SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 5
Baixar para ler offline
PRODUCTIVITY WORLD
2501
PRODUCTIVITY WORLD
INTERVIEW ISSUE 119 • November-December 2015
กองบรรณาธิการ
คุณวนัส แต้ไพสิฐพงษ์
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
เครือเบทาโกร
เรานำาเอา
‘การบริหารผลิตภาพโดยรวม’
หรือ
‘Total Productivity Management’
มาใช้ทั่วทั้งองค์กร ซึ่งเป็นจุดเปลี่ยน
สำาคัญ ที่ทำาให้องค์กรฃองเรา
เป็นองค์กรแห่ง
Productivity
"
“ช่องสาริกา”โมเดล
Share Value เบทาโกรของ
PRODUCTIVITY WORLD
2601
PRODUCTIVITY WORLD
ด้วยความตระหนักว่า ธุรกิจและสังคม
ต้องพึ่งพาซึ่งกันและกัน องค์กรธุรกิจ
จะประสบความส�าเร็จได้ก็ต่อเมื่อได้รับ
การสนับสนุนจากสังคมที่มีมาตรฐาน
คุณภาพชีวิตที่ดีเช่นได้รับการศึกษาตามเกณฑ์
เป็นอย่างน้อยได้รับการดูแลด้านสุขภาพอนามัย
รวมทั้งสมาชิกของสังคมได้รับโอกาสอย่าง
เท่าเทียม ซึ่ง Porter และ Kramer กูรูทาง
ด้านการบริหารจัดการองค์กรได้กล่าวไว้ จึง
เกิดโมเดลใหม่ในการท�า CSR ของเครือ
เบทาโกร ที่ยกระดับไปสู่ Share Value
จากการเรียนรู้แบบ Action Learning คือ
ท�าไปเรียนรู้ไป
ตลอดระยะเวลากว่า 48 ปี เครือเบทาโกรถือได้ว่าเป็นองค์กรธุรกิจใหญ่ของประเทศ
ประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมการเกษตรและอาหารครบวงจร ตั้งแต่ธุรกิจอาหารสัตว์ ปศุสัตว์
ผลิตภัณฑ์ส�าหรับสุขภาพสัตว์ ไปจนถึงผลิตภัณฑ์อาหารคุณภาพเพื่อการส่งออกและจ�าหน่าย
ในประเทศ ภายใต้แนวคิด “เพื่อคุณภาพชีวิต”
ความส�าเร็จของเบทาโกรส่วนหนึ่งมาจากการน�าเอาองค์ความรู้ด้าน Productivity มา
ใช้ในการพัฒนาองค์กรตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ซึ่งคุณวนัสได้กล่าวถึงเรื่องนี้ว่า “เราน�าเอา
‘การบริหารผลิตภาพโดยรวม’ หรือ ‘TotalProductivityManagement’ มาใช้ทั่วทั้งองค์กร
ซึ่งเป็นจุดเปลี่ยนส�าคัญ ที่ท�าให้องค์กรของเราเป็นองค์กรแห่ง Productivity และผมก็
เห็นว่า Productivity เป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์มาก นอกจากจะท�าให้ประสบความส�าเร็จ
ในทางธุรกิจแล้ว คนของเราก็พัฒนาความสามารถจากการใช้เครื่องมือตัวนี้ ดังนั้นเมื่อตัดสิน
ใจลงไปท�างานกับชุมชน ผมจึงคิดว่าองค์ความรู้ที่มีที่เราจะน�าไปช่วยชุมชนได้ก็คือ
Productivity นี่แหละ”
“ตอนลงชุมชนช่วงแรก รูปแบบที่เราไปช่วยคล้ายกับการสร้างอาชีพเสริม โดยผ่านการทำา
ธนาคารชุมชน ผมรู้สึกว่ามันไม่น่าจะแก้อะไรได้เยอะ แต่พอนำาเอา Productivity เข้าไป
ช่วยเกษตรกรในอาชีพหลัก จึงเกิดความเชื่อมั่นว่าเรามาถูกทางแล้ว”
เบทาโกร กับ
Productivity
ในคอลัมน์Interview ฉบับนี้ได้รับเกียรติ
จากคุณวนัสแต้ไพสิฐพงษ์ประธานเจ้าหน้าที่
บริหาร เครือเบทาโกร มาบอกเล่าเส้น
ทางการเรียนรู้ที่ท�าให้เกิด ‘ช่องสาริกา
โมเดล’ รูปแบบใหม่ในการสร้างสังคมไปสู่
ความยั่งยืน
PRODUCTIVITY WORLD
2701
PRODUCTIVITY WORLD
คุณวนัสกล่าวต่อไปว่า “จุดเริ่มต้นที่เข้าไปท�างานกับชุมชน เพราะว่าธุรกิจของเรายังต้อง
พึ่งพาแรงงาน เมื่อผมไปต่างประเทศก็ได้เรียนรู้ว่า ต่อไปกฎหมายการคุ้มครองแรงงานจะ
มีมาตรฐานสูงขึ้น ซึ่งหมายความว่าต้องดูแลแรงงานให้ดีกว่าเดิม รวมไปถึงมาตรฐานชีวิต
ของเขาด้วย เช่นเดียวกับสังคมที่เราต้องอยู่ร่วมกัน ท�าอย่างไรที่จะท�าให้สังคมมีความ
เข้มแข็ง เพราะเขาอยู่ได้ เราจึงจะอยู่ได้ ผมจึงคิดว่าต้องเริ่มต้นท�างานกับเขาก่อน เพื่อที่จะ
ได้เรียนรู้วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ รวมถึงความต้องการที่แท้จริง แต่ท�ามาสักพักก็รู้สึกสนุก
ได้เรียนรู้ในหลายๆ สิ่ง หลายๆ อย่าง จากการที่ท�าไปเรียนรู้ไป จากหนึ่งเรื่องกลายเป็นท�า
ครบทั้งองค์รวมของชุมชน จึงกลายเป็นรูปแบบที่เราเรียกว่า “ช่องสาริกาโมเดล”
ช่องสาริกาเป็นชื่อตำาบลอยู่ใน อ.พัฒนานิคม จ.ลพบุรี ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีบริษัทในเครือ
เบทาโกรอยู่หลายบริษัท ด้วยความเหมาะสมของพื้นที่ ที่อยู่ระหว่างชุมชนกับบริษัท ซึ่ง
เป็นการง่ายต่อการนำาทรัพยากรมาช่วยเหลือชุมชน ช่องสาริกาจึงได้รับเลือกเป็นพื้นที่แรก
ในการทำางานกับชุมชนของเครือเบทาโกร
ช่องสาริกา โมเดล
การท�างานในช่วงแรกมุ่งเน้นไปที่การส่งเสริมอาชีพตามความเชี่ยวชาญของเบทาโกร
นั่นคือการปลูกพืชและการเลี้ยงสัตว์ แต่เนื่องจากผู้ที่ลงไปท�างานมีแนวคิด Productivity
เป็นพื้นฐาน จึงท�างานไปพร้อมกับการเก็บข้อมูลเพื่อวิเคราะห์ปัญหา รวมทั้งการน�าเอาการ
วิจัยเชิงลึกเข้าไปร่วมด้วย จึงท�าให้เกิดการเรียนรู้ว่า การพัฒนาชุมชนที่แท้จริงนั้นไม่สามารถ
จะท�าด้านใดด้านหนึ่งได้ ช่องสาริกาโมเดลจึงเกิดขึ้นด้วยแนวคิด ‘การพัฒนาพื้นที่แบบองค์รวม
(Holistic Area-Based Development)
มีเป้าหมายหลักเพื่อพัฒนาและยกระดับ
คุณภาพชีวิตของประชาชน ซึ่งคุณวนัสได้
ขยายความให้ฟังว่า “ค�าว่า ‘องค์รวม’ หรือ
‘Holistic’ หมายถึง ความสัมพันธ์ที่เชื่อมโยง
กัน ยกตัวอย่างเช่น ถ้ามีอาชีพดี สุขภาพ
ไม่ดี ก็ท�างานไม่ได้ ทั้งยังต้องเสียเงินเพื่อ
จ่ายค่ารักษาสุขภาพอีก ถัดมาเป็นเรื่อง
‘สิ่งแวดล้อม’ ที่เกี่ยวข้องโดยตรง คือ
ชาวบ้านในพื้นที่นี้ส่วนมากมีอาชีพปลูกพืช
ดังนั้น จึงเกี่ยวข้องกับเรื่องดินและน�้า เพราะ
การปลูกพืช ถ้าดินไม่ดี ผลผลิตก็จะไม่ดี เรา
ท�าทุกอย่างโดยใช้ความรู้ ไม่ใช่ความเชื่อ
เพราะฉะนั้นองค์ความรู้จึงเป็นเรื่องหลัก
คือ1.ต้องท�าซ�้าได้ เช่น ปีนี้ปลูกมันดี ปีหน้า
ต้องดีเหมือนเดิม หรือ ถ้าปลูกไม่ดีก็ต้อง
เข้าใจว่าสาเหตุคืออะไร2.ขยายผลได้ ซึ่งเป็น
สิ่งส�าคัญของการท�าโมเดล โดยมีหน่วยงาน
ในเครือช่วยถอดบทเรียน แล้วน�าบทเรียนนั้น
มาไว้ที่โรงเรียน เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และ
ครูก็ได้เห็น เมื่อวันหนึ่งเขาเรียนจบมาท�างาน
เขาจะได้มีความรู้พื้นฐานที่ถูกยกระดับขึ้นมา”
PRODUCTIVITY WORLD
2801
PRODUCTIVITY WORLD
สิ่งส�าคัญที่สุดคือ เจ้าภาพหรือความรู้สึก
เป็นเจ้าของ (Ownership) หมายถึงชุมชน
ต้องมีใจอยากที่จะพัฒนาก่อน ซึ่งต้องมี
กระบวนการที่จะเตรียมความพร้อม โดยเริ่ม
จากการก�าหนดขอบเขตพื้นที่ที่ชัดเจน
(Area-based) หลังจากนั้นจะเริ่มเก็บข้อมูล
เพื่อดูความต้องการของชุมชน ขั้นตอนถัดไป
คือการเลือกองค์ความรู้ที่เหมาะสม ตรงนี้
อาจจะมีหน่วยงานอื่นๆ ที่มีองค์ความรู้
เข้ามามีส่วนร่วม เช่น เกษตรจังหวัด
มหาวิทยาลัยเป็นต้นเพราะเราให้ความส�าคัญ
กับการท�างานแบบสร้างพันธมิตร (Open
Collaboration) ในการให้ความรู้นั้น เรา
ท�ากิจกรรมทั้ง 3 ส่วนประกอบกัน คือ
1.การศึกษาดูงาน เพื่อสร้างแรงบันดาลใจ
2.การท�าแปลงทดลองเพื่อพิสูจน์ว่าท�าได้จริง
และ 3.การฝึกอบรมโดยหน่วยงานวิชาการ
เพื่อเสริมองค์ความรู้ทั้งนี้เบทาโกรท�าหน้าที่เป็น
ผู้สนับสนุนด้านทรัพยากรในเบื้องต้น
(Sponsor) เพื่อคอยผลักดันให้โครงการเดิน
หน้าไปได้ ซึ่งหลังจากนั้นเมื่อชุมชนพร้อมที่
จะเดินต่อไปได้ด้วยตัวเอง ก็จะไม่จ�าเป็นต้อง
มีสปอนเซอร์อีกต่อไป
ด้านกลยุทธ์ที่จะท�าให้การ
พัฒนาประสบความส�าเร็จ
ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ
เจ้าภาพที่มีส่วนร่วม
องค์ความรู้
ผู้สนับสนุนด้านทรัพยากร
Ownership
Knowledge
Sponsor
กระบวนการเรียนรู้สู่
การพัฒนาชุมชน
คุณวนัสได้กล่าวถึงแนวคิดในการพัฒนา
ชุมชนจากการเรียนรู้ว่า “ผมไม่แน่ใจว่าค�า
ว่า ‘Impact’ กับ ‘ยั่งยืน’ มันมาตอนไหน
แต่พอได้เรียนรู้ไปเรื่อยๆ เราก็เริ่มเห็น
แนวทางที่จะท�าให้มีสองสิ่งนี้ เราได้เห็น
กระบวนการพัฒนาชุมชนอย่างที่ควรจะเป็น
ซึ่งท�าให้เรามั่นใจว่าด้วยกระบวนการหรือ
โมเดลแบบนี้แหละที่เราจะน�าไปขยายผล
ต่อไป”
เบทาโกรได้ค้นพบกระบวนการพัฒนา
ชุมชนจากการลงไปท�างานที่ช่องสาริกา คือ
ต้องเริ่มต้นด้วยการเตรียมทีมงานซึ่งจะต้อง
คัดเลือกคนที่มีความเหมาะสมทั้งความรู้
ความสามารถ และทัศนคติ หลังจากนั้นก็
จะต้องเตรียมข้อมูลพื้นที่ ในขั้นตอนที่สอง
เป็นขั้นตอนการสร้างความสนิทสนมกับ
ชุมชนด้วยกิจกรรมต่างๆ เช่น ธนาคาร
ชุมชน โรงเรียนคุณธรรม และการท�าอาชีพ
เสริม จากขั้นตอนนี้ทีมงานจะมีความรู้และ
ความเข้าใจในบริบทชุมชนมากขึ้น มีข้อมูล
จากพื้นที่จริงที่จะน�ามาวิเคราะห์และเข้าใจ
ปัญหาได้ลึกซึ้งขึ้น ซึ่งน�ามาสู่ขั้นตอนที่สี่คือ
การวางแผนงานให้สอดคล้องกับการแก้ไข
ปัญหาของชุมชน ซึ่งทีมงานเบทาโกรพบว่า
จะต้องจัดการกับปัญหาทั้ง 5 ด้าน คือ
ด้านอาชีพ (เศรษฐกิจ) ด้านสุขภาพ
(สาธารณสุข) ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านสังคม
และด้านการศึกษา ทั้งหมดนี้จึงจะเป็น
การพัฒนาแบบองค์รวม หรือ Holistic
นั่นเอง
ทั้งนี้ ในการพัฒนาอาชีพหลักของชุมชน
จะต้องมีการวางแผนการใช้ทรัพยากร และ
การน�าเอาแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
มาใช้ในการด�าเนินชีวิตของคนในชุมชน เพื่อ
ให้มีความยั่งยืน หลังจากนั้นคือการลงมือ
ปฏิบัติและปรับปรุงอย่างต่อเนื่องตามวงจร
คุณภาพ PDCA ซึ่งท�าให้เกิดโมเดล
การพัฒนาแบบเป็นองค์รวมในที่สุดดังที่
กล่าวมา และโมเดลนี้จึงเป็นต้นแบบที่จะ
ขยายผลต่อไป
	
  
PRODUCTIVITY WORLD
2901
PRODUCTIVITY WORLD
ผลลัพธ์ของความส�าเร็จ
ด้านสิ่งแวดล้อม
ด้านอาชีพ
ด้านสังคม ด้านสุขภาพ
คุณวนัสได้กล่าวถึงความคาดหวังเอาไว้ว่า “ช่องสาริกาเปรียบ
เสมือนเป็นห้องทดลองของเรา ผมตั้งเป้าความส�าเร็จไว้ที่80% คือท�า
อย่างไรในทุกเรื่องที่เราท�าจะต้องได้ผลไม่ต�่ากว่า80% และเราก็ไม่ได้
ท�าคนเดียว เราได้ดึงเอาผู้เชี่ยวชาญและหน่วยงานต่างๆ ลงพื้นที่เป็น
จ�านวนมาก เช่น ผู้เชี่ยวชาญเรื่องน�้า ผู้เชี่ยวชาญเรื่องการปลูกมัน
ส�าปะหลัง ผู้เชี่ยวชาญเรื่องการปลูกอ้อย จากองค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐ
และเอกชน และหวังว่าเมื่อไปท�าที่อื่นต่อไปเราจะใช้เวลาสั้นขึ้น ใช้
คนน้อยลง ซึ่งมันก็คือแนวคิด Productivity นั่นเอง”
จากการเรียนรู้ ลองผิด ลองถูก จนกระทั่งเกิดเป็น ‘ช่องสาริกาโมเดล’ การพัฒนาแบบ
องค์รวม ซึ่งได้รับการพิสูจน์ด้วยระยะเวลาและความสำาเร็จ ซึ่งโมเดลนี้กำาลังขยายผลต่อใน
พื้นที่อื่นๆ เพื่อให้สังคมไทยไปสู่ความสามารถในการพึ่งตนเอง และนั่นคือสิ่งที่สำาคัญที่สุดของ
การสร้างความยั่งยืนและการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
เบทาโกรได้สร้างการมีส่วนร่วมระหว่าง
ชุมชนและหน่วยงานเพื่อจัดการคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมให้เกิดความยั่งยืน โดยเริ่มตั้งแต่
ต้นน�้า เช่น มีการเก็บข้อมูลเชิงลึกของทีม
งานแหลมผักเบี้ย เพื่อก�าหนดแนวทางใน
การพัฒนาคลองซับตะเคียน แหล่งน�้าของ
ชุมชน กลางน�้า เช่น ขุดลอกท�าความสะอาด
ฝาย และปลายน�้า โดยกระบวนการติดตาม
ประเมินผลและการจัดการความรู้ เพื่อรักษา
คุณภาพน�้าให้สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่าง
เหมาะสม เช่น การค�านวณปริมาณน�้าเพื่อ
การเพาะปลูก เป็นต้น
เพื่อสร้างกลไกขับเคลื่อนให้ชุมชนมี
เงินทุน รวมทั้งการสนับสนุนปัจจัย เพื่อ
ให้ได้ผลผลิตจากการประกอบอาชีพหลัก
อย่างเพียงพอ โดยไม่กู้เงินนอกระบบ และ
พึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน จึงเกิดธนาคาร
พัฒนาหมู่บ้านที่จะก้าวสู่บริษัท/ สหกรณ์
เพื่อเป็นช่องทางรับซื้อขายผลผลิตของ
ชุมชน ซึ่งจะท�าให้มีก�าไรเลี้ยงตัวเองได้ มี
เงินปันผล และพัฒนาช่วยเหลือตนเอง
และชุมชนได้ในที่สุด
ทีมงานเบทาโกรได้เข้าไปช่วยให้ชุมชนมี
การดูแลผู้ป่วยด้วยตนเอง เช่น การท�า
กายภาพบ�าบัดและการฟื้นฟูสุขภาพจิต
นอกจากนี้ เบทาโกรยังได้ร่วมพัฒนาระบบ
บริการของโรงพยาบาลชุมชน อาทิ
การปรับปรุง OPD ด้วยการลดระยะทาง
เคลื่อนย้ายผู้ป่วยภายในโรงพยาบาล
ส่งเสริมสุขภาพส่วนต�าบลช่องสาริกาและ
โรงพยาบาลพัฒนานิคมจากเดิมระยะทาง
90.43 เมตร เหลือเพียง70.90 เมตร รวมทั้ง
ยังร่วมมือกับหน่วยงานอื่นๆ ด้วยการใช้
แนวคิดKaizen ท�าให้เกิดนวัตกรรมส�าหรับ
ผู้ป่วยติดเตียงอีกด้วย
"
เพื่อให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น เบทาโกรได้เข้าไปพัฒนาอาชีพหลักให้มีการบริหาร
จัดการที่มีประสิทธิภาพ และเข้าไปช่วยเรื่องอาชีพเสริม คือ การท�าเกษตรแบบผสมผสาน
เพื่อสร้างรายได้เพิ่มในระหว่างรอผลผลิตจากการปลูกพืชหลักคือ มันส�าปะหลัง อ้อย
และข้าวโพด ท�าให้เกษตรกรมีรายได้ตลอดปี เป็นค่าใช้จ่ายประจ�าวัน

Mais conteúdo relacionado

Mais de Thailand Productivity Institute

"ตัดสินใจอย่างไรให้พลาดน้อยที่สุด"
"ตัดสินใจอย่างไรให้พลาดน้อยที่สุด""ตัดสินใจอย่างไรให้พลาดน้อยที่สุด"
"ตัดสินใจอย่างไรให้พลาดน้อยที่สุด"Thailand Productivity Institute
 
"บางจากปิโตรเลียมสามทศวรรษแห่งวัฒนธรรมการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน"
"บางจากปิโตรเลียมสามทศวรรษแห่งวัฒนธรรมการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน""บางจากปิโตรเลียมสามทศวรรษแห่งวัฒนธรรมการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน"
"บางจากปิโตรเลียมสามทศวรรษแห่งวัฒนธรรมการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน"Thailand Productivity Institute
 
[บทความ] พัฒนาภาวะผู้นำด้วยความคิด
[บทความ] พัฒนาภาวะผู้นำด้วยความคิด [บทความ] พัฒนาภาวะผู้นำด้วยความคิด
[บทความ] พัฒนาภาวะผู้นำด้วยความคิด Thailand Productivity Institute
 
[บทความ] จะอยู่รอดอย่างไรในความไม่แน่นอน
[บทความ] จะอยู่รอดอย่างไรในความไม่แน่นอน[บทความ] จะอยู่รอดอย่างไรในความไม่แน่นอน
[บทความ] จะอยู่รอดอย่างไรในความไม่แน่นอนThailand Productivity Institute
 
ปลุกยักษ์ให้ตื่น ด้วยพลังแห่งผลิตภาพ
ปลุกยักษ์ให้ตื่น ด้วยพลังแห่งผลิตภาพปลุกยักษ์ให้ตื่น ด้วยพลังแห่งผลิตภาพ
ปลุกยักษ์ให้ตื่น ด้วยพลังแห่งผลิตภาพThailand Productivity Institute
 
[หลักสูตรอบรม] Productivity Leader Program
[หลักสูตรอบรม] Productivity Leader Program [หลักสูตรอบรม] Productivity Leader Program
[หลักสูตรอบรม] Productivity Leader Program Thailand Productivity Institute
 

Mais de Thailand Productivity Institute (10)

"ตัดสินใจอย่างไรให้พลาดน้อยที่สุด"
"ตัดสินใจอย่างไรให้พลาดน้อยที่สุด""ตัดสินใจอย่างไรให้พลาดน้อยที่สุด"
"ตัดสินใจอย่างไรให้พลาดน้อยที่สุด"
 
"บางจากปิโตรเลียมสามทศวรรษแห่งวัฒนธรรมการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน"
"บางจากปิโตรเลียมสามทศวรรษแห่งวัฒนธรรมการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน""บางจากปิโตรเลียมสามทศวรรษแห่งวัฒนธรรมการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน"
"บางจากปิโตรเลียมสามทศวรรษแห่งวัฒนธรรมการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน"
 
Productivity food for thought 26 6_58
Productivity food for thought 26 6_58Productivity food for thought 26 6_58
Productivity food for thought 26 6_58
 
[บทความ] พัฒนาภาวะผู้นำด้วยความคิด
[บทความ] พัฒนาภาวะผู้นำด้วยความคิด [บทความ] พัฒนาภาวะผู้นำด้วยความคิด
[บทความ] พัฒนาภาวะผู้นำด้วยความคิด
 
[บทความ] จะอยู่รอดอย่างไรในความไม่แน่นอน
[บทความ] จะอยู่รอดอย่างไรในความไม่แน่นอน[บทความ] จะอยู่รอดอย่างไรในความไม่แน่นอน
[บทความ] จะอยู่รอดอย่างไรในความไม่แน่นอน
 
โลกในอนาคต
โลกในอนาคตโลกในอนาคต
โลกในอนาคต
 
ปลุกยักษ์ให้ตื่น ด้วยพลังแห่งผลิตภาพ
ปลุกยักษ์ให้ตื่น ด้วยพลังแห่งผลิตภาพปลุกยักษ์ให้ตื่น ด้วยพลังแห่งผลิตภาพ
ปลุกยักษ์ให้ตื่น ด้วยพลังแห่งผลิตภาพ
 
[หลักสูตรอบรม] Productivity Leader Program
[หลักสูตรอบรม] Productivity Leader Program [หลักสูตรอบรม] Productivity Leader Program
[หลักสูตรอบรม] Productivity Leader Program
 
[CSR] "คืนสู่ธรรมชาติ
[CSR] "คืนสู่ธรรมชาติ [CSR] "คืนสู่ธรรมชาติ
[CSR] "คืนสู่ธรรมชาติ
 
Productivity food for_thought_6_feb_15
Productivity food for_thought_6_feb_15Productivity food for_thought_6_feb_15
Productivity food for_thought_6_feb_15
 

[Productivity World] “ช่องสาริกา” โมเดล Share Value ของเบทาโกร

  • 1. PRODUCTIVITY WORLD 2501 PRODUCTIVITY WORLD INTERVIEW ISSUE 119 • November-December 2015 กองบรรณาธิการ คุณวนัส แต้ไพสิฐพงษ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เครือเบทาโกร เรานำาเอา ‘การบริหารผลิตภาพโดยรวม’ หรือ ‘Total Productivity Management’ มาใช้ทั่วทั้งองค์กร ซึ่งเป็นจุดเปลี่ยน สำาคัญ ที่ทำาให้องค์กรฃองเรา เป็นองค์กรแห่ง Productivity " “ช่องสาริกา”โมเดล Share Value เบทาโกรของ
  • 2. PRODUCTIVITY WORLD 2601 PRODUCTIVITY WORLD ด้วยความตระหนักว่า ธุรกิจและสังคม ต้องพึ่งพาซึ่งกันและกัน องค์กรธุรกิจ จะประสบความส�าเร็จได้ก็ต่อเมื่อได้รับ การสนับสนุนจากสังคมที่มีมาตรฐาน คุณภาพชีวิตที่ดีเช่นได้รับการศึกษาตามเกณฑ์ เป็นอย่างน้อยได้รับการดูแลด้านสุขภาพอนามัย รวมทั้งสมาชิกของสังคมได้รับโอกาสอย่าง เท่าเทียม ซึ่ง Porter และ Kramer กูรูทาง ด้านการบริหารจัดการองค์กรได้กล่าวไว้ จึง เกิดโมเดลใหม่ในการท�า CSR ของเครือ เบทาโกร ที่ยกระดับไปสู่ Share Value จากการเรียนรู้แบบ Action Learning คือ ท�าไปเรียนรู้ไป ตลอดระยะเวลากว่า 48 ปี เครือเบทาโกรถือได้ว่าเป็นองค์กรธุรกิจใหญ่ของประเทศ ประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมการเกษตรและอาหารครบวงจร ตั้งแต่ธุรกิจอาหารสัตว์ ปศุสัตว์ ผลิตภัณฑ์ส�าหรับสุขภาพสัตว์ ไปจนถึงผลิตภัณฑ์อาหารคุณภาพเพื่อการส่งออกและจ�าหน่าย ในประเทศ ภายใต้แนวคิด “เพื่อคุณภาพชีวิต” ความส�าเร็จของเบทาโกรส่วนหนึ่งมาจากการน�าเอาองค์ความรู้ด้าน Productivity มา ใช้ในการพัฒนาองค์กรตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ซึ่งคุณวนัสได้กล่าวถึงเรื่องนี้ว่า “เราน�าเอา ‘การบริหารผลิตภาพโดยรวม’ หรือ ‘TotalProductivityManagement’ มาใช้ทั่วทั้งองค์กร ซึ่งเป็นจุดเปลี่ยนส�าคัญ ที่ท�าให้องค์กรของเราเป็นองค์กรแห่ง Productivity และผมก็ เห็นว่า Productivity เป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์มาก นอกจากจะท�าให้ประสบความส�าเร็จ ในทางธุรกิจแล้ว คนของเราก็พัฒนาความสามารถจากการใช้เครื่องมือตัวนี้ ดังนั้นเมื่อตัดสิน ใจลงไปท�างานกับชุมชน ผมจึงคิดว่าองค์ความรู้ที่มีที่เราจะน�าไปช่วยชุมชนได้ก็คือ Productivity นี่แหละ” “ตอนลงชุมชนช่วงแรก รูปแบบที่เราไปช่วยคล้ายกับการสร้างอาชีพเสริม โดยผ่านการทำา ธนาคารชุมชน ผมรู้สึกว่ามันไม่น่าจะแก้อะไรได้เยอะ แต่พอนำาเอา Productivity เข้าไป ช่วยเกษตรกรในอาชีพหลัก จึงเกิดความเชื่อมั่นว่าเรามาถูกทางแล้ว” เบทาโกร กับ Productivity ในคอลัมน์Interview ฉบับนี้ได้รับเกียรติ จากคุณวนัสแต้ไพสิฐพงษ์ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร เครือเบทาโกร มาบอกเล่าเส้น ทางการเรียนรู้ที่ท�าให้เกิด ‘ช่องสาริกา โมเดล’ รูปแบบใหม่ในการสร้างสังคมไปสู่ ความยั่งยืน
  • 3. PRODUCTIVITY WORLD 2701 PRODUCTIVITY WORLD คุณวนัสกล่าวต่อไปว่า “จุดเริ่มต้นที่เข้าไปท�างานกับชุมชน เพราะว่าธุรกิจของเรายังต้อง พึ่งพาแรงงาน เมื่อผมไปต่างประเทศก็ได้เรียนรู้ว่า ต่อไปกฎหมายการคุ้มครองแรงงานจะ มีมาตรฐานสูงขึ้น ซึ่งหมายความว่าต้องดูแลแรงงานให้ดีกว่าเดิม รวมไปถึงมาตรฐานชีวิต ของเขาด้วย เช่นเดียวกับสังคมที่เราต้องอยู่ร่วมกัน ท�าอย่างไรที่จะท�าให้สังคมมีความ เข้มแข็ง เพราะเขาอยู่ได้ เราจึงจะอยู่ได้ ผมจึงคิดว่าต้องเริ่มต้นท�างานกับเขาก่อน เพื่อที่จะ ได้เรียนรู้วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ รวมถึงความต้องการที่แท้จริง แต่ท�ามาสักพักก็รู้สึกสนุก ได้เรียนรู้ในหลายๆ สิ่ง หลายๆ อย่าง จากการที่ท�าไปเรียนรู้ไป จากหนึ่งเรื่องกลายเป็นท�า ครบทั้งองค์รวมของชุมชน จึงกลายเป็นรูปแบบที่เราเรียกว่า “ช่องสาริกาโมเดล” ช่องสาริกาเป็นชื่อตำาบลอยู่ใน อ.พัฒนานิคม จ.ลพบุรี ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีบริษัทในเครือ เบทาโกรอยู่หลายบริษัท ด้วยความเหมาะสมของพื้นที่ ที่อยู่ระหว่างชุมชนกับบริษัท ซึ่ง เป็นการง่ายต่อการนำาทรัพยากรมาช่วยเหลือชุมชน ช่องสาริกาจึงได้รับเลือกเป็นพื้นที่แรก ในการทำางานกับชุมชนของเครือเบทาโกร ช่องสาริกา โมเดล การท�างานในช่วงแรกมุ่งเน้นไปที่การส่งเสริมอาชีพตามความเชี่ยวชาญของเบทาโกร นั่นคือการปลูกพืชและการเลี้ยงสัตว์ แต่เนื่องจากผู้ที่ลงไปท�างานมีแนวคิด Productivity เป็นพื้นฐาน จึงท�างานไปพร้อมกับการเก็บข้อมูลเพื่อวิเคราะห์ปัญหา รวมทั้งการน�าเอาการ วิจัยเชิงลึกเข้าไปร่วมด้วย จึงท�าให้เกิดการเรียนรู้ว่า การพัฒนาชุมชนที่แท้จริงนั้นไม่สามารถ จะท�าด้านใดด้านหนึ่งได้ ช่องสาริกาโมเดลจึงเกิดขึ้นด้วยแนวคิด ‘การพัฒนาพื้นที่แบบองค์รวม (Holistic Area-Based Development) มีเป้าหมายหลักเพื่อพัฒนาและยกระดับ คุณภาพชีวิตของประชาชน ซึ่งคุณวนัสได้ ขยายความให้ฟังว่า “ค�าว่า ‘องค์รวม’ หรือ ‘Holistic’ หมายถึง ความสัมพันธ์ที่เชื่อมโยง กัน ยกตัวอย่างเช่น ถ้ามีอาชีพดี สุขภาพ ไม่ดี ก็ท�างานไม่ได้ ทั้งยังต้องเสียเงินเพื่อ จ่ายค่ารักษาสุขภาพอีก ถัดมาเป็นเรื่อง ‘สิ่งแวดล้อม’ ที่เกี่ยวข้องโดยตรง คือ ชาวบ้านในพื้นที่นี้ส่วนมากมีอาชีพปลูกพืช ดังนั้น จึงเกี่ยวข้องกับเรื่องดินและน�้า เพราะ การปลูกพืช ถ้าดินไม่ดี ผลผลิตก็จะไม่ดี เรา ท�าทุกอย่างโดยใช้ความรู้ ไม่ใช่ความเชื่อ เพราะฉะนั้นองค์ความรู้จึงเป็นเรื่องหลัก คือ1.ต้องท�าซ�้าได้ เช่น ปีนี้ปลูกมันดี ปีหน้า ต้องดีเหมือนเดิม หรือ ถ้าปลูกไม่ดีก็ต้อง เข้าใจว่าสาเหตุคืออะไร2.ขยายผลได้ ซึ่งเป็น สิ่งส�าคัญของการท�าโมเดล โดยมีหน่วยงาน ในเครือช่วยถอดบทเรียน แล้วน�าบทเรียนนั้น มาไว้ที่โรงเรียน เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และ ครูก็ได้เห็น เมื่อวันหนึ่งเขาเรียนจบมาท�างาน เขาจะได้มีความรู้พื้นฐานที่ถูกยกระดับขึ้นมา”
  • 4. PRODUCTIVITY WORLD 2801 PRODUCTIVITY WORLD สิ่งส�าคัญที่สุดคือ เจ้าภาพหรือความรู้สึก เป็นเจ้าของ (Ownership) หมายถึงชุมชน ต้องมีใจอยากที่จะพัฒนาก่อน ซึ่งต้องมี กระบวนการที่จะเตรียมความพร้อม โดยเริ่ม จากการก�าหนดขอบเขตพื้นที่ที่ชัดเจน (Area-based) หลังจากนั้นจะเริ่มเก็บข้อมูล เพื่อดูความต้องการของชุมชน ขั้นตอนถัดไป คือการเลือกองค์ความรู้ที่เหมาะสม ตรงนี้ อาจจะมีหน่วยงานอื่นๆ ที่มีองค์ความรู้ เข้ามามีส่วนร่วม เช่น เกษตรจังหวัด มหาวิทยาลัยเป็นต้นเพราะเราให้ความส�าคัญ กับการท�างานแบบสร้างพันธมิตร (Open Collaboration) ในการให้ความรู้นั้น เรา ท�ากิจกรรมทั้ง 3 ส่วนประกอบกัน คือ 1.การศึกษาดูงาน เพื่อสร้างแรงบันดาลใจ 2.การท�าแปลงทดลองเพื่อพิสูจน์ว่าท�าได้จริง และ 3.การฝึกอบรมโดยหน่วยงานวิชาการ เพื่อเสริมองค์ความรู้ทั้งนี้เบทาโกรท�าหน้าที่เป็น ผู้สนับสนุนด้านทรัพยากรในเบื้องต้น (Sponsor) เพื่อคอยผลักดันให้โครงการเดิน หน้าไปได้ ซึ่งหลังจากนั้นเมื่อชุมชนพร้อมที่ จะเดินต่อไปได้ด้วยตัวเอง ก็จะไม่จ�าเป็นต้อง มีสปอนเซอร์อีกต่อไป ด้านกลยุทธ์ที่จะท�าให้การ พัฒนาประสบความส�าเร็จ ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ เจ้าภาพที่มีส่วนร่วม องค์ความรู้ ผู้สนับสนุนด้านทรัพยากร Ownership Knowledge Sponsor กระบวนการเรียนรู้สู่ การพัฒนาชุมชน คุณวนัสได้กล่าวถึงแนวคิดในการพัฒนา ชุมชนจากการเรียนรู้ว่า “ผมไม่แน่ใจว่าค�า ว่า ‘Impact’ กับ ‘ยั่งยืน’ มันมาตอนไหน แต่พอได้เรียนรู้ไปเรื่อยๆ เราก็เริ่มเห็น แนวทางที่จะท�าให้มีสองสิ่งนี้ เราได้เห็น กระบวนการพัฒนาชุมชนอย่างที่ควรจะเป็น ซึ่งท�าให้เรามั่นใจว่าด้วยกระบวนการหรือ โมเดลแบบนี้แหละที่เราจะน�าไปขยายผล ต่อไป” เบทาโกรได้ค้นพบกระบวนการพัฒนา ชุมชนจากการลงไปท�างานที่ช่องสาริกา คือ ต้องเริ่มต้นด้วยการเตรียมทีมงานซึ่งจะต้อง คัดเลือกคนที่มีความเหมาะสมทั้งความรู้ ความสามารถ และทัศนคติ หลังจากนั้นก็ จะต้องเตรียมข้อมูลพื้นที่ ในขั้นตอนที่สอง เป็นขั้นตอนการสร้างความสนิทสนมกับ ชุมชนด้วยกิจกรรมต่างๆ เช่น ธนาคาร ชุมชน โรงเรียนคุณธรรม และการท�าอาชีพ เสริม จากขั้นตอนนี้ทีมงานจะมีความรู้และ ความเข้าใจในบริบทชุมชนมากขึ้น มีข้อมูล จากพื้นที่จริงที่จะน�ามาวิเคราะห์และเข้าใจ ปัญหาได้ลึกซึ้งขึ้น ซึ่งน�ามาสู่ขั้นตอนที่สี่คือ การวางแผนงานให้สอดคล้องกับการแก้ไข ปัญหาของชุมชน ซึ่งทีมงานเบทาโกรพบว่า จะต้องจัดการกับปัญหาทั้ง 5 ด้าน คือ ด้านอาชีพ (เศรษฐกิจ) ด้านสุขภาพ (สาธารณสุข) ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านสังคม และด้านการศึกษา ทั้งหมดนี้จึงจะเป็น การพัฒนาแบบองค์รวม หรือ Holistic นั่นเอง ทั้งนี้ ในการพัฒนาอาชีพหลักของชุมชน จะต้องมีการวางแผนการใช้ทรัพยากร และ การน�าเอาแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในการด�าเนินชีวิตของคนในชุมชน เพื่อ ให้มีความยั่งยืน หลังจากนั้นคือการลงมือ ปฏิบัติและปรับปรุงอย่างต่อเนื่องตามวงจร คุณภาพ PDCA ซึ่งท�าให้เกิดโมเดล การพัฒนาแบบเป็นองค์รวมในที่สุดดังที่ กล่าวมา และโมเดลนี้จึงเป็นต้นแบบที่จะ ขยายผลต่อไป  
  • 5. PRODUCTIVITY WORLD 2901 PRODUCTIVITY WORLD ผลลัพธ์ของความส�าเร็จ ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านอาชีพ ด้านสังคม ด้านสุขภาพ คุณวนัสได้กล่าวถึงความคาดหวังเอาไว้ว่า “ช่องสาริกาเปรียบ เสมือนเป็นห้องทดลองของเรา ผมตั้งเป้าความส�าเร็จไว้ที่80% คือท�า อย่างไรในทุกเรื่องที่เราท�าจะต้องได้ผลไม่ต�่ากว่า80% และเราก็ไม่ได้ ท�าคนเดียว เราได้ดึงเอาผู้เชี่ยวชาญและหน่วยงานต่างๆ ลงพื้นที่เป็น จ�านวนมาก เช่น ผู้เชี่ยวชาญเรื่องน�้า ผู้เชี่ยวชาญเรื่องการปลูกมัน ส�าปะหลัง ผู้เชี่ยวชาญเรื่องการปลูกอ้อย จากองค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชน และหวังว่าเมื่อไปท�าที่อื่นต่อไปเราจะใช้เวลาสั้นขึ้น ใช้ คนน้อยลง ซึ่งมันก็คือแนวคิด Productivity นั่นเอง” จากการเรียนรู้ ลองผิด ลองถูก จนกระทั่งเกิดเป็น ‘ช่องสาริกาโมเดล’ การพัฒนาแบบ องค์รวม ซึ่งได้รับการพิสูจน์ด้วยระยะเวลาและความสำาเร็จ ซึ่งโมเดลนี้กำาลังขยายผลต่อใน พื้นที่อื่นๆ เพื่อให้สังคมไทยไปสู่ความสามารถในการพึ่งตนเอง และนั่นคือสิ่งที่สำาคัญที่สุดของ การสร้างความยั่งยืนและการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข เบทาโกรได้สร้างการมีส่วนร่วมระหว่าง ชุมชนและหน่วยงานเพื่อจัดการคุณภาพ สิ่งแวดล้อมให้เกิดความยั่งยืน โดยเริ่มตั้งแต่ ต้นน�้า เช่น มีการเก็บข้อมูลเชิงลึกของทีม งานแหลมผักเบี้ย เพื่อก�าหนดแนวทางใน การพัฒนาคลองซับตะเคียน แหล่งน�้าของ ชุมชน กลางน�้า เช่น ขุดลอกท�าความสะอาด ฝาย และปลายน�้า โดยกระบวนการติดตาม ประเมินผลและการจัดการความรู้ เพื่อรักษา คุณภาพน�้าให้สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่าง เหมาะสม เช่น การค�านวณปริมาณน�้าเพื่อ การเพาะปลูก เป็นต้น เพื่อสร้างกลไกขับเคลื่อนให้ชุมชนมี เงินทุน รวมทั้งการสนับสนุนปัจจัย เพื่อ ให้ได้ผลผลิตจากการประกอบอาชีพหลัก อย่างเพียงพอ โดยไม่กู้เงินนอกระบบ และ พึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน จึงเกิดธนาคาร พัฒนาหมู่บ้านที่จะก้าวสู่บริษัท/ สหกรณ์ เพื่อเป็นช่องทางรับซื้อขายผลผลิตของ ชุมชน ซึ่งจะท�าให้มีก�าไรเลี้ยงตัวเองได้ มี เงินปันผล และพัฒนาช่วยเหลือตนเอง และชุมชนได้ในที่สุด ทีมงานเบทาโกรได้เข้าไปช่วยให้ชุมชนมี การดูแลผู้ป่วยด้วยตนเอง เช่น การท�า กายภาพบ�าบัดและการฟื้นฟูสุขภาพจิต นอกจากนี้ เบทาโกรยังได้ร่วมพัฒนาระบบ บริการของโรงพยาบาลชุมชน อาทิ การปรับปรุง OPD ด้วยการลดระยะทาง เคลื่อนย้ายผู้ป่วยภายในโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพส่วนต�าบลช่องสาริกาและ โรงพยาบาลพัฒนานิคมจากเดิมระยะทาง 90.43 เมตร เหลือเพียง70.90 เมตร รวมทั้ง ยังร่วมมือกับหน่วยงานอื่นๆ ด้วยการใช้ แนวคิดKaizen ท�าให้เกิดนวัตกรรมส�าหรับ ผู้ป่วยติดเตียงอีกด้วย " เพื่อให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น เบทาโกรได้เข้าไปพัฒนาอาชีพหลักให้มีการบริหาร จัดการที่มีประสิทธิภาพ และเข้าไปช่วยเรื่องอาชีพเสริม คือ การท�าเกษตรแบบผสมผสาน เพื่อสร้างรายได้เพิ่มในระหว่างรอผลผลิตจากการปลูกพืชหลักคือ มันส�าปะหลัง อ้อย และข้าวโพด ท�าให้เกษตรกรมีรายได้ตลอดปี เป็นค่าใช้จ่ายประจ�าวัน