิดเป็นเหตุเป็นผลและใช้หลักฐาน
เชิงประจักษ์
• กาหนดนโยบายและยุทธศาสตร์วิจัยรายสาขาอุตสาหกรรม
• กาหนดมาตรการส่งเสริมการต่อยอดใช้ประโยชน์เชิง
พาณิชย์ และเชิงสังคม
• ศึกษาวิจัยนโยบายเพื่อกาหนดมาตรการส่งเสริมระบบ
นวัตกรรมของประเทศที่เหมาะสม
• กาหนดมาตรการส่งเสริมผู้ประกอบการในธุรกิจเทคโนโลยี
และสนับสนุนการวิจัยพัฒนาในภาคเอกชน
• จัดมาตรการส่งเสริมการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ เชื่อมโยง
นวัตกรรมไทยกับการลงทุนขนาดใหญ่ของรัฐ และ ส่งเสริม
การลงทุนศูนย์วิจัยขนาดใหญ่ร่วมภาครัฐ ภาคเอกชน
หน่วยงานสนับสนุน ส่งเสริม บริหาร การวิจัย วิทยาศาสตร์ และ นวัตกรรม
(งานวิจัย กาลังคน และ โครงสร้างพื้นฐาน)
หน่วยงานขยายผล
จากการวิจัย
ศูนย์ความเป็นเลิศ
ทางวิชาการ
สถาบันวิจัย
สถาบันอุดมศึกษา
หน่วยงานนาผลงาน
ไปชชปประโยชน์
หน่วยงานกากับนโยบาย
www.nstda.or.th
© NSTDA 2016
แนวทางการปฏิรูประบบวิจัย วิทยาศาสตร์ และนวัตกรรมของประเทศ
ก่อนปฏิรูป
ก่อนปฏิรูป หลังปฏิรูป
• ไม่ได้ทาหน้าที่กาหนดนโยบายโดยแท้จริง
• มีบทบาทสนับสนุนทุนวิจัย/ส่งเสริม
เอกชนด้วย
• การจัดสรรงบประาณแบบรายปี
ทาให้ ไม่สอดคล้องกับการวิจัยที่ต่อเนื่อง
• ขอบเขตงานไม่ชัดเจน
• ระบบการติดตามและประเมินผล
ยังไม่เข้มข้น
วิจัยตามความสนใจ
• ไม่กาหนดเป้าหมายชัดเจน
• หน่วยงานรัฐเองยังใช้ประโยชน์จาก
ผลงานวิจัยน้อย
• กาหนดเป้าหมายการวิจัย
• จัดสรรงบประมาณตามเป้าหมาย
ประเทศ แล้วให้หน่วยบริหารงานวิจัย
เป็นผู้จัดสรรงบประมาณลง
โครงการตามยุทธศาสตร์ชาติ
• ประเมินหน่วยงานบริหารงานวิจัย
มีบทบาทหน้าที และขอบเขตการ
สนับสนุน ที่ชัดเจน และครอบคลุมทุก
สาขา
กาหนดหรือมอบหมายขอบเขต
งานวิจัยไปตามขีดความสามารถหลัก
ของหน่วยงานวิจัย ให้ชัดเจน
หน่วยงานรัฐ นาผลงานวิจัยของไทย
ไปใช้ประโยชน์ โดยใช้กลไกการจัดซื้อ
จัดจ้างภาครัฐ และการลงทุนร่วมรัฐ
เอกชน เป็นตัวขับเคลื่อน
หน่วยงาน
ระดับ
นโยบาย
หน่วย
บริหารและ
สนับสนุน
งานวิจัย
หน่วย
งานวิจัย
หน่วยงาน
พัฒนา
หน่วยงาน
นาผลงาน
ไปใช้
www.nstda.or.th
© NSTDA 2016 9
แนวทางการดาเนินการ
ระยะเร่งด่วน
• ขอความเห็นชอบจาก นรม. (ปรับปรุงขอบเขตงาน
ขององค์กรที่เกี่ยวข้อง / กรอบอานาจหน้าที่ใหม่
ของ กรรมการนโยบายวิจัยแห่งชาติ และ
กรรมการนโยบาย ววทน .แห่งชาติ )
• แต่งตั้ง Superboard ของ การวิจัย และ ววทน.
ของประเทศ เพื่อกาหนดกรอบงบประมาณประจาปี
ทาให้การจัดสรรทุนแก่โครงการวิจัย สอดคล้องกับ
ยุทธศาสตร์ชาติ หรือ วาระแห่งชาติ
• กาหนดแนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ
สถาบันวิจัย จาก ผลงานและการนางานวิจัยไปใช้
ประโยชน์ ที่เป็นแนวเดียวกัน (ทั้งการวิจัยเพื่อ
ความรู้ เพื่อเศรษฐกิจ หรือเพื่อสังคม)
• ยกร่างกฎหมายเพื่อแก้ไขอานาจหน้าที่ขององค์กรที่
เกี่ยวข้องหลายองค์กรไปพร้อมกัน
ระยะถัดไป
• ปรับแก้กฎหมายต่างๆที่เกี่ยวข้อง เช่น พรบ. ของ
หน่วยงานที่จะดาเนินการปฏิรูป
• เร่งพัฒนาความสามารถในหน่วยงานบริหารงานวิจัย
รายสาขา ที่ควรทาให้เข้มแข็งและคล่องตัวยิ่งขึ้น เช่น
ด้านสุขภาพและการแพทย์ ด้านการเกษตร โดย
อาจจะใช้กาลังของ สวทช. และ สกว. เป็นส่วน
ขับเคลื่อน
• ประกาศโครงการวิจัยขนาดใหญ่ที่สาคัญกับ New
Engine for Growth เพื่อจัดสรรทุนวิจัยแก่
หน่วยงานวิจัยหรือสถาบันอุดมศึกษาที่มีความเป็นเลิศ
ในด้านนั้นๆ เช่น หุ่นยนต์เพื่ออนาคต, Big Data
Analytics, Industry 4.0
• สร้างความเข้มแข็งของการบริการของภาครัฐในเชิง
facilitation แก่ภาคเอกชนในทุกด้าน เช่น การ
ลดหย่อนภาษีจากการวิจัย การเคลื่อนย้ายบุคลากร
จากภาครัฐไปช่วย การร่วมวิจัยระหว่างรัฐและเอกชน
Open Government Data และการบริการทรัพย์สิน
ทางปัญญาของกรมทรัพย์สินทางปัญญา
www.nstda.or.th
© NSTDA 2016 10
การกากับ
นโยบาย
การจัดองค์กร/
ภารกิจ
การจัด
งบประมาณ
การบริหารจัดการ
งานวิจัยสู่การใช้
ประโยชน์
เครือข่าย
การทางาน
การจัดให้มี
ปัจจัยเอื้อ
ประเด็นที่มีการเสนอเป็น
แนวทางการ
ปฏิรูป ววทน.
• กำหนดเป้ำหมำย ววทน. รำยประเด็น
รำยอุตสำหกรรม และรำยเทคโนโลยี
• กำหนดและกำกับดูแล มำตรฐำน
จริยธรรม กฏหมำย กฏระเบียบ
• ศึกษำวิจัยนโยบำยเพื่อเสนอแนะรัฐบำล
• ติดตำม ประเมินผล กำรจัดสรรทุนและภำพรวม
• แยกหน้ำที่จำกกำรสนับสนุนวิจัย
• หน่วยงำนกำกับนโยบำย
• หน่วยจัดสรรทุนวิจัย
• หน่วยบริหำรจัดกำรเทคโนโลยี
• หน่วยวิจัยเฉพำะทำง
• หน่วยงำนอื่นๆ
ที่มีบุคลำกรวิจัย
• หน่วยงำนใช้ประโยชน์งำนวิจัย
• รำยประเด็นมุ่งเป้ำ/ท้ำทำย/
วำระแห่งชำติ/นโยบำยรัฐ
• รำยสำขำอุตสำหกรรมศักยภำพ
• รำยสำขำเทคโนโลยีที่มุ่งเน้น
• รำยหน่วยงำน (วิจัยเพื่อภำรกิจหลัก)
• รำยกำรในบัญชีควำมต้องกำรภำครัฐ
• มีหน่วยบริหำรจัดกำรเทคโนโลยี
ในกำรขยำยผลงำนวิจัย
• สนับสนุน ววทน. ในภำคเอกชน
• สร้ำงผู้ประกอบกำร ววทน.
• ส่งเสริมกำรจัดซื้อจัดจ้ำงภำครัฐ และ
สร้ำงค่ำนิยมกำรใช้นวัตกรรมไทย
• ใช้กลไกประชำรัฐ
มีสภำ ววทน.
• ทำหน้ำที่ผ่ำนกฏหมำยที่จำเป็น
• กำหนดกรอบกำรลงทุน ววทน. ของ
ประเทศในพระรำชบัญญัติงบประมำณ
• เห็นชอบมำตรกำรส่งเสริมต่ำงๆ
• สร้ำงให้ประเทศไทยมี ววทน. เป็นรำกฐำน
ของสังคมและเศรษฐกิจ
• ระดับรัฐบำลกับรัฐบำล (Diplomacy)
• ระดับหน่วยงำนกับหน่วยงำน (ววทน. ด้วยกัน
หรือ ววทน. กับหน่วยงำนใช้ประโยชน์)
• ระดับภำคีกับภำคี
(รัฐ เอกชน ชุมชน สังคม)
www.nstda.or.th
© NSTDA 2016
หน่วยงานขยายผล
ชชปประโยชน์งานวิจัย
(ไม่มีนักวิจัย)
หน่วยกากับนโยบาย
(ไม่มีภารกิจวิจัย
มีบุคลากรวิจัยเฉพาะนโยบาย)
หน่วยจัดสรรทุนวิจัย
(ไม่มีภารกิจวิจัย
ไม่มีบุคลากรวิจัย)
หน่วยบริหารจัดการ วทน.
(มีภารกิจวิจัย และมีบุคลากรวิจัย)
หน่วยวิจัยเฉพาะทาง
(มีภารกิจวิจัย และมีบุคลากรวิจัย)
หน่วยงานอื่นๆ
(วิจัยไม่ใช่ภารกิจหลักแต่มีบุคลากรวิจัย)
อก.
สสว.วศ.
TCELSหน่วย
บริการ
วทน.
สวทช.
National
Labs
สวรสสกว
วิจัย
วว
ทน
สวก
COE
วว.
สดร.
ปส.
NIA
ทก.กระทรวง
ต่างๆ
สสนก
สทอภ
มว.
ระบบนวัตกรรมไทยชนอนาคต
11
www.nstda.or.th
© NSTDA 2016 12
ขอบคุณครับ
www.nstda.or.th
© NSTDA 2016
ปัญหาด้านความเข้มแข็งด้าน ววทน. ของประเทศไทย
• มีรายจ่ายทางเทคโนโลยี ๓๑๔,๐๗๑ ล้านบาท (๒.๔๓% ของ GDP) และขาด
ดุลการชาระเงินค่าธรรมเนียมทางเทคโนโลยี ๒๑๑,๓๗๖ ล้านบาท (ปี ๒๕๕๖)
หรือประมาณ ๑.๖๓% ของ GDP*
• ทั้งประเทศ ลงทุนด้านวิจัย+พัฒนาเพียง ๐.๒๕% ของ GDP (ปี ๒๕๕๒) ถึง
๐.๔๗% ของ GDP (ปี ๒๕๕๖)
• ภาคเอกชนมีการเพิ่มสัดส่วนการลงทุนด้านวิจัย+พัฒนา จาก ๔๑% ของทั้งหมดใน
ปี ๒๕๕๒) เป็น ๔๗% ของทั้งหมด ในปี ๒๕๕๖
• โครงการลงทุนขนาดใหญ่ของประเทศ มักจะ “เร่งรีบ” ไม่ได้วางแผนพร้อมกับการ
พัฒนาความแข็งแกร่งของภาคอุตสาหกรรมนั้นๆในประเทศ และจบด้วยการให้การ
สนับสนุนแก่บริษัทพ่อค้า มากกว่าบริษัทเทคโนโลยี
• การขาดดุลด้านเทคโนโลยีของไทย หมายถึง เราไปจ่ายค่าวิจัยและพัฒนาออกไป
ให้แก่บริษัทต่างประเทศที่คิดค่าเทคโนโลยีรวมมากับค่าสินค้า แทนที่เราจะชวนให้เขา
มาวิจัยเพื่อพัฒนาคนไทยในประเทศ
13
* (GDP ปี ๒๕๕๖ = ๑๒.๙ ล้านล้านบาท)
www.nstda.or.th
© NSTDA 2016
ปัญหาด้านการจัดการการวิจัยไทย
• การจัดการงานวิจัยกระจัดกระจาย โครงการเล็กๆ ย่อยๆ ไม่เชื่อมโยงสู่การผลิต
และบริการ
• ขาดแคลนงบประมาณวิจัยเพื่อแปลงผลงานไปสู่การผลิต (translational research)
ซึ่งต้องใช้ต้นทุนสูง มีความเสี่ยงด้านการตลาดสูง
• การประสานงานของหน่วยงานภาครัฐที่จัดการงานวิจัยยังขาดประสิทธิภาพ
• โครงสร้างพื้นฐานการสอบวัดมาตรฐานผลิตภัณฑ์ยังมีน้อย
• ตลาดภาครัฐและระเบียบพัสดุ กีดกันผู้ประกอบการภายในประเทศที่เพิ่งพัฒนา
สินค้าออกสู่ตลาด
• แรงกระตุ้นส่งเสริมให้เอกชนเพิ่มการวิจัยยังต่ากว่าประเทศเพื่อนบ้าน
14* (GDP ปี ๒๕๕๖ = ๑๒.๙ ล้านล้านบาท)
www.nstda.or.th
© NSTDA 2016
สถานการณ์ที่ผ่านมา
• เริ่มมีนโยบายการวิจัยเมื่อ ปี พ.ศ. ๒๕๐๒
• ในปี พ.ศ. ๒๕๓๔ และ ๒๕๓๕ ได้มีการเร่งรัดให้ทาการวิจัยและพัฒนามากขึ้น
โดยตั้ง สวทช. (ทางานด้าน วทน.) และ สกว. (สนับสนุนการวิจัย)
• ช่วง ๒๕๓๕ จนถึง ๒๕๕๔ มีการตั้งสถาบันต่างๆมากมาย ส่วนใหญ่เป็น
องค์การมหาชน เพื่อเร่งรัดการนาความรู้มาพัฒนาประเทศ
• ในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ มีการตั้งสานักงานคณะกรรมการนโยบาย วทน.แห่งชาติ
• ในปีงบประมาณ ๒๕๕๙ มีงบประมาณบูรณาการการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา
ของภาครัฐ ๒๔,๙๘๑ ล้านบาท (คาดว่าเอกชน มีกิจกรรมวิจัยในปริมาณที่
เท่ากัน)
• สวทช. ได้รับงบประมาณแผ่นดินในปี ๒๕๕๙ รวม ๓,๐๘๑ ล้านบาท (๑๒.๓%
ของงบประมาณบูรณาการ) เพื่อทาหน้าที่สี่ด้าน คือ วิจัยและพัฒนา/ถ่ายทอด
เทคโนโลยี/สร้างและบริการโครงสร้างพื้นฐานด้าน วทน./พัฒนากาลังคน ถือว่า
น้อยมาก
15

Mais conteúdo relacionado

Destaque

บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูล ภูมิ...
บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูลภูมิ...บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูลภูมิ...
บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูล ภูมิ...Chingchai Humhong
 
นำเสนอครั้งที่ 1-60258
นำเสนอครั้งที่ 1-60258นำเสนอครั้งที่ 1-60258
นำเสนอครั้งที่ 1-60258Ampol Sonwises
 
บทที่ 1 วิจัย
บทที่ 1 วิจัยบทที่ 1 วิจัย
บทที่ 1 วิจัยNatmol Thedsanabun
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to DatabaseOpas Kaewtai
 
ICT 2020 Conceptual framwork
ICT 2020 Conceptual framworkICT 2020 Conceptual framwork
ICT 2020 Conceptual framworkBunsasi
 
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น 20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น Namchai Chewawiwat
 
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol) วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol) Namchai Chewawiwat
 
How to make science media easy to Thais, part 1
How to make science media easy to Thais, part 1How to make science media easy to Thais, part 1
How to make science media easy to Thais, part 1Namchai Chewawiwat
 
บทที่1 กลุ่มที่ 1
บทที่1 กลุ่มที่ 1บทที่1 กลุ่มที่ 1
บทที่1 กลุ่มที่ 1warayut jongdee
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์Apinya Phuadsing
 
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กเรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กApinya Phuadsing
 
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์Apinya Phuadsing
 
ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01Apinya Phuadsing
 

Destaque (20)

บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูล ภูมิ...
บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูลภูมิ...บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูลภูมิ...
บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูล ภูมิ...
 
นำเสนอครั้งที่ 1-60258
นำเสนอครั้งที่ 1-60258นำเสนอครั้งที่ 1-60258
นำเสนอครั้งที่ 1-60258
 
บทที่ 1 วิจัย
บทที่ 1 วิจัยบทที่ 1 วิจัย
บทที่ 1 วิจัย
 
Example of gis&rs applications
Example of gis&rs applicationsExample of gis&rs applications
Example of gis&rs applications
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
 
Educational Technology at NSTDA
Educational Technology at NSTDAEducational Technology at NSTDA
Educational Technology at NSTDA
 
1109291212453896 12111614140548
1109291212453896 121116141405481109291212453896 12111614140548
1109291212453896 12111614140548
 
Interactive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctuInteractive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctu
 
Android room award 2556
Android room award 2556Android room award 2556
Android room award 2556
 
ICT 2020 Conceptual framwork
ICT 2020 Conceptual framworkICT 2020 Conceptual framwork
ICT 2020 Conceptual framwork
 
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น 20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
 
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol) วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
 
How to make science media easy to Thais, part 1
How to make science media easy to Thais, part 1How to make science media easy to Thais, part 1
How to make science media easy to Thais, part 1
 
บทที่1 กลุ่มที่ 1
บทที่1 กลุ่มที่ 1บทที่1 กลุ่มที่ 1
บทที่1 กลุ่มที่ 1
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
 
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กเรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
 
Img 0001
Img 0001Img 0001
Img 0001
 
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
 
ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01
 
Values of science-20141202
Values of science-20141202 Values of science-20141202
Values of science-20141202
 

20160218 research and sti reform for thailand สวทช

  • 1. www.nstda.or.th © NSTDA 2016 การพัฒนาองค์กรด้าน วิจัย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อความยั่งยืนและความเข้มแข็งของประเทศ วันที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ ทวีศักดิ์ กออนันตกูล ผู้อำนวยกำร สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ ว – ว – ท – น - ผ วิจัย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม ผู้ประกอบการ
  • 2. www.nstda.or.th © NSTDA 2016 2 เร่งกำรพัฒนำประเทศด้วย วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี แทบไม่มี งำนวิจัย มีงำนวิจัย เพิ่มขึ้น มีอุตสาหกรรม และสังคมที่ใช้ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ที่มำ: ทวีศักดิ์ กออนันตกูล สวทช. เริ่ม มหาวิทยาลัย ตั้ง สวทช. และ สกว. ตั้งสภาวิจัยแห่งชาติ สภาพัฒน์ฯ และ สภาการศึกษา แห่งชาติ คอบช. ๒๕๕๓ ตั้งหน่วยวิจัย สวก. สวรส. สดร. สสนก. สทอภ. สทป. SMEs มีชุมชนวิจัยโตขึ้น ภำคเอกชนบำงรำยเริ่มลงทุนวิจัยจริงจัง -57 ปี -25 ปี ปัจจุบัน เวลา ๒๕๕๑ เพิ่มการวิจัยในภาคเอกชน อย่างมีนัยสาคัญ ๒๕๓๔ ๒๕๓๕ ๒๕๐๖๒๕๐๒ 2% 1% เส้นทางสู่ความเป็นประเทศที่เจริญแล้ว
  • 3. www.nstda.or.th © NSTDA 2016 3 ถ่ำยทอดเทคโนโลยี และสนับสนุน ภำคเอกชน/ชุมชน กรมสรรพำกร กรมส่งเสริม อุตสำหกรรม วศ. NIATCELS ITAP PTEC สสว. BOI SIPA ตลท. ธนำคำร Thailand Science Park Software Park ดำเนินกำรวิจัย และพัฒนำบุคลำกร มหำวิทยำลัย เอกชน สสนก วว. ศซ. สดร. อุดหนุนวิจัย สวก. สวรส. CPMO สกว. อุดหนุนวิจัย สวก. สกว กระทรวง/กองทุน กสทช. CPMO สวรส. ระบบนวัตกรรมของประเทศไทย ณ ๒๕๕๘ นโยบำย วทน. วิจัย วช สวทน สวทช. สวทน สสส มูลนิธิต่ำงๆ กลต. ธนำคำร ธนำคำร สกว สทอภ. ที่มำ: ทวีศักดิ์ กออนันตกูล สวทช.
  • 4. www.nstda.or.th © NSTDA 2016 ข้อสั่งการของ นายกรัฐมนตรี 4 ข้อสั่งการของ นรม. ๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๘ • ให้ รอง นรม. (ประจิน) + รมว.วท. + สวทช. ประชุมหารือ ให้ได้ข้อยุตินาเสนอ นรม. ตกลงใจด่วน ให้ครบทั้ง องค์กร / งบประมาณ / วิธีการ / ผลสัมฤทธิ์ ฯลฯ
  • 5. www.nstda.or.th © NSTDA 2016 ผลการดาเนินงานของ คพน. และ คอบช. ที่ผ่านมา 5* คพน. = คณะกรรมการพัฒนาระบบนวัตกรรม คอบช. = เครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ หรือ ๖ส๑ว ประเด็นปัญหา ผลการดาเนินงานที่แก้ไขปัญหา การจัดการงานวิจัยกระจัดกระจาย โครงการเล็กๆ ย่อยๆ ไม่เชื่อมโยงสู่ การผลิตและบริการ การจัดโครงการวิจัยมุ่งเป้า และการมีหน่วยงานเจ้าภาพหลักในการบริหารจัดการ (คอบช. ๒๕๕๔) การวางแผนวิจัยมุ่งเป้าคลัสเตอร์ (สวทช. ๒๕๕๑), โครงการ นักวิจัยแกนนา (สวทช. ๒๕๕๒), โครงการที่มีผลกระทบสูงหรือ GII (สวทช. ๒๕๕๗) ขาดแคลนงบประมาณวิจัยเพื่อแปลง ผลงานไปสู่การผลิต (translational research) ซึ่งต้องใช้ต้นทุนสูง มีความ เสี่ยงด้านการตลาดสูง การสร้างอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย (กระทรวงวิทย์ ๒๕๓๘), การเปิดตัว Innovation Cluster ๒ ของอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย (สวทช. ๒๕๕๗), การ ส่งเสริมงบประมาณพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้กับสิ่งประดิษฐ์ (คพน. ๒๕๕๘) การประสานงานของหน่วยงานภาครัฐ ที่จัดการงานวิจัยยังขาดประสิทธิภาพ การรวมตัวกันขององค์กรจัดการวิจัยของประเทศ ๗ หน่วยงานเป็น คอบช. (๒๕๕๓) เพื่อร่วมกันทางานบริหารจัดการงานวิจัยของประเทศ โครงสร้างพื้นฐานการสอบวัด มาตรฐานผลิตภัณฑ์ยังมีน้อย การจัดการระบบ MSTQ (มาตรวิทยา-มาตรฐาน-การบริการทดสอบ-ระบบรับรอง คุณภาพ) ของประเทศ เพื่อเร่งการรับรองคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ (คพน. กระทรวงวิทย์ และกระทรวงอุตสาหกรรม ๒๕๕๘) ตลาดภาครัฐและระเบียบพัสดุ กีดกัน ผู้ประกอบการภายในประเทศที่เพิ่ง พัฒนาสินค้าออกสู่ตลาด การจัดทาระบบ “บัญชีนวัตกรรม” ของประเทศ (คพน. ๒๕๕๘), การอนุญาตให้ ภาครัฐสามารถจัดซื้อพัสดุที่อยู่ในบัญชีนวัตกรรมได้โดยวิธีกรณีพิเศษ (คพน. ๒๕๕๘) แรงกระตุ้นส่งเสริมให้เอกชนเพิ่มการ วิจัยยังต่ากว่าประเทศเพื่อนบ้าน มาตรการลดหย่อนภาษีแก่ค่าใช้จ่ายวิจัยของเอกชน ๒๐๐% (๒๕๔๕), ๓๐๐% (คพน. ๒๕๕๘), Talent Mobility และ Work-integrated Learning (กระทรวงวิทย์ ๒๕๕๘)
  • 6. www.nstda.or.th © NSTDA 2016 เป้าหมายของการปฏิรูป ระบบ ววทน. Productive and New Growth Engine ก้าวหน้า ทันสมัย แข่งขันได้ Inclusive Growth Engine มีเหตุผล คิดวิเคราะห์ แบ่งปัน ทั่วถึง • กำรเกษตรอุตสำหกรรม • อุตสำหกรรม (ศักยภำพ) • โลจิสติกส์ • สำธำรณสุข • กำรศึกษำ • เกษตรพอเพียง • สิ่งแวดล้อม • พลังงำน • ทรัพยำกรชีวภำพ โครงสร้างพื้นฐานทาง ปัญญาของประเทศ (Knowledge) โครงสร้างพื้นฐานทาง นวัตกรรมของประเทศ (Competitiveness) • นโยบาย และ ยุทธศาสตร์ชาติ • ยุทธศาสตร์ระดับ ภูมิภาค • ยุทธศาสตร์ราย อุตสาหกรรม • วิจัยประยุกต์ • การชชปประโยชน์ เชิงพาณิชย์ • การชชปประโยชน์ เชิงสังคม • การส่งเสริม นวัตกรรม • สร้าง ผู้ประกอบการ ชหม่ • สนับสนุนการ ยกระดับ อุตสาหกรรม • การจัดซืปอจัดจ้าง ภาครัฐ • การลงทุนขนาด ชหญ่ของรัฐ (Mega project) • Public Private Partnership เปปาหมาย ทิศทาง การพัฒนา ระบบ ววทน. เพื่อการ พัฒนา ประเทศ มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน สมดุล พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันประเทศไทยใน 20 ปี ข้างหน้า Green Growth Engine ระบบนิเวศสมดุล ใช้ทรัพยากรอย่างรู้คุณค่า สร้างคน ระบบ วิจัย ระบบ ววทน. * เป็นไปตามข้อเสนอของ สปช. • มาตรฐานวิชาชีพ • กฏหมาย • กฏระเบียบ • แนวทางปฏิบัติ • มาตรการส่งเสริม การวิจัย • คลังข้อมูลผลงาน นักวิจัย เครื่องมือ ศูนย์วิจัย • การจัดการ ทรัพย์สินทาง ปัญญา • สร้างความ ตระหนักชห้สังคม • พัฒนานักวิจัย • จัดโครงสร้าง หน่วยงาน บทบาท หน้าที่ • ระบบจัดสรร งบประมาณ
  • 7. www.nstda.or.th © NSTDA 2016 ข้อเสนอการปฎิรูปโครงสร้างชนระบบ ววทน. ของประเทศ 7 สภานโยบายวิจัย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ นายกรัฐมนตรีเป็นประธาน เน้นการมีส่วนร่วมของภาคเอกชน คณะกรรมการนโยบายวิจัยแห่งชาติ คณะกรรมการนโยบาย ววทน. แห่งชาติ สร้างความรู้ ปัญญา บริหารจัดการ ความรู้ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน สร้างนวัตกรรม เพื่อเพิ่มผลิตภาพ คุณค่า มูลค่า ลดการใช้ทรัพยากร ระบบ วิจัย ระบบ ววทน. • กาหนดนโยบายและยุทธศาสตร์วิจัยระดับชาติ + ภูมิภาค • กาหนดมาตรฐานวิชาชีพนักวิจัย จริยธรรม กฏหมาย ระเบียบ และแนวทางการปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง • ศึกษาวิจัยนโยบายเพื่อกาหนดมาตรการส่งเสริมการวิจัย ของประเทศที่เหมาะสม • จัดทาคลังข้อมูลผลงาน นักวิจัย เครื่องมือ การจัดการ ทรัพย์สินทางปัญญาให้สังคมเข้าถึง และเพื่อการติดตาม ประเมินผลการวิจัย • ส่งเสริมให้สังคมไทยมีการคิดเป็นเหตุเป็นผลและใช้หลักฐาน เชิงประจักษ์ • กาหนดนโยบายและยุทธศาสตร์วิจัยรายสาขาอุตสาหกรรม • กาหนดมาตรการส่งเสริมการต่อยอดใช้ประโยชน์เชิง พาณิชย์ และเชิงสังคม • ศึกษาวิจัยนโยบายเพื่อกาหนดมาตรการส่งเสริมระบบ นวัตกรรมของประเทศที่เหมาะสม • กาหนดมาตรการส่งเสริมผู้ประกอบการในธุรกิจเทคโนโลยี และสนับสนุนการวิจัยพัฒนาในภาคเอกชน • จัดมาตรการส่งเสริมการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ เชื่อมโยง นวัตกรรมไทยกับการลงทุนขนาดใหญ่ของรัฐ และ ส่งเสริม การลงทุนศูนย์วิจัยขนาดใหญ่ร่วมภาครัฐ ภาคเอกชน หน่วยงานสนับสนุน ส่งเสริม บริหาร การวิจัย วิทยาศาสตร์ และ นวัตกรรม (งานวิจัย กาลังคน และ โครงสร้างพื้นฐาน) หน่วยงานขยายผล จากการวิจัย ศูนย์ความเป็นเลิศ ทางวิชาการ สถาบันวิจัย สถาบันอุดมศึกษา หน่วยงานนาผลงาน ไปชชปประโยชน์ หน่วยงานกากับนโยบาย
  • 8. www.nstda.or.th © NSTDA 2016 แนวทางการปฏิรูประบบวิจัย วิทยาศาสตร์ และนวัตกรรมของประเทศ ก่อนปฏิรูป ก่อนปฏิรูป หลังปฏิรูป • ไม่ได้ทาหน้าที่กาหนดนโยบายโดยแท้จริง • มีบทบาทสนับสนุนทุนวิจัย/ส่งเสริม เอกชนด้วย • การจัดสรรงบประาณแบบรายปี ทาให้ ไม่สอดคล้องกับการวิจัยที่ต่อเนื่อง • ขอบเขตงานไม่ชัดเจน • ระบบการติดตามและประเมินผล ยังไม่เข้มข้น วิจัยตามความสนใจ • ไม่กาหนดเป้าหมายชัดเจน • หน่วยงานรัฐเองยังใช้ประโยชน์จาก ผลงานวิจัยน้อย • กาหนดเป้าหมายการวิจัย • จัดสรรงบประมาณตามเป้าหมาย ประเทศ แล้วให้หน่วยบริหารงานวิจัย เป็นผู้จัดสรรงบประมาณลง โครงการตามยุทธศาสตร์ชาติ • ประเมินหน่วยงานบริหารงานวิจัย มีบทบาทหน้าที และขอบเขตการ สนับสนุน ที่ชัดเจน และครอบคลุมทุก สาขา กาหนดหรือมอบหมายขอบเขต งานวิจัยไปตามขีดความสามารถหลัก ของหน่วยงานวิจัย ให้ชัดเจน หน่วยงานรัฐ นาผลงานวิจัยของไทย ไปใช้ประโยชน์ โดยใช้กลไกการจัดซื้อ จัดจ้างภาครัฐ และการลงทุนร่วมรัฐ เอกชน เป็นตัวขับเคลื่อน หน่วยงาน ระดับ นโยบาย หน่วย บริหารและ สนับสนุน งานวิจัย หน่วย งานวิจัย หน่วยงาน พัฒนา หน่วยงาน นาผลงาน ไปใช้
  • 9. www.nstda.or.th © NSTDA 2016 9 แนวทางการดาเนินการ ระยะเร่งด่วน • ขอความเห็นชอบจาก นรม. (ปรับปรุงขอบเขตงาน ขององค์กรที่เกี่ยวข้อง / กรอบอานาจหน้าที่ใหม่ ของ กรรมการนโยบายวิจัยแห่งชาติ และ กรรมการนโยบาย ววทน .แห่งชาติ ) • แต่งตั้ง Superboard ของ การวิจัย และ ววทน. ของประเทศ เพื่อกาหนดกรอบงบประมาณประจาปี ทาให้การจัดสรรทุนแก่โครงการวิจัย สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ชาติ หรือ วาระแห่งชาติ • กาหนดแนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ สถาบันวิจัย จาก ผลงานและการนางานวิจัยไปใช้ ประโยชน์ ที่เป็นแนวเดียวกัน (ทั้งการวิจัยเพื่อ ความรู้ เพื่อเศรษฐกิจ หรือเพื่อสังคม) • ยกร่างกฎหมายเพื่อแก้ไขอานาจหน้าที่ขององค์กรที่ เกี่ยวข้องหลายองค์กรไปพร้อมกัน ระยะถัดไป • ปรับแก้กฎหมายต่างๆที่เกี่ยวข้อง เช่น พรบ. ของ หน่วยงานที่จะดาเนินการปฏิรูป • เร่งพัฒนาความสามารถในหน่วยงานบริหารงานวิจัย รายสาขา ที่ควรทาให้เข้มแข็งและคล่องตัวยิ่งขึ้น เช่น ด้านสุขภาพและการแพทย์ ด้านการเกษตร โดย อาจจะใช้กาลังของ สวทช. และ สกว. เป็นส่วน ขับเคลื่อน • ประกาศโครงการวิจัยขนาดใหญ่ที่สาคัญกับ New Engine for Growth เพื่อจัดสรรทุนวิจัยแก่ หน่วยงานวิจัยหรือสถาบันอุดมศึกษาที่มีความเป็นเลิศ ในด้านนั้นๆ เช่น หุ่นยนต์เพื่ออนาคต, Big Data Analytics, Industry 4.0 • สร้างความเข้มแข็งของการบริการของภาครัฐในเชิง facilitation แก่ภาคเอกชนในทุกด้าน เช่น การ ลดหย่อนภาษีจากการวิจัย การเคลื่อนย้ายบุคลากร จากภาครัฐไปช่วย การร่วมวิจัยระหว่างรัฐและเอกชน Open Government Data และการบริการทรัพย์สิน ทางปัญญาของกรมทรัพย์สินทางปัญญา
  • 10. www.nstda.or.th © NSTDA 2016 10 การกากับ นโยบาย การจัดองค์กร/ ภารกิจ การจัด งบประมาณ การบริหารจัดการ งานวิจัยสู่การใช้ ประโยชน์ เครือข่าย การทางาน การจัดให้มี ปัจจัยเอื้อ ประเด็นที่มีการเสนอเป็น แนวทางการ ปฏิรูป ววทน. • กำหนดเป้ำหมำย ววทน. รำยประเด็น รำยอุตสำหกรรม และรำยเทคโนโลยี • กำหนดและกำกับดูแล มำตรฐำน จริยธรรม กฏหมำย กฏระเบียบ • ศึกษำวิจัยนโยบำยเพื่อเสนอแนะรัฐบำล • ติดตำม ประเมินผล กำรจัดสรรทุนและภำพรวม • แยกหน้ำที่จำกกำรสนับสนุนวิจัย • หน่วยงำนกำกับนโยบำย • หน่วยจัดสรรทุนวิจัย • หน่วยบริหำรจัดกำรเทคโนโลยี • หน่วยวิจัยเฉพำะทำง • หน่วยงำนอื่นๆ ที่มีบุคลำกรวิจัย • หน่วยงำนใช้ประโยชน์งำนวิจัย • รำยประเด็นมุ่งเป้ำ/ท้ำทำย/ วำระแห่งชำติ/นโยบำยรัฐ • รำยสำขำอุตสำหกรรมศักยภำพ • รำยสำขำเทคโนโลยีที่มุ่งเน้น • รำยหน่วยงำน (วิจัยเพื่อภำรกิจหลัก) • รำยกำรในบัญชีควำมต้องกำรภำครัฐ • มีหน่วยบริหำรจัดกำรเทคโนโลยี ในกำรขยำยผลงำนวิจัย • สนับสนุน ววทน. ในภำคเอกชน • สร้ำงผู้ประกอบกำร ววทน. • ส่งเสริมกำรจัดซื้อจัดจ้ำงภำครัฐ และ สร้ำงค่ำนิยมกำรใช้นวัตกรรมไทย • ใช้กลไกประชำรัฐ มีสภำ ววทน. • ทำหน้ำที่ผ่ำนกฏหมำยที่จำเป็น • กำหนดกรอบกำรลงทุน ววทน. ของ ประเทศในพระรำชบัญญัติงบประมำณ • เห็นชอบมำตรกำรส่งเสริมต่ำงๆ • สร้ำงให้ประเทศไทยมี ววทน. เป็นรำกฐำน ของสังคมและเศรษฐกิจ • ระดับรัฐบำลกับรัฐบำล (Diplomacy) • ระดับหน่วยงำนกับหน่วยงำน (ววทน. ด้วยกัน หรือ ววทน. กับหน่วยงำนใช้ประโยชน์) • ระดับภำคีกับภำคี (รัฐ เอกชน ชุมชน สังคม)
  • 11. www.nstda.or.th © NSTDA 2016 หน่วยงานขยายผล ชชปประโยชน์งานวิจัย (ไม่มีนักวิจัย) หน่วยกากับนโยบาย (ไม่มีภารกิจวิจัย มีบุคลากรวิจัยเฉพาะนโยบาย) หน่วยจัดสรรทุนวิจัย (ไม่มีภารกิจวิจัย ไม่มีบุคลากรวิจัย) หน่วยบริหารจัดการ วทน. (มีภารกิจวิจัย และมีบุคลากรวิจัย) หน่วยวิจัยเฉพาะทาง (มีภารกิจวิจัย และมีบุคลากรวิจัย) หน่วยงานอื่นๆ (วิจัยไม่ใช่ภารกิจหลักแต่มีบุคลากรวิจัย) อก. สสว.วศ. TCELSหน่วย บริการ วทน. สวทช. National Labs สวรสสกว วิจัย วว ทน สวก COE วว. สดร. ปส. NIA ทก.กระทรวง ต่างๆ สสนก สทอภ มว. ระบบนวัตกรรมไทยชนอนาคต 11
  • 12. www.nstda.or.th © NSTDA 2016 12 ขอบคุณครับ
  • 13. www.nstda.or.th © NSTDA 2016 ปัญหาด้านความเข้มแข็งด้าน ววทน. ของประเทศไทย • มีรายจ่ายทางเทคโนโลยี ๓๑๔,๐๗๑ ล้านบาท (๒.๔๓% ของ GDP) และขาด ดุลการชาระเงินค่าธรรมเนียมทางเทคโนโลยี ๒๑๑,๓๗๖ ล้านบาท (ปี ๒๕๕๖) หรือประมาณ ๑.๖๓% ของ GDP* • ทั้งประเทศ ลงทุนด้านวิจัย+พัฒนาเพียง ๐.๒๕% ของ GDP (ปี ๒๕๕๒) ถึง ๐.๔๗% ของ GDP (ปี ๒๕๕๖) • ภาคเอกชนมีการเพิ่มสัดส่วนการลงทุนด้านวิจัย+พัฒนา จาก ๔๑% ของทั้งหมดใน ปี ๒๕๕๒) เป็น ๔๗% ของทั้งหมด ในปี ๒๕๕๖ • โครงการลงทุนขนาดใหญ่ของประเทศ มักจะ “เร่งรีบ” ไม่ได้วางแผนพร้อมกับการ พัฒนาความแข็งแกร่งของภาคอุตสาหกรรมนั้นๆในประเทศ และจบด้วยการให้การ สนับสนุนแก่บริษัทพ่อค้า มากกว่าบริษัทเทคโนโลยี • การขาดดุลด้านเทคโนโลยีของไทย หมายถึง เราไปจ่ายค่าวิจัยและพัฒนาออกไป ให้แก่บริษัทต่างประเทศที่คิดค่าเทคโนโลยีรวมมากับค่าสินค้า แทนที่เราจะชวนให้เขา มาวิจัยเพื่อพัฒนาคนไทยในประเทศ 13 * (GDP ปี ๒๕๕๖ = ๑๒.๙ ล้านล้านบาท)
  • 14. www.nstda.or.th © NSTDA 2016 ปัญหาด้านการจัดการการวิจัยไทย • การจัดการงานวิจัยกระจัดกระจาย โครงการเล็กๆ ย่อยๆ ไม่เชื่อมโยงสู่การผลิต และบริการ • ขาดแคลนงบประมาณวิจัยเพื่อแปลงผลงานไปสู่การผลิต (translational research) ซึ่งต้องใช้ต้นทุนสูง มีความเสี่ยงด้านการตลาดสูง • การประสานงานของหน่วยงานภาครัฐที่จัดการงานวิจัยยังขาดประสิทธิภาพ • โครงสร้างพื้นฐานการสอบวัดมาตรฐานผลิตภัณฑ์ยังมีน้อย • ตลาดภาครัฐและระเบียบพัสดุ กีดกันผู้ประกอบการภายในประเทศที่เพิ่งพัฒนา สินค้าออกสู่ตลาด • แรงกระตุ้นส่งเสริมให้เอกชนเพิ่มการวิจัยยังต่ากว่าประเทศเพื่อนบ้าน 14* (GDP ปี ๒๕๕๖ = ๑๒.๙ ล้านล้านบาท)
  • 15. www.nstda.or.th © NSTDA 2016 สถานการณ์ที่ผ่านมา • เริ่มมีนโยบายการวิจัยเมื่อ ปี พ.ศ. ๒๕๐๒ • ในปี พ.ศ. ๒๕๓๔ และ ๒๕๓๕ ได้มีการเร่งรัดให้ทาการวิจัยและพัฒนามากขึ้น โดยตั้ง สวทช. (ทางานด้าน วทน.) และ สกว. (สนับสนุนการวิจัย) • ช่วง ๒๕๓๕ จนถึง ๒๕๕๔ มีการตั้งสถาบันต่างๆมากมาย ส่วนใหญ่เป็น องค์การมหาชน เพื่อเร่งรัดการนาความรู้มาพัฒนาประเทศ • ในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ มีการตั้งสานักงานคณะกรรมการนโยบาย วทน.แห่งชาติ • ในปีงบประมาณ ๒๕๕๙ มีงบประมาณบูรณาการการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา ของภาครัฐ ๒๔,๙๘๑ ล้านบาท (คาดว่าเอกชน มีกิจกรรมวิจัยในปริมาณที่ เท่ากัน) • สวทช. ได้รับงบประมาณแผ่นดินในปี ๒๕๕๙ รวม ๓,๐๘๑ ล้านบาท (๑๒.๓% ของงบประมาณบูรณาการ) เพื่อทาหน้าที่สี่ด้าน คือ วิจัยและพัฒนา/ถ่ายทอด เทคโนโลยี/สร้างและบริการโครงสร้างพื้นฐานด้าน วทน./พัฒนากาลังคน ถือว่า น้อยมาก 15