SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 18
นางสาวพิชญ์จิลักษณ์ เค้าแคน 540842022
วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธรจังหวัดขอนแก่น
โภชนาการกับผู้สูงอายุ
 การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุมีความต้องการปริมาณอาหารลดน้อยลง แต่ความต้องการ
สารอาหารนี้ ยังคงเดิมดังนั้นอาหารของผู้สูงอายุ ควรจัดให้มีปริมาณและคุณภาพ
พอเพียงกับความต้องการของร่างกาย การรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ทุกวัน
ในปริมาณและสัดส่วนที่เหมาะสม เป็นสิ่งสาคัญ และควรปฏิบัติ ในการแนะนา
อาหารสาหรับผู้สูงอายุ เพื่อนาไปปฏิบัติในชีวิตประจาวัน เพื่อสุขภาพอนามัยที่
สมบูรณ์และพึงประสงค์
 อาหารหมู่ที่ 1 เนื้ อสัตว์ ไข่ นม ถั่วเมล็ดแห้งต่าง ๆ ซึ่งให้สารอาหารประเภทโปรตีน
มีหน้าที่ในการเสริมสร้าง ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของร่างกายเนื้ อสัตว์ต่าง ๆ
• ปลาจะเหมาะมากสาหรับผู้สูงอายุ แต่ควรเลือกก้างออกให้หมด
• ไข่ เป็นอาหารที่เหมาะสาหรับผู้สูงอายุ เพราะมีคุณค่าทางอาหารสูงมากในไข่
แดงมีธาตุเหล็กในปริมาณสูง สัปดาห์ละ 3 - 4 ฟอง ถ้าผู้สูงอายุที่มีปัญหาไขมัน
ในเลือดสูง ควรลดจานวนลงหรือบริโภคเฉพาะไข่ขาวเท่านั้น
• นม เป็นอาหารที่มีแคลเซียมและโปรตีนสูง ผู้สูงอายุควรดื่มวันละ 1 แก้ว สาหรับ
ผู้สูงอายุที่มีปัญหาเรื่องไขมันในเลือดสูง หรือน้าหนักตัวมาก อาจดื่มนมพร่องมัน
เนย หรือนมถั่วเหลืองแทนได้
• ถั่วเมล็ดแห้ง เป็นอาหารที่มีโปรตีนสูง และราคาถูก ใช้แทนอาหารพวกเรื้อสัตว์
ได้ สาหรับผู้สูงอายุ
อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่
 อาหารหมู่ที่ 2 ข้าว แป้ ง น้าตาล เผือก มัน อาหารหมู่นี้ ให้สารอาหาร
คาร์โบไฮเดรท มีหน้าทีให้พลังงาน และความอบอุ่นแก่ร่างกาย
ผู้สูงอายุต้องการอาหารหมู่นี้ ลดลงกว่าวัยทางาน
 อาหารหมู่ที่ 3 ผักต่าง ๆ ให้สารอาหารพวกวิตามินและแร่ธาตุ
ผู้สูงอายุควรเลือกกินผักหลาย ๆ ชนิดสลับกัน ควรปรุงโดยวิธีต้มสุก
หรือนึ่งได้จะดี เพราะจะทาให้ย่อยง่าย และไม่เกิดแก๊สในกระเพราะ
ป้ องกันท้องอืด ท้องเฟ้ อได้
อาหารหลัก 5 หมู่
 อาหารหมู่ที่ 4 ผลไม้ต่าง ๆ เป็นอาหารที่มีคุณค่าต่อร่างกานคล้ายอาหาร
หมู่ 3 มีวิตามินและแร่ธาตุต่าง ๆ มากมาย และยังมีรสหวานหอม มี
ปริมาณของน้าอยู่มาก ทาให้ร่างกายสดชื่น เมื่อได้กินผลไม้ ผู้สูงอายุ
สามารถกินผลไม้ได้ทุกชนิด และควรกินผลไม้ทุกวัน เพื่อจะได้รับวิตามิน
ซี และเส้นใยอาหาร ควรเลือกผลไม้ที่มีเนื้ อนุ่ม เคี้ยวง่าย เช่น มะละกอ
กล้วยสุก ส้ม เป็นต้น
อาหารหลัก 5 หมู่
 อาหารหมู่ที่ 5 ไขมันจากสัตว์ และพืช อาหารหมู่นี้ นอกจากจะให้พลังงาน
และความอบอุ่นแก่ร่างกายแล้ว ยังช่วยในการดูดซึมวิตามินที่ละลายใน
น้าเช่น วิตามินเอ ดี และ เค ผู้สูงอายุจะต้องการไขมันในปริมาณน้อย แต่
ก็ขาดเสียมิได้ ถ้าบริโภคไขมันมากเกินไปจะทาให้อ้วน ไขมันอุดตันในเส้น
เลือด นอกจากนั้นยังทาให้เกิดอาการท้องอืด ท้องเฟ้ อหลังอาหารได้ ควร
ใช้นามันพืชที่มีกรดไลโนอิค ในการปรุงอาหาร เช่น น้านมถั่วเหลือง นา
มันรา หลีกเลี่ยงการใช้ไขมันจากสัตว์และน้ามันมะพร้าว
อาหารหลัก 5 หมู่
ความต้องการสารอาหารในผู้สูงอายุ
 1. พลังงาน ในวัยสูงอายุ กิจกรรมต่าง ๆ ลดลง การใช้แรงงานหนักต่าง ๆ
ก็น้อยลง และอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายมีการทางายน้อยลงด้วย ดังนั้น
ความต้องการพลังงานของผู้สูงอายุจะลดลง ร้อยละ 20 - 30 เมื่อ
เปรียบเทียบกับความต้องการพลังงานที่ได้รับใน 1 วัน ของกลุ่มอายุ 20 -
30 ปี กล่าวคือ
 ผู้สูงอายุชาย อายุ 60 - 69 ปี ต้องการพลังงานเฉลี่ยประมาณ 2200 กิโล
แคลอรี/วัน
 ผู้สูงอายุหญิง อายุ 60 - 69 ปี ต้องการพลังงานเฉลี่ยประมาณ 1850 กิโล
แคลอรี/วัน
ความต้องการสารอาหารในผู้สูงอายุ
 2. โปรตีน สารอาหารโปรตีน จาเป็นในการซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของ
ร่างกาย ตั้งแต่ผิวหนัง กล้ามเนื้ อ เลือด กระดูก ตลอดจนเนื้ อเยื่อต่าง ๆ
ผู้สูงอายุต้องการโปนตีนประมาณ 0.88 กรัม ต่อน้าหนักตัว 1 กิโลกรัม/วัน
 3. ไขมัน เป็นอาหารที่ให้พลังงาน ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย เป็นตัวนา
วิตามินที่ละลายในไขมันให้ใช้ประโยชน์ได้ในร่างกาย และยังช่วยให้อาหารมี
รสอร่อยและทาให้รู้สึกอิ่มผู้สูงอายุมีความต้องการพลังงานลดลง จึงควรลด
การบริโภคไขมันลงด้วย โดยการกินอาหารพวกไขมันแต่พอสมควร คือไม่ควร
เกินร้อยละ 25 - 30 ของปริมาณพลังงานทั้งหมด ที่ได้รับต่อวัน
 4. คาร์โบไฮเดรท เรามักจะได้รับพลังงานส่วนมาก จากคาร์โบไฮเดรท เป็น
อาหารที่ประกอบได้ง่ายและกินง่าย เคี้ยวง่าย แต่ผู้สูงอายุควรลดการกิน
อาหารจาพวกคาร์โบไฮเดรท โดยเฉพาะน้าตาลต่าง ๆ เพื่อเป็นการลด
ปริมาณพลังงานผู้สูงอายุได้รับคารโบไฮเดรท ร้อยละ 55% ของปริมาณ
พลังงานทั้งหมดต่อวัน
 5. วิตามิน ช่วยให้ร่างกายทางานได้ตามปกติ ผู้สูงอายุมีความต้องการ
วิตามินเท่ากับวันหนุ่มสาวแต่จะลดปริมาณวิตามินบางตัว เช่น วิตามินบี ซึ่ง
จะสัมพันธ์กับความต้องการของพลังงานที่ลดลง การที่ผู้สูงอายุกินอาหาร
อ่อน ๆ
ความต้องการสารอาหารในผู้สูงอายุ
ความต้องการสารอาหารในผู้สูงอายุ
 6. แร่ธาตุ ผู้สูงอายุมีความต้องการแร่ธาตุเท่าเดิม แต่ส่วนมากปัญหา
คือ การกินที่ไม่เพียงพอแรธาตุที่สาคัญ และเป็นปัญหาในผู้สูงอายุ
ได้แก่ แร่ธาตุเหล็ก และแคลเซียม
 7. น้า มีความสาคัญต่อร่างกายมาก ช่วยให้ระบบย่อยอาหาร และการ
ขับถ่ายของเสียส่วนมากผู้สูงอายุจะดื่มน้าไม่เพียงพอ ดังนั้น ผู้สูงอายุ
ควรดื่มน้าประมาณ 6 - 8 แก้ว เป็นประจาทุกวัน
 8. เส้นใยอาหาร แม้ว่าเส้นใยอาหารจะไม่ใช่สารอาหาร แต่เส้นใย
อาหารเป็นสานที่ได้จากพื้นและผักทุกชนิด ซึ่งน้าย่อยไม่สามารถย่อย
ได้ มีความสาคัญต่อสุขภาพของมนุษย์มาก เพราะถ้ากินเส้นใยอาหาร
เป็นประจา จะช่วยให้ท้องไม้ผูก ลดไขมันในเส้นเลือด ในทางตรงกัน
ข้าม หากกินอาหารที่มีเส้นใยน้อยจะทาให้ร่างกายเกิดโรคภัยไข้เจ็บ
ต่าง ๆ
ความต้องการสารอาหารในผู้สูงอายุ
การประเมินภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ
องค์การอนามัยโลกแนะนาว่าการคานวณหาค่าดัชนีมวลกาย สามารถ
นามาใช้ในการประเมินผลภาวะโภชนาการ ในผู้สูงอายุได้ดี โดยเฉพาะผู้สูงอายุ
ระหว่าง 60 - 69 ปี ที่สามารถยืนตัวตรงได้สาหรับผู้สูงอายุที่มีลักษณะ
โครงสร้างผิดปกติ ไม่สามารถยืนตัวตรงได้ เช่น ขาโกง หลังโกง โครงสร้างกระดูก
ทรุด เป็นต้น ให้คานวณค่าดัชนีมวลกาย โดยการใช้ความยาวของช่วงแขน (arm
span) แทนความสูง (การวัด arm span ให้วัดจากปลายนิ้ วกลางของมือข้างหนึ่ง
ถึงปลายนิ้ วกลางของมืออีกข้างหนึ่ง โดยให้ผู้ถูกวัดกางแขนทั้ง 2 ข้างขนานไหล่
และเหยียดแขนให้ตรง) ให้วัดหน่วยนับเป็นเมตร ใช้แทนส่วนสูงแล้วคานวณหา
ค่าดัชนีมวลกาย (Body Mass Index) ตามสูตร
การประเมินภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ
น้าหนักตัวเป็นกิโลกรัม
(ส่วนสูงเป็นเมตร)2
สูตรการคานวณ ดัชนีมวลกาย
น้าหนักปกติ ค่าอยู่ระหว่าง 18.5 - 24.9 กก./ม2
ภาวะโภชนาการเกิน ค่าอยู่ระหว่าง 25 - 29.9 กก./ม2
โรคอ้วน ค่าอยู่ระหว่าง 30 กก./ม2 ขึ้นไป
หลักการและตัวอย่างการจัดอาหารที่เหมาะสม
 ควรมีปริมาณสารอาหารและคุณค่าทางโภชนาการเพียงพอกับความต้องการ
ของร่างกาย
 การจัดอาหารแต่ละมื้อควรลดปริมาณน้อยลง และให้กินบ่อยครั้งกว่าเดิมในแต่
ละวัน
 ควรมีลักษณะนุ่ม เคี้ยวง่าย ย่อยง่าย และเลือกวิธีการเตรียมการปรุงที่
เหมาะสม สะดวกต่อการเคี้ยว และการย่อย
 อาหารประเภทผักต่าง ๆ ควรปรุงโดยวิธีการต้มหรือนึ่ง หลักเลี่ยงการกินผัก
สดที่มีผลทาให้แก็สและทาให้ท้องอืด ผู้สูงอายุที่ไม่มีปัญหาเรื่องท้องอืด แน่น
ท้อง จากการกินผัดสดก็จัดให้ได้
หลักการและตัวอย่างการจัดอาหารที่เหมาะสม
 ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง เพราะผู้สูงอายุจะย่อย และดูดซึมไขมันน้อยลง
อาจจะทาให้อาการท้องอืด และแน่นท้องได้
 ควรเป็นอาหารประเภทที่มีน้า เพื่อช่วยหล่อลื่นหลอดอาหาร ทาให้กลืนอาหาร
สะดวกขึ้น
 จัดผลไม้ให้ผู้สูงอายุทุกวัน และควรเป็นผลไม่ที่นิ่ม เคี้ยวง่าย เพื่อช่วยในการ
ขับถ่ายและให้ได้วิตามินต่างๆ เพิ่มขึ้น
 ผู้สูงอายุชอบขนมหวาน จึงควรจัดให้บ้างแต่ไม่บ่อยนัก และควรเป็นขนมที่ให้
ประโยชน์แก่ร่างกายด้วย เช่น กล้วยบวชชี เต้าส่วน ลอยแก้วผลไม้ เป็นต้น
 ให้เวลาในการกินอาหารผู้สูงอายุตามสบาย ไม่ควรรีบเร่ง เพราะอาจสาลัก เคี้ยว
ไม่ละเอียด หรืออาหารติดคอได้
หลักการและตัวอย่างการจัดอาหารที่เหมาะสม
 ปริมาณอาหารใน 1 วัน สาหรับผู้สูงอายุที่ควรที่จะได้รับ
แหล่งอ้างอิง
 สานักงานส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุ
http://hp.anamai.moph.go.th/soongwai/index.htm

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)Junee Sara
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณUtai Sukviwatsirikul
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKDPha C
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPrachaya Sriswang
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)yahapop
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ โปรตอน บรรณารักษ์
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลChutchavarn Wongsaree
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกPrachaya Sriswang
 
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภคบทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภคkasocute
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)pueniiz
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPrachaya Sriswang
 
คู่มือบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
คู่มือบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรีคู่มือบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
คู่มือบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรีVorawut Wongumpornpinit
 

Mais procurados (20)

Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKD
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
 
Drug
DrugDrug
Drug
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภคบทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านม
 
คู่มือบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
คู่มือบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรีคู่มือบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
คู่มือบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
 

Semelhante a แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ

โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติanutidabulakorn
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติanutidabulakorn
 
อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่Janjira Majai
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่kasocute
 
ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์Tawadchai Wong-anan
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพOnrapanee Kettawong
 
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด Kraisee PS
 
โภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาโภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาtassanee chaicharoen
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพOnrapanee Kettawong
 
อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่an1030
 
ความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _นความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _นTanadol Intachan
 
10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหารPanjaree Bungong
 

Semelhante a แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ (20)

โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติ
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติ
 
อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
 
ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
 
โภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาโภชนาการตติยา
โภชนาการตติยา
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 
อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่
 
ความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _นความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _น
 
10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 

Mais de Dashodragon KaoKaen

ปริศนาทายคำจากภาพ
ปริศนาทายคำจากภาพปริศนาทายคำจากภาพ
ปริศนาทายคำจากภาพDashodragon KaoKaen
 
รังสีอัลตราไวโอเลต
รังสีอัลตราไวโอเลตรังสีอัลตราไวโอเลต
รังสีอัลตราไวโอเลตDashodragon KaoKaen
 
เซรุ่มแก้พิษงู
เซรุ่มแก้พิษงูเซรุ่มแก้พิษงู
เซรุ่มแก้พิษงูDashodragon KaoKaen
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆDashodragon KaoKaen
 
การขาดกรดนิวคลีอิก
การขาดกรดนิวคลีอิกการขาดกรดนิวคลีอิก
การขาดกรดนิวคลีอิกDashodragon KaoKaen
 
อาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารเพื่อสุขภาพอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารเพื่อสุขภาพDashodragon KaoKaen
 

Mais de Dashodragon KaoKaen (7)

ปริศนาทายคำจากภาพ
ปริศนาทายคำจากภาพปริศนาทายคำจากภาพ
ปริศนาทายคำจากภาพ
 
หมอธรรม
หมอธรรมหมอธรรม
หมอธรรม
 
รังสีอัลตราไวโอเลต
รังสีอัลตราไวโอเลตรังสีอัลตราไวโอเลต
รังสีอัลตราไวโอเลต
 
เซรุ่มแก้พิษงู
เซรุ่มแก้พิษงูเซรุ่มแก้พิษงู
เซรุ่มแก้พิษงู
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
การขาดกรดนิวคลีอิก
การขาดกรดนิวคลีอิกการขาดกรดนิวคลีอิก
การขาดกรดนิวคลีอิก
 
อาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารเพื่อสุขภาพอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารเพื่อสุขภาพ
 

แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ

  • 2. โภชนาการกับผู้สูงอายุ  การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุมีความต้องการปริมาณอาหารลดน้อยลง แต่ความต้องการ สารอาหารนี้ ยังคงเดิมดังนั้นอาหารของผู้สูงอายุ ควรจัดให้มีปริมาณและคุณภาพ พอเพียงกับความต้องการของร่างกาย การรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ทุกวัน ในปริมาณและสัดส่วนที่เหมาะสม เป็นสิ่งสาคัญ และควรปฏิบัติ ในการแนะนา อาหารสาหรับผู้สูงอายุ เพื่อนาไปปฏิบัติในชีวิตประจาวัน เพื่อสุขภาพอนามัยที่ สมบูรณ์และพึงประสงค์
  • 3.  อาหารหมู่ที่ 1 เนื้ อสัตว์ ไข่ นม ถั่วเมล็ดแห้งต่าง ๆ ซึ่งให้สารอาหารประเภทโปรตีน มีหน้าที่ในการเสริมสร้าง ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของร่างกายเนื้ อสัตว์ต่าง ๆ • ปลาจะเหมาะมากสาหรับผู้สูงอายุ แต่ควรเลือกก้างออกให้หมด • ไข่ เป็นอาหารที่เหมาะสาหรับผู้สูงอายุ เพราะมีคุณค่าทางอาหารสูงมากในไข่ แดงมีธาตุเหล็กในปริมาณสูง สัปดาห์ละ 3 - 4 ฟอง ถ้าผู้สูงอายุที่มีปัญหาไขมัน ในเลือดสูง ควรลดจานวนลงหรือบริโภคเฉพาะไข่ขาวเท่านั้น • นม เป็นอาหารที่มีแคลเซียมและโปรตีนสูง ผู้สูงอายุควรดื่มวันละ 1 แก้ว สาหรับ ผู้สูงอายุที่มีปัญหาเรื่องไขมันในเลือดสูง หรือน้าหนักตัวมาก อาจดื่มนมพร่องมัน เนย หรือนมถั่วเหลืองแทนได้ • ถั่วเมล็ดแห้ง เป็นอาหารที่มีโปรตีนสูง และราคาถูก ใช้แทนอาหารพวกเรื้อสัตว์ ได้ สาหรับผู้สูงอายุ อาหารหลัก 5 หมู่
  • 4. อาหารหลัก 5 หมู่  อาหารหมู่ที่ 2 ข้าว แป้ ง น้าตาล เผือก มัน อาหารหมู่นี้ ให้สารอาหาร คาร์โบไฮเดรท มีหน้าทีให้พลังงาน และความอบอุ่นแก่ร่างกาย ผู้สูงอายุต้องการอาหารหมู่นี้ ลดลงกว่าวัยทางาน
  • 5.  อาหารหมู่ที่ 3 ผักต่าง ๆ ให้สารอาหารพวกวิตามินและแร่ธาตุ ผู้สูงอายุควรเลือกกินผักหลาย ๆ ชนิดสลับกัน ควรปรุงโดยวิธีต้มสุก หรือนึ่งได้จะดี เพราะจะทาให้ย่อยง่าย และไม่เกิดแก๊สในกระเพราะ ป้ องกันท้องอืด ท้องเฟ้ อได้ อาหารหลัก 5 หมู่
  • 6.  อาหารหมู่ที่ 4 ผลไม้ต่าง ๆ เป็นอาหารที่มีคุณค่าต่อร่างกานคล้ายอาหาร หมู่ 3 มีวิตามินและแร่ธาตุต่าง ๆ มากมาย และยังมีรสหวานหอม มี ปริมาณของน้าอยู่มาก ทาให้ร่างกายสดชื่น เมื่อได้กินผลไม้ ผู้สูงอายุ สามารถกินผลไม้ได้ทุกชนิด และควรกินผลไม้ทุกวัน เพื่อจะได้รับวิตามิน ซี และเส้นใยอาหาร ควรเลือกผลไม้ที่มีเนื้ อนุ่ม เคี้ยวง่าย เช่น มะละกอ กล้วยสุก ส้ม เป็นต้น อาหารหลัก 5 หมู่
  • 7.  อาหารหมู่ที่ 5 ไขมันจากสัตว์ และพืช อาหารหมู่นี้ นอกจากจะให้พลังงาน และความอบอุ่นแก่ร่างกายแล้ว ยังช่วยในการดูดซึมวิตามินที่ละลายใน น้าเช่น วิตามินเอ ดี และ เค ผู้สูงอายุจะต้องการไขมันในปริมาณน้อย แต่ ก็ขาดเสียมิได้ ถ้าบริโภคไขมันมากเกินไปจะทาให้อ้วน ไขมันอุดตันในเส้น เลือด นอกจากนั้นยังทาให้เกิดอาการท้องอืด ท้องเฟ้ อหลังอาหารได้ ควร ใช้นามันพืชที่มีกรดไลโนอิค ในการปรุงอาหาร เช่น น้านมถั่วเหลือง นา มันรา หลีกเลี่ยงการใช้ไขมันจากสัตว์และน้ามันมะพร้าว อาหารหลัก 5 หมู่
  • 8. ความต้องการสารอาหารในผู้สูงอายุ  1. พลังงาน ในวัยสูงอายุ กิจกรรมต่าง ๆ ลดลง การใช้แรงงานหนักต่าง ๆ ก็น้อยลง และอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายมีการทางายน้อยลงด้วย ดังนั้น ความต้องการพลังงานของผู้สูงอายุจะลดลง ร้อยละ 20 - 30 เมื่อ เปรียบเทียบกับความต้องการพลังงานที่ได้รับใน 1 วัน ของกลุ่มอายุ 20 - 30 ปี กล่าวคือ  ผู้สูงอายุชาย อายุ 60 - 69 ปี ต้องการพลังงานเฉลี่ยประมาณ 2200 กิโล แคลอรี/วัน  ผู้สูงอายุหญิง อายุ 60 - 69 ปี ต้องการพลังงานเฉลี่ยประมาณ 1850 กิโล แคลอรี/วัน
  • 9. ความต้องการสารอาหารในผู้สูงอายุ  2. โปรตีน สารอาหารโปรตีน จาเป็นในการซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของ ร่างกาย ตั้งแต่ผิวหนัง กล้ามเนื้ อ เลือด กระดูก ตลอดจนเนื้ อเยื่อต่าง ๆ ผู้สูงอายุต้องการโปนตีนประมาณ 0.88 กรัม ต่อน้าหนักตัว 1 กิโลกรัม/วัน  3. ไขมัน เป็นอาหารที่ให้พลังงาน ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย เป็นตัวนา วิตามินที่ละลายในไขมันให้ใช้ประโยชน์ได้ในร่างกาย และยังช่วยให้อาหารมี รสอร่อยและทาให้รู้สึกอิ่มผู้สูงอายุมีความต้องการพลังงานลดลง จึงควรลด การบริโภคไขมันลงด้วย โดยการกินอาหารพวกไขมันแต่พอสมควร คือไม่ควร เกินร้อยละ 25 - 30 ของปริมาณพลังงานทั้งหมด ที่ได้รับต่อวัน
  • 10.  4. คาร์โบไฮเดรท เรามักจะได้รับพลังงานส่วนมาก จากคาร์โบไฮเดรท เป็น อาหารที่ประกอบได้ง่ายและกินง่าย เคี้ยวง่าย แต่ผู้สูงอายุควรลดการกิน อาหารจาพวกคาร์โบไฮเดรท โดยเฉพาะน้าตาลต่าง ๆ เพื่อเป็นการลด ปริมาณพลังงานผู้สูงอายุได้รับคารโบไฮเดรท ร้อยละ 55% ของปริมาณ พลังงานทั้งหมดต่อวัน  5. วิตามิน ช่วยให้ร่างกายทางานได้ตามปกติ ผู้สูงอายุมีความต้องการ วิตามินเท่ากับวันหนุ่มสาวแต่จะลดปริมาณวิตามินบางตัว เช่น วิตามินบี ซึ่ง จะสัมพันธ์กับความต้องการของพลังงานที่ลดลง การที่ผู้สูงอายุกินอาหาร อ่อน ๆ ความต้องการสารอาหารในผู้สูงอายุ
  • 11. ความต้องการสารอาหารในผู้สูงอายุ  6. แร่ธาตุ ผู้สูงอายุมีความต้องการแร่ธาตุเท่าเดิม แต่ส่วนมากปัญหา คือ การกินที่ไม่เพียงพอแรธาตุที่สาคัญ และเป็นปัญหาในผู้สูงอายุ ได้แก่ แร่ธาตุเหล็ก และแคลเซียม  7. น้า มีความสาคัญต่อร่างกายมาก ช่วยให้ระบบย่อยอาหาร และการ ขับถ่ายของเสียส่วนมากผู้สูงอายุจะดื่มน้าไม่เพียงพอ ดังนั้น ผู้สูงอายุ ควรดื่มน้าประมาณ 6 - 8 แก้ว เป็นประจาทุกวัน
  • 12.  8. เส้นใยอาหาร แม้ว่าเส้นใยอาหารจะไม่ใช่สารอาหาร แต่เส้นใย อาหารเป็นสานที่ได้จากพื้นและผักทุกชนิด ซึ่งน้าย่อยไม่สามารถย่อย ได้ มีความสาคัญต่อสุขภาพของมนุษย์มาก เพราะถ้ากินเส้นใยอาหาร เป็นประจา จะช่วยให้ท้องไม้ผูก ลดไขมันในเส้นเลือด ในทางตรงกัน ข้าม หากกินอาหารที่มีเส้นใยน้อยจะทาให้ร่างกายเกิดโรคภัยไข้เจ็บ ต่าง ๆ ความต้องการสารอาหารในผู้สูงอายุ
  • 13. การประเมินภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ องค์การอนามัยโลกแนะนาว่าการคานวณหาค่าดัชนีมวลกาย สามารถ นามาใช้ในการประเมินผลภาวะโภชนาการ ในผู้สูงอายุได้ดี โดยเฉพาะผู้สูงอายุ ระหว่าง 60 - 69 ปี ที่สามารถยืนตัวตรงได้สาหรับผู้สูงอายุที่มีลักษณะ โครงสร้างผิดปกติ ไม่สามารถยืนตัวตรงได้ เช่น ขาโกง หลังโกง โครงสร้างกระดูก ทรุด เป็นต้น ให้คานวณค่าดัชนีมวลกาย โดยการใช้ความยาวของช่วงแขน (arm span) แทนความสูง (การวัด arm span ให้วัดจากปลายนิ้ วกลางของมือข้างหนึ่ง ถึงปลายนิ้ วกลางของมืออีกข้างหนึ่ง โดยให้ผู้ถูกวัดกางแขนทั้ง 2 ข้างขนานไหล่ และเหยียดแขนให้ตรง) ให้วัดหน่วยนับเป็นเมตร ใช้แทนส่วนสูงแล้วคานวณหา ค่าดัชนีมวลกาย (Body Mass Index) ตามสูตร
  • 15. หลักการและตัวอย่างการจัดอาหารที่เหมาะสม  ควรมีปริมาณสารอาหารและคุณค่าทางโภชนาการเพียงพอกับความต้องการ ของร่างกาย  การจัดอาหารแต่ละมื้อควรลดปริมาณน้อยลง และให้กินบ่อยครั้งกว่าเดิมในแต่ ละวัน  ควรมีลักษณะนุ่ม เคี้ยวง่าย ย่อยง่าย และเลือกวิธีการเตรียมการปรุงที่ เหมาะสม สะดวกต่อการเคี้ยว และการย่อย  อาหารประเภทผักต่าง ๆ ควรปรุงโดยวิธีการต้มหรือนึ่ง หลักเลี่ยงการกินผัก สดที่มีผลทาให้แก็สและทาให้ท้องอืด ผู้สูงอายุที่ไม่มีปัญหาเรื่องท้องอืด แน่น ท้อง จากการกินผัดสดก็จัดให้ได้
  • 16. หลักการและตัวอย่างการจัดอาหารที่เหมาะสม  ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง เพราะผู้สูงอายุจะย่อย และดูดซึมไขมันน้อยลง อาจจะทาให้อาการท้องอืด และแน่นท้องได้  ควรเป็นอาหารประเภทที่มีน้า เพื่อช่วยหล่อลื่นหลอดอาหาร ทาให้กลืนอาหาร สะดวกขึ้น  จัดผลไม้ให้ผู้สูงอายุทุกวัน และควรเป็นผลไม่ที่นิ่ม เคี้ยวง่าย เพื่อช่วยในการ ขับถ่ายและให้ได้วิตามินต่างๆ เพิ่มขึ้น  ผู้สูงอายุชอบขนมหวาน จึงควรจัดให้บ้างแต่ไม่บ่อยนัก และควรเป็นขนมที่ให้ ประโยชน์แก่ร่างกายด้วย เช่น กล้วยบวชชี เต้าส่วน ลอยแก้วผลไม้ เป็นต้น  ให้เวลาในการกินอาหารผู้สูงอายุตามสบาย ไม่ควรรีบเร่ง เพราะอาจสาลัก เคี้ยว ไม่ละเอียด หรืออาหารติดคอได้
  • 17. หลักการและตัวอย่างการจัดอาหารที่เหมาะสม  ปริมาณอาหารใน 1 วัน สาหรับผู้สูงอายุที่ควรที่จะได้รับ
  • 18. แหล่งอ้างอิง  สานักงานส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุ http://hp.anamai.moph.go.th/soongwai/index.htm