SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 41
Baixar para ler offline
เครื่องมือที่ใช ้ในการวิจัย
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
ความนา
การทาวิจัยโดยทั่วไปแล ้ว สามารถเลือกใช ้เครื่องมือ
ในการทาวิจัย (instrument) ได ้หลายประเภท แต่
เครื่องมือที่นิยมใช ้กันอย่างแพร่หลายประเภทหนึ่ง คือ
แบบสอบถาม (questionnaire)
สาหรับที่มาของแบบสอบถาม โดยทั่วไปมักจะพบ
ในงานวิจัยอยู่ 3 รูปแบบ คือ
1. แบบสอบถามที่มีผู้พัฒนาไว ้แล ้ว (จากงานวิจัยใน
ประเทศ)
2. แบบสอบถามที่มีผู้พัฒนาไว ้แล ้ว (จากงานวิจัย
ต่างประเทศ)
3. แบบสอบถามที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นมาเอง
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
ความนา
แบบสอบถามที่ใช ้ในการทาวิจัยทั้ง 3 รูปแบบนั้น
เมื่อผู้วิจัยเลือกแบบใดแบบหนึ่งมาใช ้หรือในงานวิจัย
ทางธุรกิจสามารถมีได ้ทั้ง 3 แบบ ในงานวิจัยชิ้น
เดียวกัน จะต ้องสามารถตอบคาถามเกี่ยวกับ
 ความเที่ยงตรง (validity) และ
 ความเชื่อถือได ้(reliability)
ดังนั้น นักวิชาการและนักวิจัยหลายท่านได ้แนะนา
วิธีการต่างๆ ไว ้หลายประการ ซึ่งในที่นี้จะนาเสนอ
แนวทางและข ้อเสนอแนะไว ้โดยสังเขป
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
แบบสอบถามที่มีผู้พัฒนาไว้แล้ว
แบบสอบถามที่มีผู้พัฒนาไว ้แล ้ว (จากงานวิจัยต่างประเทศ)
ปัญหาที่พบจากการนาแบบสอบถามจากต่างประเทศมาใช ้
1. ข ้อคาถามแต่ละข ้อคาถามเมื่อแปลเป็นภาษาไทยแล ้วจะยังคง
เหมาะสมที่จะใช ้วัดหรือไม่
2. ข ้อคาถามแต่ละข ้อคาถามเมื่อแปลเป็นภาษาไทยแล ้วจะยังคง
ความหมายเดิมตามต ้นฉบับหรือไม่
3. ความแตกต่างทางวัฒนธรรมมีผลกระทบต่อความหมายของ
ข ้อคาถามหรือไม่
4. ความแตกต่างทางวัฒนธรรมมีผลต่อประเด็นคาถามที่ต ้องการ
วัด บางข ้อคาถามอาจไม่สื่อความหมาย หรืออาจขาดประเด็น
ที่มีความสาคัญไป
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
แบบสอบถามที่มีผู้พัฒนาไว้แล้ว
แบบสอบถามที่มีผู้พัฒนาไว ้แล ้ว (จากงานวิจัยต่างประเทศ)
ปัญหาที่พบจากการนาแบบสอบถามจากต่างประเทศมาใช ้
5. คาหรือสานวนที่มาจากภาษาต่างประเทศ บางครั้งยากที่จะใช ้
คาหรือสานวนไทยทดแทนได ้อย่างตรงประเด็นหรือตรง
ความหมาย
6. รูปประโยคหรือความต่างกันของหลักไวยกรณ์ อาจเป็นปัญหา
ในการแปลข ้อคาถามให ้ตรงกับความหมายเดิม
7. การครอบคลุมของการวัด ประเด็นหรือปัจจัยที่ส่งผลในการวัด
มีความครอบคลุมหรือมีประเด็นที่เพียงพอต่อตัวแปรที่ต ้องการ
วัดหรือไม่
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
แบบสอบถามที่มีผู้พัฒนาไว้แล้ว
แบบสอบถามที่มีผู้พัฒนาไว ้แล ้ว (จากงานวิจัยต่างประเทศ)
ปัญหาที่พบจากการนาแบบสอบถามจากต่างประเทศมาใช ้
8. ความล ้าสมัย (obsolete)
9. ความร่วมสมัย (contemporary)
10. ความขัดแย ้งกันของแนวคิดและทฤษฎีที่ยังคงมีอยู่ หรือเป็น
ประเด็นที่เป็นข ้อจากัดของการใช ้แบบสอบถาม
11. การคานึงถึงช่วงอายุที่เหมาะสม (หรือที่ระบุไว ้) ของผู้ตอบ
แบบสอบถาม (ถ ้ามี)
12. คาถามที่มีความล่อแหลมทางศีลธรรม (รวมถึง วัฒนธรรม เชื้อ
ชาติ ประเพณี ขนบธรรมเนียม และความเชื่อ)
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
แบบสอบถามที่มีผู้พัฒนาไว้แล้ว
แบบสอบถามที่มีผู้พัฒนาไว ้แล ้ว (จากงานวิจัยในประเทศ)
ปัญหาที่พบจากการนาแบบสอบถามจากงานวิจัยในประเทศ
มาใช ้จะมีลักษณะใกล ้เคียงกับการนาแบบสอบถามจาก
งานวิจัยต่างประเทศ อาทิเช่น
1. การครอบคลุมของการวัด ประเด็นหรือปัจจัยที่ส่งผลในการวัด
มีความครอบคลุมหรือมีประเด็นที่เพียงพอต่อตัวแปรที่ต ้องการ
วัดหรือไม่
2. ความล ้าสมัย (obsolete) และ ความร่วมสมัย
(contemporary)
3. ความขัดแย ้งกันของแนวคิดและทฤษฎีที่ยังคงมีอยู่ หรือเป็น
ประเด็นที่เป็นข ้อจากัดของการใช ้แบบสอบถามในการศึกษาที่
ผ่านมา
4. ที่มา และระดับความน่าเชื่อถือของของผู้สร ้างแบบสอบถาม
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
แบบสอบถามที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นเอง
สาหรับแบบสอบถามที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นมาเองนั้นถึงแม ้ว่าจะ
ไม่มีปัญหาด ้านความทันสมัยและตรงกับวัตถุประสงค์ของ
การวิจัย ก็ยังคงมีปัญหาที่สาคัญที่ผู้วิจัยควรตะหนักคือ
1. ความครอบคลุมของข ้อคาถามและข ้อคาถามมีจานวนเพียงพอ
ต่อการวัดตัวแปรที่จะศึกษาหรือประเด็นที่ต ้องการศึกษา
หรือไม่
2. การรวบรวม (เรียบเรียง) แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข ้องมีความ
ครอบคลุมหรือแตกเป็นประเด็น (ข ้อคาถาม) ได ้อย่างถูกต ้อง
เหมาะสมหรือไม่
3. มีการคานึงถึงความขัดแย ้งกันของแนวคิดและทฤษฎีที่
นามาใช ้อ ้างอิงในการสร ้างข ้อคาถามหรือไม่ ทั้งนี้เนื่องจาก
บางทฤษฎีมีความเหมือน ในขณะที่บางทฤษฎีมีความแตกต่าง
ในบางประเด็นถึงแม ้จะเป็นแนวคิดเดียวกันก็ตาม
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
แบบสอบถามที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นเอง
สาหรับแบบสอบถามที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นมาเองนั้นถึงแม ้ว่าจะ
ไม่มีปัญหาด ้านความทันสมัยและตรงกับวัตถุประสงค์ของ
การวิจัย ก็ยังคงมีปัญหาที่สาคัญที่ผู้วิจัยควรตะหนักคือ
4. ในบางครั้ง แนวคิดและทฤษฎีต่างๆ ที่นามาใช ้อ ้างอิงในการ
สร ้างข ้อคาถามนั้นจะมีความสอดคล ้องและสนับสนุนซึ่งกัน
และกัน ผู้วิจัยควรคานึงถึงการผสมผสานแนวคิดและทฤษฎี
นั้นๆ ในการนามาสร้างข ้อคาถาม ทั้งนี้เพื่อเป็นการป้องกันการ
วัดซ้า ซึ่งทาให ้น้าหนักของการวัดไม่เหมาะสม ส่งผลให ้เกิด
การแปรผลที่คลาดเคลื่อนได ้
5. จานวนข ้อคาถามที่น้อยเกินไป (ไม่เพียงพอต่อการวัด) หรือใน
บางครั้งมากเกินความจาเป็นที่จะใช ้วัดในประด็นหรือตัวแปรที่
จะทาการศึกษา
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
แบบสอบถามที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นเอง
สาหรับแบบสอบถามที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นมาเองนั้นถึงแม ้ว่าจะ
ไม่มีปัญหาด ้านความทันสมัยและตรงกับวัตถุประสงค์ของ
การวิจัย ก็ยังคงมีปัญหาที่สาคัญที่ผู้วิจัยควรตะหนักคือ
6. ความเที่ยงตรงในการวัดและความน่าเชื่อถือของเครื่องมือ
7. ความสอดคล ้องของข ้อคาถามที่ใช ้ในการวัดประเด็นหรือใช ้ใน
การวัดตัวแปรที่ต ้องการศึกษา
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
ขั้นตอนการป้ องกันปัญหาที่พบเกี่ยวกับการ
ใช้แบบสอบถามเป็ นเครื่องมือในงานวิจัย
กรณีนาแบบสอบถามจากต่างประเทศมาใช้
1. แปลแบบสอบถามที่นามาใช้โดยผู้แปลที่มีความ
เชี่ยวชาญทางภาษา ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
(Bi-Lingual) อย่างน้อย 2 ท่าน
2. นาแบบสอบถามที่แปลแล้วจากผู้เชี่ยวชาญทาง
ภาษา มาเรียบเรียงให้สอดคล้องกัน โดยอาจใช้
ความรู้ความเข้าใจของผู้วิจัยร่วมด้วย
3. นาแบบสอบถามที่ได้ ไปให้ผู้แปลหรือหน่วยงาน
บริการแปลภาษาที่ได้รับการรับรอง (Certified
Translator) ตรวจทานและรับรองการแปล
4. นาแบบสอบถามที่ได้รับรองการแปลแล้ว ไปทาการ
แปลกลับเป็ นภาษาต่างประเทศตามต้นฉบับ (Back
Translation) โดยผู้แปลที่มีความเชี่ยวชาญทาง
ภาษา ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (Bi-Lingual)
อย่างน้อย 2 ท่าน โดยไม่เห็นต้นฉบับ
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
ขั้นตอนการป้ องกันปัญหาที่พบเกี่ยวกับการ
ใช้แบบสอบถามเป็ นเครื่องมือในงานวิจัย
กรณีนาแบบสอบถาม จากต่างประเทศมาใช้
5. นาแบบสอบถามที่แปลกลับเป็ นภาษาต่างประเทศ
(Back Translation) เปรียบเทียบกันกับต้นฉบับ ใน
ขั้นนี้จะต้องทาการตรวจสอบข้อคาถามที่มีคาหรือรูป
ประโยคที่แตกต่าง ว่ายังคงรักษาความหมายเดิม
ตามต้นฉบับหรือไม่
6. นาแบบสอบถามที่แก้ไขเปรียบเทียบต้นฉบับ ไปให้
ผู้เชี่ยวชาญอย่างน้อย 5 ท่าน ตรวจและให้คาแนะนา
โดยผู้เชี่ยวชาญควรเป็ นนักวิชาการในสาขาที่
เกี่ยวข้อง และ/หรือ ผู้เชี่ยวชาญทางสาขาอาชีพ
(Academic Expert and/or Professional Expert)
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
ขั้นตอนการป้ องกันปัญหาที่พบเกี่ยวกับการ
ใช้แบบสอบถามเป็ นเครื่องมือในงานวิจัย
กรณีนาแบบสอบถาม จากต่างประเทศมาใช้
7. การขอให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจทานแบบสอบถาม
สามารถทาได้หลายวิธี แต่มี 2 วิธีที่นิยมมากที่สุดคือ
(อาจเรียกว่าเป็ น การประเมินเครื่องมือที่ใช้ในการ
วิจัย)
 การทา IOC
(Index of item – Objective Congruence: IOC)
 การขอให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจทานและแก้ไข รวมถึงขอ
คาแนะนาเพิ่มเติม
(ทั้ง 2 วิธี จะอธิบายโดยละเอียดภายหลัง)
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
ขั้นตอนการป้ องกันปัญหาที่พบเกี่ยวกับการ
ใช้แบบสอบถามเป็ นเครื่องมือในงานวิจัย
กรณีนาแบบสอบถาม จากต่างประเทศมาใช้
8. นาแบบสอบถามที่ตรวจทานและแก้ไขโดย
ผู้เชี่ยวชาญ (Academic Expert and/or
Professional Expert) มาทาการปรับปรุงแก้ไขตาม
คาแนะนา
9. ในขั้นนี้ถือเป็ นการทดสอบแบบสอบถามขั้นต้น (Pre-
Test) โดยการนาแบบสอบถามไปทดลองเก็บข้อมูล
จากกลุ่มตัวอย่างที่เป็ นเป้ าหมาย อย่างน้อย 30 ชุด
(ในที่นี้ หากสามารถทาได้ ขอแนะนาให้เก็บอย่าง
น้อย 60 ชุด)
10. นาแบบสอบถามที่เก็บได้ในขั้นตอนที่ผ่านมา มาทา
การลงรหัส ในขั้นตอนนี้ควรพิจารณาข้อคาถามที่
ไม่ได้ตอบ (Missing) ผู้ตอบได้ตอบครบถ้วนทุกหน้า
หรือทุกข้อหรือไม่
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
ขั้นตอนการป้ องกันปัญหาที่พบเกี่ยวกับการ
ใช้แบบสอบถามเป็ นเครื่องมือในงานวิจัย
กรณีนาแบบสอบถาม จากต่างประเทศมาใช้
11. สาหรับการพิจารณาข้อคาถามที่ไม่ได้ตอบนั้น
(Missing) อาจเกิดจากสาเหตุหลายประการ อาทิ
เช่น
 จานวนข ้อคาถามมากเกินไป หรือพิมพ์อักษรตัวเล็ก
เกินไป หรือบรรทัดต่อหน้าถี่เกินไป หรือ จานวนข ้อต่อ
หน้ามากเกินไป
 จานวนหน้ามากเกินไป
 ไม่มีเลขหน้ากากับ (ในที่นี้แนะนาให ้ใช ้1/6, 2/6, 3/6,….,
6/6 โดยต ้องมีขนาดและตาแหน่งที่สังเกตง่ายเพื่อให ้
ผู้ตอบได ้ทราบถึงจานวนหน้าทั้งหมดและหน้าที่กาลัง
ตอบอยู่ ป้องกันการตอบข ้ามหน้า)
 การจัดรูปแบบ การแบ่งส่วนข ้อคาถามไม่เหมาะสม
 ข ้อคาถามมีลักษณะที่ทาให ้เกิดความไม่เข ้าใจที่จะตอบ
คาถาม (หรือไม่อยากตอบ)
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
ขั้นตอนการป้ องกันปัญหาที่พบเกี่ยวกับการ
ใช้แบบสอบถามเป็ นเครื่องมือในงานวิจัย
กรณีนาแบบสอบถาม จากต่างประเทศมาใช้
12. ทาการคาณวนหาค่า สัมประสิทธิ์ Cronbach’s α
ซึ่งเป็ นค่าที่ใช้วัดความเชื่อถือได้ (เป็ นค่าที่ใช้วัด
ความสอดคล้องภายในของคาตอบ) โดยมี
ข้อสังเกตคือ
 ข้อคาถามยิ่งมาก ค่า Cronbach’s α ที่ได้จะสูง
ตาม ดังนั้นในการหาค่าควรแยกวัดทีละตัวแปร
มิใช่วัดในคราวเดียวกันทั้งหมดทุกตัวแปรที่
ทาการศึกษา
 ค่า Cronbach’s α เป็ นค่าต่าสุดของค่าความ
เชื่อถือได้ที่แท้จริงของการสารวจ
 นิยมใช้มากที่สุดเพราะสะดวกมากที่สุด
 ค่าที่ได้ควรมากกว่า .7
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
ขั้นตอนการป้ องกันปัญหาที่พบ
เกี่ยวกับการใช้แบบสอบถามเป็ น
เครื่องมือในงานวิจัย
กรณีนาแบบสอบถาม จากต่างประเทศมาใช้
13. ในระหว่างการทา pre-test หากผู้วิจัยมีเวลาหรือ
งบประมาณเพียงพอ ควรทาการสัมภาษณ์เชิงลึก
หรือสัมภาษณ์กลุ่ม (in-depth interview or focus-
group interview) โดยเลือกผู้ถูกสัมภาษณ์ที่เป็ น
กลุ่มเป้ าหมาย มาเพื่อทาการประเมินแบบสอบถาม
ในเชิงคุณภาพ
 In-depth interview
ควรพิจารณาสัก 2 – 3 ท่าน เพื่อมาสอบถาม
(สัมภาษณ์) โดยละเอียดเกี่ยวกับแบบสอบถาม เช่น ความ
เข้าใจของแต่ละข้อคาถาม, ลักษณะแบบสอบถาม, ความ
เหมาะสมของจานวนข้อและจานวนหน้า, ความชัดเจนของ
การสื่อความหมาย, คาแนะนาเพิ่มเติมที่เกี่ยวกับ
แบบสอบถาม เป็ นต้น(ควรใช้เวลาในการสัมภาษณ์ท่านละ
20-30 นาที)
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
ขั้นตอนการป้ องกันปัญหาที่พบ
เกี่ยวกับการใช้แบบสอบถามเป็ น
เครื่องมือในงานวิจัย
กรณีนาแบบสอบถาม จากต่างประเทศมาใช้
 Focus-group interview
เลือกผู้ถูกสัมภาษณ์จากกลุ่มเป้ าหมาย 5 – 7
ท่านเพื่อมาทาการสัมภาษณ์พร้อมกัน โดยให้แต่ละท่าน
สามารถแสดงความคิดได้อย่างเต็มที่ โดยผู้สัมภาษณ์ควร
ถามในประเด็นเกี่ยวกับแบบสอบถาม เช่น ความเข้าใจของ
แต่ละข้อคาถาม, ลักษณะแบบสอบถาม, ความเหมาะสม
ของจานวนข้อและจานวนหน้า, ความชัดเจนของการสื่อ
ความหมาย, คาแนะนาเพิ่มเติมที่เกี่ยวกับแบบสอบถาม
เป็ นต้น
ทั้งนี้ควรให้ทุกท่านทดลองทาแบบสอบถามก่อน
สัมภาษณ์ และผู้สัมภาษณ์ควรบันทึกว่าแต่ละท่านใช้เวลา
เท่าใด
(ควรใช้เวลารวม ประมาณ 1 ชั่วโมง)
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
แนวทางการป้ องกันปัญหาที่พบเกี่ยวกับการ
ใช้แบบสอบถามเป็ นเครื่องมือในงานวิจัย
กรณีนาแบบสอบถาม จากงานวิจัยในประเทศมา
ใช้
สามารถนาแนวทางที่ได้อธิบายมาแล้วข้างต้น
มาใช้ได้เหมือนกัน โดยตัดในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ
การแปลและตรวจทานภาษาออก ขั้นตอนที่เหลือ
จะเป็ นขั้นตอนที่ควรคานึงถึงและปฏิบัติใน
แนวทางเดียวกัน
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
แนวทางการป้ องกันปัญหาที่พบเกี่ยวกับการ
ใช้แบบสอบถามเป็ นเครื่องมือในงานวิจัย
กรณีผู้วิจัยพัฒนาแบบสอบถามเอง
ผู้วิจัยควรตะหนักถึงปัญหาที่พบบ่อยในการ
พัฒนาแบบสอบถามดังที่ได้อธิบายแล้วในตอนต้น
ผู้วิจัยควรเรียบเรียงคาถามให้กระชับ สื่อ
ความหมาย พยายามให้มีจานวนข้อเหมาะสมและ
เพียงพอต่อการวัดประเด็น (หรือตัวแปร) ที่
ต้องการศึกษา
คาถามแต่ละประเด็นควรมีแนวคิดหรือทฤษฎีมา
รองรับ (หรืออาจเป็ นความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ)
หรือควรมีที่มาในลักษณะที่น่าเชื่อถือทางวิชาการ
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
การประเมินเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
• การหาค่าความสอดคล้องภายในของเครื่องมือที่ใช้วิจัย
(Index of item – Objective Congruence: IOC)
หมายถึง การประเมินหาค่าความสอดคล ้องภายใน
ของเครื่องมือในการวิจัย โดยการขอความอนุเคราะห์
จากผู้มีความรู้ความสามารถหรือความเชี่ยวชาญ ใน
สาขาที่ตรงหรือเกี่ยวข ้องกับการศึกษาวิจัย (ทั้งสาย
วิชาการ และ/หรือ สายวิชาชีพ) ให ้เป็นผู้ประเมินข ้อ
คาถามแต่ละข ้อคาถาม ว่ามีสอดคล ้อง (หรือ
เหมาะสม) กับสิ่งที่ต ้องการวัด (ประเด็นที่ศึกษาหรือ
ตัวแปรที่ศึกษา)
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
ขั้นตอนการทา IOC
1. สาหรับกรณีพัฒนาแบบสอบถามเอง ให ้ทาการสร ้าง
ข ้อคาถาม (โดยมีแนวคิดและทฤษฎีรองรับ) เพื่อวัด
ตัวแปรที่ต ้องการศึกษา (ประเด็นที่ต ้องการศึกษา)
ในที่นี้ แนะนาว่า ในแต่ละตัวแปรที่ทาการศึกษา ควร
มีข ้อคาถาม ประมาณ 5-10 คาถาม (ทั้งนี้พิจารณา
จากความสาคัญของตัวแปร และความครอบคลุมตาม
แนวคิดและทฤษฎี)
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
ขั้นตอนการทา IOC
2. ติดต่อผู้เชี่ยวชาญ อย่างน้อย 3 – 5 ท่าน (ในที่นี้
แนะนา 5 ท่าน) โดยการออกหนังสือขอความ
อนุเคราะห์จากสถานศึกษา (กรณีทาวิทยานิพนธ์)
หรือออกหนังสือเรียนเชิญแบบมีค่าตอบแทน (การ
วิจัยทางธุรกิจ) โดยใช ้หลักพิจารณาเลือก
ผู้เชี่ยวชาญ (อย่างน้อยด ้านใดด ้านหนึ่ง) คือ
1) เป็นผู้ที่มีความรู้และเชี่ยวชาญทางด ้านวิชาการใน
สาขาที่ตรงหรือเกี่ยวข ้องกับงานวิจัยที่จะทา
2) เป็นผู้ที่มีความชานาญตามสายงานหรือสาขาอาชีพ
หรือในทางปฏิบัติ
3) เป็นผู้ที่มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับในสาขาที่เกี่ยวข ้อง
4) เป็นผู้ที่มีความรู้ความชานาญในการทาวิจัย
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
ขั้นตอนการทา IOC
3. เมื่อพัฒนาแบบสอบถาม และได ้ข ้อคาถามตาม
วัตถุประสงค์แล ้ว ให ้ทาการจัดให ้อยู่ในรูปแบบที่เป็น
มาตรฐานของการประเมินแบบสอบถาม โดยจะต ้อง
ได ้รับความเห็นชอบ (อนุมัติ) จากอาจารย์ที่ปรึกษา
หลัก (หรือหัวหน้าโครงการกรณีงานวิจัยทางธุรกิจ)
ทั้งนี้จะต ้องทาการปรับปรุงแก ้ไขตามคาแนะนาจาก
อาจารย์ที่ปรึกษาให ้เรียบร ้อยก่อนที่จะทาการส่งให ้
ผู้เชี่ยวชาญตรวจประเมิน
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
ขั้นตอนการทา IOC
4. เอกสารและแบบสอบถามที่ส่งให ้ผู้เชี่ยวชาญควรจัด
ให ้อยู่ในรูปเล่ม และพิมพ์โดยใช ้กระดาษที่เหมาะสม
ทั้งนี้เพื่อให ้ดูเป็นทางการและเป็นการให ้เกียรติ
ผู้เชี่ยวชาญ (ทั้งนี้ควรแนบที่มา จากแนวคิดและ
ทฤษฎีพอสังเขป เพื่อผู้เชี่ยวชาญจะได ้มีข ้อมูลที่
ชัดเจน เพือตรวจสอบและประเมินได ้อย่างไม่คาด
เคลื่อนจากวัตถุประสงค์ของผู้วิจัย)
ควรแนบวัตถุประสงค์ของการวิจัยด ้วยเพื่อความ
ชัดเจนของการพัฒนาแบบสอบถาม
หากมีนิยามศัพท์เฉพาะ (เป็นตัวแปรที่ต ้องการวัด)
ควรแนบนิยามศัพท์เฉพาะ ด ้วย
กรณีมาจากภาษาต่างประเทศ ควรแนบแบบสอบถาม
ต ้นฉบับด ้วย
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
ตัวอย่างแบบประเมินเครื่องมือ
ควรมีการบอกแต่ละ
ส่วนของแบบสอบถาม
คาอธิบาย หรือ
วิธีการตอบ
คาถาม (ถ้ามี)
ควรมีการระบุประเด็นหรือตัวแปรที่ต้องการวัด
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
ขั้นตอนการทา IOC
5. ทาการคาณวนหาค่า IOC ของแต่ละข ้อคาถามโดย
ใช ้สูตร
IOCi = R / N
IOCคือ ค่าดัชนีความสอดคล ้อง
R คือ ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
N คือ จานวนผู้เชี่ยวชาญ
i คือ ข ้อคาถามที่ i
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
ขั้นตอนการทา IOC
6. ทาการพิจจารณา ค่า IOC ที่คาณวนได ้ของแต่ละข ้อ
คาถามโดยที่
ข ้อคาถามที่มีค่า IOC > 0.5 ให ้คัดเลือกไว ้ใช ้
ข ้อคาถามที่มีค่า IOC < 0.5 ควรพิจารณาปรับปรุงแก ้ไข
ข ้อคาถามหรือพิจารณาตัดทิ้งไปหากมีข ้อคาถามที่
เพียงพอแล ้ว
ในที่นี้แนะนาค่า IOC ที่ > 0.6
ข ้อควรระวัง หากตัวแปร (ประเด็น) ที่ต ้องการวัดใดๆ มี
ข ้อคาถามที่ถูกตัดไปหลายข ้อ ถึงแม ้จะมีจานวนมากกว่า
5 ข ้อคาถาม แต่ถ ้าหากข ้อที่ถูกตัดทิ้งไปเป็นประเด็นที่
สาคัญ (มีทฤษฎีรองรับ) ผู้วิจัยอาจพิจารณาตั้งคาถาม
ใหม่ทดแทน เพื่อให ้ตัวแปรมีตัววัดที่ครอบคลุม
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
ตัวอย่างแบบประเมินเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
มีช่องคาแนะนาไว้เพื่อให้
ผู้เชี่ยวชาญเขียนคาแนะนา
หรือแก้ข้อคาถามที่เหมาะสม
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
ตัวอย่างการประเมินความสอดคล้อง
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
การตรวจสอบเครื่องมือที่ใช ้ในการวิจัย
โดยตรงจากผู้เชี่ยวชาญ
• การขอให้ผู้เชี่ยวชาญเป็ นผู้ตรวจสอบ
(ตรวจทาน) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย จะมี
ลักษณะใกล้เคียงกับ การทา IOC แต่จะมุ่งเน้นใน
ลักษณะเชิงคุณภาพ (อาจใช้การสัมภาษณ์เชิง
ลึก)
มีประโยชน์มากหากเป็ นแบบสอบถามที่นามาจาก
ต่างประเทศ
ในที่นี้จะแนะนาให้หาผู้เชี่ยวชาญ ที่มีความรู้ความ
ชานาญและเป็ นนักวิชาการ (ควรมีคุณวุฒิระดับ
ปริญญาเอกและมีตาแหน่งวิชาการในสาขาที่ตรง
หรือเกี่ยวข้องในงานวิจัยที่จะทาการศึกษา)
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
การตรวจสอบเครื่องมือที่ใช ้ในการวิจัย
โดยตรงจากผู้เชี่ยวชาญ
• วิธีนี้มักไม่เป็ นที่นิยม ถึงแม้จะเป็ นวิธีที่ดีที่สุดวิธี
หนึ่ง เพราะจะมีความยากลาบากในการติดต่อเพื่อ
หาผู้เชี่ยวชาญ เนื่องจากผู้เชี่ยวชาญจะใช้เวลา
มากในการตรวจสอบแบบสอบถาม ซึ่ง
ผู้เชี่ยวชาญแต่ละท่านมักมีภารกิจและภาระงานที่
รัดตัวมาก จึงมีข้อจากัดเรื่องเวลา ในบางครั้งอาจ
ใช้เวลาในการรอผู้เชี่ยวชาญมากกว่าสองเดือน
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
ขั้นตอนและวิธีการ
• วิธีการจะใกล้เคียงกับการทา IOC แต่แตกต่าง
ตรงที่ในแบบสอบถามจะไม่มีช่องให้เลือกตอบแต่
จะเว้นเนื้อที่ระหว่างบรรทัดเพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญ
ตรวจทานและแก้ไขข้อคาถามหรือในบางครั้ง
ผู้เชี่ยวชาญจะทาการแปลข้อคาถามให้ใหม่ หรือ
อาจตั้งคาถามที่เหมาะสมให้แทนคาถามเดิม
• ส่วนที่แตกต่างอย่างชัดเจนคือ ผู้เชี่ยวชาญจะ
ได้รับการร้องขอให้ตอบคาถามหรือให้คาแนะนา
โดยผู้วิจัยจะมีคาถามเป็ นประเด็นเฉพาะเพื่อถาม
เกี่ยวกับความเหมาะสมในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
กับข้อคาถามที่ใช้วัดแต่ละตัวแปรเพื่อขอ
ความเห็นและข้อแนะนา
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
ขั้นตอนและวิธีการ
• เมื่อทาการติดต่อขอความอนุเคราะห์จาก
ผู้เชี่ยวชาญได้แล้ว ผู้วิจัยจะส่งเอกสารที่
เกี่ยวข้องทั้งหมดในรูปเล่ม ซึ่งประกอบไปด้วย
1. หัวข้องานวิจัย วัตถุประสงค์การวิจัย กรอบแนวคิด
และตัวแปรที่ต้องการศึกษา
2. นิยามศ ัพท์เฉพาะ (โดยเฉพาะตัวแปรที่
ทาการศึกษา)
3. แบบสอบถามต้นฉบับภาษาต่างประเทศ
4. หนังสืออนุญาตให้ใช้แบบสอบถาม (กรณีมี
แบบสอบถามนั้นมีลิขสิทธิ์)
5. แบบสอบถามฉบับแปลที่ได้ตรวจแก้ไขและมีการ
รับรองการแปล
6. คาถามหรือคาชี้แจงในประเด็นที่ต้องการให้
ผู้เชี่ยวชาญให้ความเห็นประกอบเป็ นกรณีพิเศษ
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
ตัวอย่างที่ 1
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
ตัวอย่างที่ 2
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
ตัวอย่างงานวิจัยที่ต้องการให้ผู้เชี่ยวชาญ
ตรวจสอบเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
งานวิจัยต้องการศึกษาผลกระทบของความขัดแย้ง
ที่เกี่ยวกับงาน ความขัดแย้งด้านความสัมพันธ์กับเพื่อน
ร่วมงาน ที่มีผลโดยตรงต่อความเครียดในการทางาน
ซึ่งส่งผลต่อประสิทธิภาพโดยรวมขององค์กร
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
ตัวอย่างผู้เชี่ยวชาญที่แนะนาเพื่อขอความ
อนุเคราะห์เป็ นผู้ตรวจสอบเครื่องมือที่ใช้ใน
การวิจัย
ควรมีผู้เชี่ยวชาญ (นักวิชาการ) ในด ้านต่างๆ เช่น
1. ผู้เชี่ยวชาญด ้านจิตวิทยาอุตสาหกรรม หรือจิตวิทยาองค์กร
2. ผู้เชี่ยวชาญด ้านพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์
3. ผู้เชี่ยวชาญด ้านระเบียบวิธีวิจัยทางด ้านจิตวิทยาหรือ
พฤติกรรมศาสตร์
4. ผู้เชี่ยวชาญด ้านจิตวิทยาการให ้คาปรึกษาหรือนักจิตวิทยา
5. ผู้เชี่ยวชาญด ้านพฤติกรรมองค์การ หรือการพัฒนาองค์กร
หรือการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
เป็นต ้น
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
ตัวอย่างคาถามเพื่อขอคาแนะนาจาก
ผู้เชี่ยวชาญ
1. แบบสอบถามที่แปลมาจากต้นฉบับภาษาต่างประเทศ เมื่อ
แปลเป็ นภาษาไทยแล้ว
1.1 คาหรือประโยคมีความเหมาะสมหรือสื่อความหมายได ้ตรง
ตามต ้นฉบับเพียงใด
1.2 ในแง่ของจิตวิทยาการบริหาร แบบสอบถามที่แปลเป็นไทย
แล ้วแต่ละหัวข ้อมีความครอบคลุมเพียงพอและเหมาะสมในการชี้วัด
หรือไม่ สาหรับวัฒนธรรมแบบไทย และรูปแบบสังคมของไทย
โดยเฉพาะสาหรับองค์กรธุรกิจ
1.3 ในแง่ของจิตวิทยาทั่วไปหรือจิตวิทยาการให ้คาปรึกษา
แบบสอบถามที่ใช ้ในการวัดการรับรู้ความเครียดเหมาะสมกับคนไทย
หรือไม่ หรือครอบคลุมเพียงพอหรือไม่ หรือประเด็นคาถาม
เหมาะสมกับคนไทยเพียงใด
1.4 ในแง่ของจิตวิทยาทั่วไปหรือจิตวิทยาองค์กร แบบสอบถาม
ด ้านความขัดแย ้งมีความเหมาะสมในการใช ้กับคนไทยเพียงใด
ประเด็นที่ใช ้วัด ครอบคลุมเพียงพอหรือไม่
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
ตัวอย่างคาถามเพื่อขอคาแนะนาจาก
ผู้เชี่ยวชาญ
2. แบบสอบถามจากประเทศทางตะวันตกเมื่อนามาใช้ใน
ประเทศทางตะวันออก โดยเฉพาะแบบสอบถามที่ใช้ใน
การศึกษาข้างต้นมีประเด็นใดไม่เหมาะสมหรือเกิดปัญหาจาก
วัฒนธรรมที่แตกต่างกันหรือไม่
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
THE END
© 2010 Dr.Krisada Chienwattanasook
ผู้แต่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเนื้อหาเกี่ยวกับเครื่องมือที่ใช ้ในการวิจัยนี้จะเป็นประโยชน์
ต่อนิสิต นักศึกษาที่กาลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาโทและปริญญาเอกทุกสถาบัน
หากท่านใดพบว่าเนื้อหายังมีจุดที่ควรแก ้ไข หรือมีข ้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงแก ้ไขให ้ดียิ่งขึ้น
กรุณาส่งคาแนะนาของท่านมาที่ krisada.dba@gmail.com ผู้แต่งจะยินดีเป็นอย่างยิ่ง
และพร ้อมที่จะแก ้ไขปรับปรุงเพื่อให ้สมบูรณ์ยิ่งขึ้นและเป็นประโยชน์ในด ้านการศึกษาต่อไป
ด ้วยความนับถือ
ดร.กฤษดา เชียรวัฒนสุข
เมษายน 2553

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นPattapong Promchai
 
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพSomporn Amornwech
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์Dnavaroj Dnaka
 
Pwนโยบายคืออะไร
PwนโยบายคืออะไรPwนโยบายคืออะไร
PwนโยบายคืออะไรSirirat Pongpid
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยNU
 
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล วงค์สารี
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล  วงค์สารีการใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล  วงค์สารี
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล วงค์สารีChutchavarn Wongsaree
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคลเรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคลsupatra39
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการAon Narinchoti
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่Somporn Amornwech
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศPa'rig Prig
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 

Mais procurados (20)

Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่น
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
 
Power point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัยPower point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัย
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์
 
Pwนโยบายคืออะไร
PwนโยบายคืออะไรPwนโยบายคืออะไร
Pwนโยบายคืออะไร
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัย
 
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล วงค์สารี
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล  วงค์สารีการใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล  วงค์สารี
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล วงค์สารี
 
Genogram
GenogramGenogram
Genogram
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคลเรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 

Destaque

การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลUltraman Taro
 
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัยguest9e1b8
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
สูตรสถิติ
สูตรสถิติสูตรสถิติ
สูตรสถิติTaew Nantawan
 

Destaque (6)

การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
 
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษาวิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
 
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
สูตรสถิติ
สูตรสถิติสูตรสถิติ
สูตรสถิติ
 

Semelhante a เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัยKruBeeKa
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถาม แบบสอบถาม
แบบสอบถาม khanidthakpt
 
เทคนิคการสืบค้นฐานข้อมูล ProQuest Health and Medical Complete
เทคนิคการสืบค้นฐานข้อมูล 	ProQuest Health and Medical Completeเทคนิคการสืบค้นฐานข้อมูล 	ProQuest Health and Medical Complete
เทคนิคการสืบค้นฐานข้อมูล ProQuest Health and Medical CompleteAkarimA SoommarT
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นRungnapha Thophorm
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำsliderubtumproject.com
 
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdfมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdfTassanee Lerksuthirat
 
Research instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action ResearchResearch instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action ResearchAnucha Somabut
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้poms0077
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้poms0077
 
การวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันการวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันNU
 

Semelhante a เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย (20)

02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
Research-tools 2014
Research-tools 2014Research-tools 2014
Research-tools 2014
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถาม แบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
เทคนิคการสืบค้นฐานข้อมูล ProQuest Health and Medical Complete
เทคนิคการสืบค้นฐานข้อมูล 	ProQuest Health and Medical Completeเทคนิคการสืบค้นฐานข้อมูล 	ProQuest Health and Medical Complete
เทคนิคการสืบค้นฐานข้อมูล ProQuest Health and Medical Complete
 
สัมนา1
สัมนา1สัมนา1
สัมนา1
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็น
 
Chapt3
Chapt3Chapt3
Chapt3
 
Km1
Km1Km1
Km1
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
Ai ed
Ai edAi ed
Ai ed
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdfมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
 
Research instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action ResearchResearch instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action Research
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
การวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันการวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบัน
 
Presentation Activity 3
Presentation Activity 3Presentation Activity 3
Presentation Activity 3
 

Mais de Dr.Krisada [Hua] RMUTT

ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุบทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมบทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานบทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานบทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการบทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการบทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองDr.Krisada [Hua] RMUTT
 

Mais de Dr.Krisada [Hua] RMUTT (20)

ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุบทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
 
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมบทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
 
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานบทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
 
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานบทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
 
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการบทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
 
Oganization Culture
Oganization CultureOganization Culture
Oganization Culture
 
การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design)
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการบทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
 

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย