SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 10
ความเป็น “เมือง” กับ
ระบบการสาธารณสุข ระบบบริการปฐมภูมิ เพื่อความอยู่ดีมีสุข
นายแพทย์ ชูชัย ศรชานิ
สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสาหรับศตวรรษที่ 21
มีความเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงวิวัฒนาการของบริบทและสิ่งแวดล้
อมของโลกอย่างแยกกันไม่ออก
ผลที่ตามมาที่เห็นได้ไม่ว่าจะเป็นปัญหาความไม่เป็นธรรมไม่เท่าเทียมกัน
ของการเข้าถึงทรัพยากรทางด้านสุขภาพ
ความเหลื่อมลาด้านเศรษฐกิจทาให้คนที่ฐานะทางสังคมด้อยกว่าหรือมีช่
องว่างทางสังคมมากกว่าได้รับบริการที่ด้อยคุณภาพหรือไม่ได้รับบริการ
สุขภาพในโรคเรือรังที่ต่อเนื่อง มีปัญหาด้านความรุนแรงในสังคม
ปัญหายาเสพติด การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยา อาหาร
หรือผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ ปรากฏการณ์เหล่านี ล้วนแล้วแต่มากับ
“การใช้ชีวิตแบบเมือง”1
ที่กล่าวว่าแยกกับหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าไม่ออก ก็เพราะว่า
ถ้าหากสามารถจัดการหลักประกันความมั่นคงด้านสุขภาพได้มีประสิทธิ
ภาพดี
ก็น่าจะช่วยควบคุมหรือลดผลกระทบปรากฏการณ์ข้างต้นให้บรรเทาเบา
บางลงได้
วิถีชีวิตแบบเมือง (Urban lifestyles)
มีความแตกต่างหลากหลายซับซ้อน
ที่ต้องการการออกแบบการจัดการทางสังคม วัฒนธรรมอย่างใหม่
และยังต้องการการออกแบบการจัดบริการสุขภาพใหม่
การออกแบบการจัดการด้านการสาธารณสุขแบบใหม่ (New set of
roles for health care systems)
1 Beck, M.B., Gupta, H., Rastetter E., Shoemaker, C., Tarboton, D., Butler, R., Edelson, D., Graber, H., Gross, L.,
Harmon, T., McLaughlin, D., Paola, C., Peters, D., Scavia, D., Schnoor, J.L. & Weber, L. (2009). Grand Challenges
of the Future for Environmental Modeling. White Paper. National Science Foundation, Arlington, Virginia.
เพื่อให้สอดรับกับความต้องการด้านสาธารณสุขและบริการสุขภาพ
(Demand for health)
ที่แตกต่างหลากหลายมีพลวัตรสูงของการใช้ชีวิตในเมือง
อันแตกต่างอย่างสินเชิงกับชีวิตชนบท
อย่างไรก็ดี ความเป็นเมืองไม่ได้เป็นปัจจัยคุกคามไปเสียทังหมด
ความเป็นเมืองเป็นโอกาสการพัฒนานวัตกรรมในระบบสุขภาพด้วย
เพราะเมือง (ถ้าไม่กล่าวถึงเรื่องความเป็นธรรมในการกระจายทรัพยากร)
เป็นที่ที่มีทรัพยากรมาก จึงมีความเป็นไปได้มากที่จะลงทุน
หรือดาเนินการกิจกรรมเพื่อปกป้องความมั่นคงด้านสุขภาพส่งเสริมสุขภ
าพให้มีสุขภาวะที่ดีอยู่ดีมีสุข (Protecting and promoting human
health and wellbeing)
โดยอยู่ในขอบข่ายประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจได้
การสร้างความอยู่ดีมีสุขและสุขภาพดี (Health and wellbeing)
ของผู้คนในเขตเมืองนัน มีกระบวนการที่อาจจะหลากหลายซับซ้อน
แต่ก็อาจจะใช้เป็นโอกาสที่ในเมืองก็มีนวัตกรรมหรือสามารถบูรณาการ
สานนวัตกรรมเพื่อสุขภาพได้ในเขตเมือง
เพราะว่าในพืนที่เมืองก็มักจะเป็นที่รวมของ ต้นทุนทางสังคม
กระบวนการคุณภาพ โครงสร้างพืนฐานที่มีมาตรฐานอยู่ก่อนหน้าแล้ว
(ที่ดีกว่าเขตชนบท) ในการนามาสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
แนวโน้มการเป็นเมืองและการใช้ชีวิตแบบเมือง
และการออกแบบระบบสุขภาพ
มีรายงานว่า ประชากรโลกปัจจุบันกว่าร้อยละ 50
ใช้ชีวิตแบบเมือง2
และสาหรับประเทศไทยก็มีแนวโน้มประชากรที่อาศัยอยู่ในเมือง
และใช้ชีวิตแบบเมืองเพิ่มมากขึนอย่างรวดเร็ว
ภาพที่ 1 แนวโน้มความเป็นเมืองของประเทศไทย
ที่มา United Nations : World Urbanization Prospect Database
ความยากของการสร้างรูปแบบและกระบวนการเพื่อสุขภาพดี
และหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสาหรับความเป็นเมืองของประเทศไทย
อยู่ที่ “การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว”
ของประชากรที่ย้ายถิ่นฐานมาจากพืนที่อันหลากหลายทังในประเทศแล
ะมาจากนานาชาติ
ผู้คนที่มารวมเป็นชุมชนเขตเมืองมาจากเศรษฐานะที่ไม่เท่าเทียมกัน
มีคติความเชื่อส่วนบุคคลและปฏิสัมพันธ์ทางสังคมที่เป็นแบบแผนต่างๆกั
น มาอยู่ในฐานะทางสังคม
หรือบ่อยครังก็มีเบืองหลังด้านอาชญากรรมที่แตกต่างกัน
คนเหล่านีต้องมารวมกันในอาคารชุด ห้องเช่า บ้านจัดสรร ชุมชนแออัด
คนเร่ร่อน
สร้างเป็นชุมชนเมืองใหม่ที่อาจมีความแปลกแยกระหว่างความเป็นปัจเจ
ก การใช้ชีวิตในครอบครัว
2 Ahmad, E. (2007). Big, or Too Big. Finance and Development, September, pp. 20-23.
ในการจัดระบบสุขภาพชุมชนเมือง
มีความเหลื่อมลาระหว่างคนจนในเมืองกับคนชันกลางคนชันสูงในเมือง
ในเรื่องการจัดการด้านสาธารณสุข ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง
ความสามารถในการเข้าถึงอาหารปลอดภัยอาหารผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภา
พ นา การจัดการพืนที่สาธารณะเพื่อสุขภาพ
การจัดการขยะปฏิกูลของเสียในเมือง
ระบบการขนส่งที่ปลอดภัยและคุ้มครองผู้โดยสาร โครงสร้างพืนฐาน
สุขาภิบาลของที่อยู่อาศัย การป้องกันภัย
ปัญหาความรุนแรงในครอบครัวสังคมชุมชนแออัด
ชุมชนย้ายถิ่นบ้านเช่าอาคารแท่ง รวมถึงการเข้าถึงบริการสุขภาพด้วย3
การใช้ชีวิตแบบเมืองเกี่ยวข้องกับการควบคุมป้องกันและจัดการโร
คเรือรัง และโรคติดต่อด้วย 4
เนื่องจากมีการบริโภคปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
การใช้ชีวิตที่ออกกาลังกายน้อย ความอ้วน ความเคร่งเครียด
การอยู่ในสถานที่เดียวกันอย่างแออัด
การที่เขตเมือง
มีความหนาแน่นของประชากรมากและมีโครงสร้างพืนฐานที่แตกต่างจา
กพืนที่ชนบท มีความซับซ้อนทางด้านระบบเศรษฐกิจมหภาค จุลภาค
เศรษฐกิจใต้เงา มีความซับซ้อนทางการจัดโครงสร้างองค์กรสังคม
อาชีพที่หลากหลายที่ไม่ใช่เกษตรกร
การจัดการเพื่อความอยู่ดีมีสุข (Health and wellbeing)
ของประชาชนในเขตเมืองและที่ใช้ชีวิตแบบเมือง
ต้องดาเนินการเชิงระบบ (Systems approach)
โดยผ่านกระบวนการการมีส่วนร่วมของคนที่มีบริบทเมือง
และผู้นาแกนนาชุมชนในเขตเมือง
(ชุมชนในที่นีหมายรวมทังชุมชนที่มีถิ่นที่ตัง และ
ชุมชนเครือข่ายทางสังคมอิเลคโทรนิคส์)
3 Commission on Social Determinants of Health (2008). Closing the gap in a generation: health equity through
action on the social determinants of health. Final Report of the Commission on Social Determinants of Health.
Geneva : World Health Organization.
4 Poel et al., 2009
การดาเนินการเชิงระบบ ต้องคิดถึงปัจจัยด้านกฏหมาย การบริหาร
เงื่อนไขทางสังคม การจัดการสภาพแวดล้อมโดยเฉพาะอากาศ นา
ความปลอดภัยของอาคาร ระบบภาษี สถานประกอบการ ตลาด
การออกแบบการจัดการโรคและภาวะคุกคามด้านสุขภาพและสวัสดิการ
ทางสังคม
การจัดการให้เกิดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสาหรับผู้อพยพย้ายถิ่น
การศึกษาและงานอนามัยในสถานศึกษาระดับปฐม มัธยม
และอาชีวศึกษา อุดมศึกษา (ที่มักมีในเขตเมืองแต่เขตชนบทไม่มี)
ความปลอดภัยและสุขาภิบาลของระบบขนส่งสาธารณะขนส่งมวลชน
การจัดการสุขภาพเมื่อมีภัยขนาดใหญ่ (Extreme weather events)
การดาเนินการเชิงระบบ
หมายถึงการจัดการปัจจัยบ่งชีสุขภาพและความอยู่ดีมีสุขของบริบทเมือง
(Determinants of urban health and wellbeing) ทังที่
 เป็นเรื่องใกล้กับระบบสาธารณสุข เช่น
การออกแบบระบบบริการสุขภาพ การจัดการสิ่งแวดล้อม
การจัดการกับพฤติกรรมสุขภาพแบบเมือง
จัดการอาหารเพื่อสุขภาพที่เข้าถึงได้ทังคนยากจนและร่ารวย
การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
พืนที่ออกกาลังกายสาธารณะ ฯลฯ
 เป็นเรื่องไกลออกไปจากระบบสาธารณสุขแต่เกี่ยวข้องกัน เช่น
การจัดสถาปัตยกรรมชุมชนเมือง
สายการผลิตและจัดส่งอาหารและพลังงาน
ความเหลื่อมลาทางเศรษฐกิจ ระบบการศึกษาและอนามัยโรงเรียน
การจ้างงานและระบบการปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
การเมืองท้องถิ่น
การกระจายอานาจการจัดการปัญหาครอบครัวและการผสมผสานทา
งวัฒนธรรมการขัดแย้งทางวัฒนธรรม ศาสนา
การจัดการเพื่อความอยู่ดีมีสุข (Health and wellbeing)
และให้เกิดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในเขตเมือง
จึงต้องมีข้อมูลระดับชุมชนครอบครัวที่เพียงพอและน่าเชื่อถือ (Ensure
adequacy and reliability of health related data)
ต้องการความร่วมมือกันในหลายภาคส่วนเพื่อให้เกิดระบบสาธารณสุข
การจัดการสิ่งแวดล้อม การป้องกันภัยพิบัติ
การจัดการสวัสดิการทางสังคม (Need for inter-sectoral co-
ordination)
แบ่งปันความสาเร็จและประสบการณ์ที่ดีระหว่างชุมชนเมืองด้วยกัน
(Sharing of successful experiences and best practice models)
และ ลดภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพและการดูแลสุขภาพ
ด้วยการจัดการให้มีกองทุนสุขภาพพัฒนาชุมชนเขตเมือง
กิจกรรมการตลาดเพื่อสังคมและการรับผิดชอบต่อสังคมของกิจการเอก
ชน (Reducing the financial burden of health care)
ภาพที่ 2
กรอบแนวคิดการจัดการปัจจัยบ่งชีสุขภาพและความอยู่ดีมีสุขและมีหลัก
ประกันสุขภาพถ้วนหน้า
Distal Determinants
เศรษฐกิจ และการเงิน
วัฒนธรรม สังคม
และพฤติกรรม
การศึกษา และการดูแลสุขภาพ
การบริบาลระบบ
และกฎหมาย
การจัดการ
พื้นที่
และการออ
กแบบอาคา
รบ้านเรือน
ตลาด โลกาภิวัฒน์ การค้า
ผลิตภัณฑ์อาหาร อุตสาหกรรม
ศาสนา
วัฒนธรรม
มาตรการแนวโน้มเศรษฐกิจ
ความมั่นคงอาหาร
การมีงานทา
ครอบครัว
วิถีการบริโภค
บุคลากร
ค่าใช้จ่าย
การฝึกอบรม
โครงสร้างพื้นฐาน
เทคโนโลยีทางการแพทย์
และสาธารณสุข
ระบบรัฐบาล
ความแน่นอนทางการเมือ
ง นโยบายสังคมคนเมือง
การมีส่วนร่วมของเ
ทศบาล
เทศบัญญัติ
แนวโน้มแนวคิดทา
งการเมืองคนเมือง
Proximal Determinants
ประชากร
ชีววิทยา
ของมนุษย์ที่ผส
มผสาน
สิ่งแวดล้อม
และระบบนิเ
วศ
การย้ายถิ่นฐาน
การเติบโต
ประชากร
Herd
immunity
ชีววิทยามนุษ
ย์
การเดินทาง
ระหว่าง
เมือง กับ ชนบท
ดื้อยา
โรค
การช่วยเหลือท
างสังคม
ยาเสพติด
ออกกาลังกาย
อาหาร
เชื้อชาติ
เพศ อายุ
ภูมิคุ้มกัน
พันธุกรรม
ความมั่งคั่ง
รายได้
ความ
ยากจน
ความสามารถ
เข้าถึง
คุณภาพ
อาชญากรรม
ความรุนแรง
ในสังคม
เคหะสถาน
โครงสร้างพื้น
ฐาน
ขนส่งมวลชน
น้า สุขาภิบาล
ขยะชุมชน
ภยันตราย
ในเมือง
คุณภาพ
อากาศ
คุณภาพ
น้า
สิ่งแวดล้อมธร
รมชาติ
เกษตรกรรม
บรรยากาศ
การใช้พื้นที่ดิ
น
แบบแผนชีวิต
คนเมือง
พลังงาน
และการใช้พลั
งงาน
สุขภาพ และ
ความอยู่ดีมีสุขในเมือ
ง
คนเมือง
กาย
โรค บาดเจ็บ
ความบกพร่อง
ความพิการ
สังคม
กลุ่มช่วยเหลือทางสังคม
(Social support groups)
การเสริมพลังสังคม
เครือข่ายปกป้ องความมั่นคงทาง
สังคม (Safety net)
จิต
ผู้ป่วยทางจิต
เยียวยาจิตใจจิตเวชชุม
ชน
การพัฒนาจิตคนเมือง
ความบกพร่อง
ที่มา ดัดแปลงจาก ICSU (2011). Report of the ICSU Planning Group on
Health and Wellbeing in the Changing Urban
ระบบการสาธารณสุขและ การบริการสุขภาพในเขตเมือง
เนื่องจากความเป็นเมือง และการใช้ชีวิตแบบเมือง
มีผลโดยตรงต่อประชาชน
องค์การอนามัยโลกจึงได้กาหนดการรณรงค์เป็นคาขวัญวันอนามัยโลก
ปี 2010 ที่จะให้นักการสาธารณสุขและนักออกแบบระบบบริการสุขภาพ
มาร่วมกันวางแผน
สร้างแบบแผนที่เหมาะสมสาหรับชีวิตเมืองในศตวรรษที่ 21
มีเนือความที่สาคัญเกี่ยวกับการออกแบบที่เป็นวัตกรรม
การจัดการสุขภาวะร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Municipal
authorities) 5
การจัดระบบการสาธารณสุขในเขตเมือง 5
เรื่องที่องค์การอนามัยโลกแนะนา
หากพิจารณาในอีกมุมมองหนึ่งทางด้านโอกาสการพัฒนา
เมืองก็มีทรัพยากรเพื่อการพัฒนามากกว่าในเขตชนบท
มีความพร้อมในโครงสร้างพืนฐานดีกว่า
องค์การอนามัยโลกจึงเสนอให้ใช้โอกาสนีสร้าง 5
มาตรการของระบบการสาธารณสุข
เพื่อให้ประชาชนที่อยู่ในเมืองมีสุขภาวะที่ดี
โดยนักการสาธารณสุขควรมีกิจกรรม ดังนี
1. ส่งเสริมการวางผังเมือง และจัดทาแผนระบบสุขภาพเขตเมือง
เพื่อให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพและความปลอดภัย
5 Urban planning essential for public health.
http://www.who.int/mediacentre/news/releases/2010/urban_health_20100407/en/
2. พัฒนาชีวิตความเป็นอยู่และเงื่อนไขความเป็นอยู่ที่ดีถ้วนหน้า
3. สร้างสรรค์นโยบายสาธารณะ
และบริบาลระบบสุขภาพเขตเมืองอย่างมีส่วนร่วม
4. สร้างสิ่งแวดล้อมเมืองที่ไม่เลือกปฏิบัติ
และสร้างกลไกให้เป็นมิตรกับสังคมผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุสามารถเข้าถึงบริการสาธารณะได้อย่างเท่าเทียมกัน
5. ทาให้ชุมชนเมือง มีภูมิคุ้มกัน
พลังต้านต่อภยันตรายและเหตุฉุกเฉิน
การส่งเสริมสุขภาพ การจัดการสภาพแวดล้อมเพื่อการสาธารณสุข
จึงหมายถึงความร่วมมือกันแบ่งปันทรัพยากรกัน
การมีข้อตกลงร่วมกันระหว่างภาครัฐ เอกชน ชุมชน
นิติบุคคลบริหารอาคารชุด คณะกรรมการชุมชน สภาพลเมือง
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น6
การจัดระบบบริการปฐมภูมิในเขตเมืองที่สะดวก ทันสมัย
ไร้รอยต่อกับระบบโรงพยาบาล
การจัดบริการที่ใกล้บ้าน ใกล้ใจในเขตเมือง
เพื่อให้เหมาะกับวิถีชีวิตคนเมืองทุกชนชัน (ชนชันกลางในเมือง
คนชันสูง คนด้อยโอกาสในเมือง)
ที่ต้องมาใช้ชีวิตร่วมกันในพืนที่เดียวกัน
 การออกแบบโครงสร้างสถาปัตยกรรม
 กระบวนการจัดบริการ และส่งมอบบริการ
 มาตรฐาน ความปลอดภัย
การรับรองมาตรฐานความน่าเชื่อถือ
ของระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง จะต้องรวดเร็วทันใจ ทันสมัย
เชื่อมต่อข้อมูลกับโรงพยาบาลอย่างไร้รอยต่อ
6 Health promotion in the city: a structured review of the literature on interventions to prevent heart disease,
substance abuse, violence and HIV infection in US metropolitan areas, 1980-1995. J Urban Health. 2000
Sep;77(3):443-57.
โดยเฉพาะการจัดการดูแลผู้ที่มีโรคเรือรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการ
ผู้ด้อยโอกาส7
ที่สาคัญคือ
ระบบบริการปฐมภูมิเขตเมืองจะต้องบูรณาการกับสวัสดิการทางสังคม
(Social welfare) เครือข่ายความปลอดภัยทางสังคม (Safety net)
กิจการรับผิดชอบต่อสังคมการตลาดเพื่อสังคม (CSR – social
marketing) เครือข่ายประชาคมสุขภาพ (Civil society)
และแกนนาชุมชนวัฒนธรรมย่อย (Sub –culture leaders)
7 Hansen-Turton T1, Ryan S, Miller K, Counts M, Nash DB. Convenient care clinics: the future of accessible
health care. Dis Manag. 2007 Apr;10(2):61-73.

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookUtai Sukviwatsirikul
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPrachaya Sriswang
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน" การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน" Utai Sukviwatsirikul
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5พิพัฒน์ ตะภา
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบwanchalerm sotawong
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังUtai Sukviwatsirikul
 
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครองPresentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครองkamolwantnok
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุSiwaporn Khureerung
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.nhs0
 
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้นแผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้นssuser741b9d
 
การสร้าง App ด้วยมือถือ
การสร้าง App ด้วยมือถือการสร้าง App ด้วยมือถือ
การสร้าง App ด้วยมือถือJaemjan Sriarunrasmee
 

Mais procurados (20)

Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านม
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน" การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
 
ทักษะการปฏิเสธ
ทักษะการปฏิเสธทักษะการปฏิเสธ
ทักษะการปฏิเสธ
 
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
 
Handbook chapter33 34
Handbook chapter33 34Handbook chapter33 34
Handbook chapter33 34
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
 
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครองPresentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้นแผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
 
การสร้าง App ด้วยมือถือ
การสร้าง App ด้วยมือถือการสร้าง App ด้วยมือถือ
การสร้าง App ด้วยมือถือ
 

Destaque

นิยามของเวชศาสตร์เขตเมือง
นิยามของเวชศาสตร์เขตเมืองนิยามของเวชศาสตร์เขตเมือง
นิยามของเวชศาสตร์เขตเมืองChavanant Sumanasrethakul
 
นิยามของเวชศาสตร์เขตเมือง V2
นิยามของเวชศาสตร์เขตเมือง V2นิยามของเวชศาสตร์เขตเมือง V2
นิยามของเวชศาสตร์เขตเมือง V2Chavanant Sumanasrethakul
 
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทยวิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทยFURD_RSU
 
ข้อเสนอเชิงนโยบายเมืองน่าอยู่
ข้อเสนอเชิงนโยบายเมืองน่าอยู่ข้อเสนอเชิงนโยบายเมืองน่าอยู่
ข้อเสนอเชิงนโยบายเมืองน่าอยู่Chakgrit Podapol
 
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลบทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลFURD_RSU
 
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ FURD_RSU
 

Destaque (7)

นิยามของเวชศาสตร์เขตเมือง
นิยามของเวชศาสตร์เขตเมืองนิยามของเวชศาสตร์เขตเมือง
นิยามของเวชศาสตร์เขตเมือง
 
Urban medicine
Urban medicineUrban medicine
Urban medicine
 
นิยามของเวชศาสตร์เขตเมือง V2
นิยามของเวชศาสตร์เขตเมือง V2นิยามของเวชศาสตร์เขตเมือง V2
นิยามของเวชศาสตร์เขตเมือง V2
 
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทยวิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
 
ข้อเสนอเชิงนโยบายเมืองน่าอยู่
ข้อเสนอเชิงนโยบายเมืองน่าอยู่ข้อเสนอเชิงนโยบายเมืองน่าอยู่
ข้อเสนอเชิงนโยบายเมืองน่าอยู่
 
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลบทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
 
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
 

Semelhante a สาธารณสุขเขตเมือง

หมออนามัยVol.5
หมออนามัยVol.5หมออนามัยVol.5
หมออนามัยVol.5Chuchai Sornchumni
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยChuchai Sornchumni
 
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพweeraboon wisartsakul
 
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copyWatcharin Chongkonsatit
 
โลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยโลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยweeraboon wisartsakul
 
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartok
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartokสุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartok
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartokpitsanu duangkartok
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527Chuchai Sornchumni
 
พฤติกรรมสุขภาพ
พฤติกรรมสุขภาพพฤติกรรมสุขภาพ
พฤติกรรมสุขภาพFon Pimnapa
 
Introduction and Role of Epidemiology
Introduction and Role of EpidemiologyIntroduction and Role of Epidemiology
Introduction and Role of EpidemiologyUltraman Taro
 
โลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยโลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยweeraboon wisartsakul
 
นักจัดการสาธารณสุขศตวรรษที่ 21 พิษณุโลก
นักจัดการสาธารณสุขศตวรรษที่ 21 พิษณุโลกนักจัดการสาธารณสุขศตวรรษที่ 21 พิษณุโลก
นักจัดการสาธารณสุขศตวรรษที่ 21 พิษณุโลกChuchai Sornchumni
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์Apichat kon
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2Pisan Chueachatchai
 
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559Klangpanya
 
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189Raveewin Bannsuan
 
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขอาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขChuchai Sornchumni
 

Semelhante a สาธารณสุขเขตเมือง (20)

Introduction2 publichealth
Introduction2 publichealthIntroduction2 publichealth
Introduction2 publichealth
 
หมออนามัยVol.5
หมออนามัยVol.5หมออนามัยVol.5
หมออนามัยVol.5
 
Epidemiology
EpidemiologyEpidemiology
Epidemiology
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
 
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
 
โลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยโลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัย
 
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartok
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartokสุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartok
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartok
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527
 
พฤติกรรมสุขภาพ
พฤติกรรมสุขภาพพฤติกรรมสุขภาพ
พฤติกรรมสุขภาพ
 
Introduction and Role of Epidemiology
Introduction and Role of EpidemiologyIntroduction and Role of Epidemiology
Introduction and Role of Epidemiology
 
โลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยโลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัย
 
นักจัดการสาธารณสุขศตวรรษที่ 21 พิษณุโลก
นักจัดการสาธารณสุขศตวรรษที่ 21 พิษณุโลกนักจัดการสาธารณสุขศตวรรษที่ 21 พิษณุโลก
นักจัดการสาธารณสุขศตวรรษที่ 21 พิษณุโลก
 
Communty diagnosis
Communty diagnosisCommunty diagnosis
Communty diagnosis
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
 
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
 
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
 
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขอาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
 

Mais de Chuchai Sornchumni

Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)Chuchai Sornchumni
 
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว Chuchai Sornchumni
 
New perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHCNew perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHCChuchai Sornchumni
 
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทางChuchai Sornchumni
 
ChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllnessChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllnessChuchai Sornchumni
 
Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015Chuchai Sornchumni
 
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศChuchai Sornchumni
 
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริการ่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกาChuchai Sornchumni
 
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017Chuchai Sornchumni
 
ช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็นช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็นChuchai Sornchumni
 
สาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุกสาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุกChuchai Sornchumni
 
ธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพChuchai Sornchumni
 
โอกาสขยายงานSubacute chuchai
โอกาสขยายงานSubacute chuchaiโอกาสขยายงานSubacute chuchai
โอกาสขยายงานSubacute chuchaiChuchai Sornchumni
 

Mais de Chuchai Sornchumni (20)

Precision medicine
Precision medicinePrecision medicine
Precision medicine
 
Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)
 
UHC lesson learn Thailand
UHC lesson learn ThailandUHC lesson learn Thailand
UHC lesson learn Thailand
 
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
 
New perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHCNew perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHC
 
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
 
Public finance
Public financePublic finance
Public finance
 
DiseaseMntChrRespSyst
DiseaseMntChrRespSystDiseaseMntChrRespSyst
DiseaseMntChrRespSyst
 
ChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllnessChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllness
 
Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015
 
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
 
Welfare analysis for uhc
Welfare analysis for uhcWelfare analysis for uhc
Welfare analysis for uhc
 
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริการ่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
 
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
 
Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559
 
ช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็นช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็น
 
สาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุกสาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุก
 
Ncd nhes v_2016
Ncd nhes v_2016Ncd nhes v_2016
Ncd nhes v_2016
 
ธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพ
 
โอกาสขยายงานSubacute chuchai
โอกาสขยายงานSubacute chuchaiโอกาสขยายงานSubacute chuchai
โอกาสขยายงานSubacute chuchai
 

สาธารณสุขเขตเมือง

  • 1. ความเป็น “เมือง” กับ ระบบการสาธารณสุข ระบบบริการปฐมภูมิ เพื่อความอยู่ดีมีสุข นายแพทย์ ชูชัย ศรชานิ สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสาหรับศตวรรษที่ 21 มีความเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงวิวัฒนาการของบริบทและสิ่งแวดล้ อมของโลกอย่างแยกกันไม่ออก ผลที่ตามมาที่เห็นได้ไม่ว่าจะเป็นปัญหาความไม่เป็นธรรมไม่เท่าเทียมกัน ของการเข้าถึงทรัพยากรทางด้านสุขภาพ ความเหลื่อมลาด้านเศรษฐกิจทาให้คนที่ฐานะทางสังคมด้อยกว่าหรือมีช่ องว่างทางสังคมมากกว่าได้รับบริการที่ด้อยคุณภาพหรือไม่ได้รับบริการ สุขภาพในโรคเรือรังที่ต่อเนื่อง มีปัญหาด้านความรุนแรงในสังคม ปัญหายาเสพติด การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยา อาหาร หรือผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ ปรากฏการณ์เหล่านี ล้วนแล้วแต่มากับ “การใช้ชีวิตแบบเมือง”1 ที่กล่าวว่าแยกกับหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าไม่ออก ก็เพราะว่า ถ้าหากสามารถจัดการหลักประกันความมั่นคงด้านสุขภาพได้มีประสิทธิ ภาพดี ก็น่าจะช่วยควบคุมหรือลดผลกระทบปรากฏการณ์ข้างต้นให้บรรเทาเบา บางลงได้ วิถีชีวิตแบบเมือง (Urban lifestyles) มีความแตกต่างหลากหลายซับซ้อน ที่ต้องการการออกแบบการจัดการทางสังคม วัฒนธรรมอย่างใหม่ และยังต้องการการออกแบบการจัดบริการสุขภาพใหม่ การออกแบบการจัดการด้านการสาธารณสุขแบบใหม่ (New set of roles for health care systems) 1 Beck, M.B., Gupta, H., Rastetter E., Shoemaker, C., Tarboton, D., Butler, R., Edelson, D., Graber, H., Gross, L., Harmon, T., McLaughlin, D., Paola, C., Peters, D., Scavia, D., Schnoor, J.L. & Weber, L. (2009). Grand Challenges of the Future for Environmental Modeling. White Paper. National Science Foundation, Arlington, Virginia.
  • 2. เพื่อให้สอดรับกับความต้องการด้านสาธารณสุขและบริการสุขภาพ (Demand for health) ที่แตกต่างหลากหลายมีพลวัตรสูงของการใช้ชีวิตในเมือง อันแตกต่างอย่างสินเชิงกับชีวิตชนบท อย่างไรก็ดี ความเป็นเมืองไม่ได้เป็นปัจจัยคุกคามไปเสียทังหมด ความเป็นเมืองเป็นโอกาสการพัฒนานวัตกรรมในระบบสุขภาพด้วย เพราะเมือง (ถ้าไม่กล่าวถึงเรื่องความเป็นธรรมในการกระจายทรัพยากร) เป็นที่ที่มีทรัพยากรมาก จึงมีความเป็นไปได้มากที่จะลงทุน หรือดาเนินการกิจกรรมเพื่อปกป้องความมั่นคงด้านสุขภาพส่งเสริมสุขภ าพให้มีสุขภาวะที่ดีอยู่ดีมีสุข (Protecting and promoting human health and wellbeing) โดยอยู่ในขอบข่ายประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจได้ การสร้างความอยู่ดีมีสุขและสุขภาพดี (Health and wellbeing) ของผู้คนในเขตเมืองนัน มีกระบวนการที่อาจจะหลากหลายซับซ้อน แต่ก็อาจจะใช้เป็นโอกาสที่ในเมืองก็มีนวัตกรรมหรือสามารถบูรณาการ สานนวัตกรรมเพื่อสุขภาพได้ในเขตเมือง เพราะว่าในพืนที่เมืองก็มักจะเป็นที่รวมของ ต้นทุนทางสังคม กระบวนการคุณภาพ โครงสร้างพืนฐานที่มีมาตรฐานอยู่ก่อนหน้าแล้ว (ที่ดีกว่าเขตชนบท) ในการนามาสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า แนวโน้มการเป็นเมืองและการใช้ชีวิตแบบเมือง และการออกแบบระบบสุขภาพ
  • 3. มีรายงานว่า ประชากรโลกปัจจุบันกว่าร้อยละ 50 ใช้ชีวิตแบบเมือง2 และสาหรับประเทศไทยก็มีแนวโน้มประชากรที่อาศัยอยู่ในเมือง และใช้ชีวิตแบบเมืองเพิ่มมากขึนอย่างรวดเร็ว ภาพที่ 1 แนวโน้มความเป็นเมืองของประเทศไทย ที่มา United Nations : World Urbanization Prospect Database ความยากของการสร้างรูปแบบและกระบวนการเพื่อสุขภาพดี และหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสาหรับความเป็นเมืองของประเทศไทย อยู่ที่ “การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว” ของประชากรที่ย้ายถิ่นฐานมาจากพืนที่อันหลากหลายทังในประเทศแล ะมาจากนานาชาติ ผู้คนที่มารวมเป็นชุมชนเขตเมืองมาจากเศรษฐานะที่ไม่เท่าเทียมกัน มีคติความเชื่อส่วนบุคคลและปฏิสัมพันธ์ทางสังคมที่เป็นแบบแผนต่างๆกั น มาอยู่ในฐานะทางสังคม หรือบ่อยครังก็มีเบืองหลังด้านอาชญากรรมที่แตกต่างกัน คนเหล่านีต้องมารวมกันในอาคารชุด ห้องเช่า บ้านจัดสรร ชุมชนแออัด คนเร่ร่อน สร้างเป็นชุมชนเมืองใหม่ที่อาจมีความแปลกแยกระหว่างความเป็นปัจเจ ก การใช้ชีวิตในครอบครัว 2 Ahmad, E. (2007). Big, or Too Big. Finance and Development, September, pp. 20-23.
  • 4. ในการจัดระบบสุขภาพชุมชนเมือง มีความเหลื่อมลาระหว่างคนจนในเมืองกับคนชันกลางคนชันสูงในเมือง ในเรื่องการจัดการด้านสาธารณสุข ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง ความสามารถในการเข้าถึงอาหารปลอดภัยอาหารผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภา พ นา การจัดการพืนที่สาธารณะเพื่อสุขภาพ การจัดการขยะปฏิกูลของเสียในเมือง ระบบการขนส่งที่ปลอดภัยและคุ้มครองผู้โดยสาร โครงสร้างพืนฐาน สุขาภิบาลของที่อยู่อาศัย การป้องกันภัย ปัญหาความรุนแรงในครอบครัวสังคมชุมชนแออัด ชุมชนย้ายถิ่นบ้านเช่าอาคารแท่ง รวมถึงการเข้าถึงบริการสุขภาพด้วย3 การใช้ชีวิตแบบเมืองเกี่ยวข้องกับการควบคุมป้องกันและจัดการโร คเรือรัง และโรคติดต่อด้วย 4 เนื่องจากมีการบริโภคปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ การใช้ชีวิตที่ออกกาลังกายน้อย ความอ้วน ความเคร่งเครียด การอยู่ในสถานที่เดียวกันอย่างแออัด การที่เขตเมือง มีความหนาแน่นของประชากรมากและมีโครงสร้างพืนฐานที่แตกต่างจา กพืนที่ชนบท มีความซับซ้อนทางด้านระบบเศรษฐกิจมหภาค จุลภาค เศรษฐกิจใต้เงา มีความซับซ้อนทางการจัดโครงสร้างองค์กรสังคม อาชีพที่หลากหลายที่ไม่ใช่เกษตรกร การจัดการเพื่อความอยู่ดีมีสุข (Health and wellbeing) ของประชาชนในเขตเมืองและที่ใช้ชีวิตแบบเมือง ต้องดาเนินการเชิงระบบ (Systems approach) โดยผ่านกระบวนการการมีส่วนร่วมของคนที่มีบริบทเมือง และผู้นาแกนนาชุมชนในเขตเมือง (ชุมชนในที่นีหมายรวมทังชุมชนที่มีถิ่นที่ตัง และ ชุมชนเครือข่ายทางสังคมอิเลคโทรนิคส์) 3 Commission on Social Determinants of Health (2008). Closing the gap in a generation: health equity through action on the social determinants of health. Final Report of the Commission on Social Determinants of Health. Geneva : World Health Organization. 4 Poel et al., 2009
  • 5. การดาเนินการเชิงระบบ ต้องคิดถึงปัจจัยด้านกฏหมาย การบริหาร เงื่อนไขทางสังคม การจัดการสภาพแวดล้อมโดยเฉพาะอากาศ นา ความปลอดภัยของอาคาร ระบบภาษี สถานประกอบการ ตลาด การออกแบบการจัดการโรคและภาวะคุกคามด้านสุขภาพและสวัสดิการ ทางสังคม การจัดการให้เกิดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสาหรับผู้อพยพย้ายถิ่น การศึกษาและงานอนามัยในสถานศึกษาระดับปฐม มัธยม และอาชีวศึกษา อุดมศึกษา (ที่มักมีในเขตเมืองแต่เขตชนบทไม่มี) ความปลอดภัยและสุขาภิบาลของระบบขนส่งสาธารณะขนส่งมวลชน การจัดการสุขภาพเมื่อมีภัยขนาดใหญ่ (Extreme weather events) การดาเนินการเชิงระบบ หมายถึงการจัดการปัจจัยบ่งชีสุขภาพและความอยู่ดีมีสุขของบริบทเมือง (Determinants of urban health and wellbeing) ทังที่  เป็นเรื่องใกล้กับระบบสาธารณสุข เช่น การออกแบบระบบบริการสุขภาพ การจัดการสิ่งแวดล้อม การจัดการกับพฤติกรรมสุขภาพแบบเมือง จัดการอาหารเพื่อสุขภาพที่เข้าถึงได้ทังคนยากจนและร่ารวย การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ พืนที่ออกกาลังกายสาธารณะ ฯลฯ  เป็นเรื่องไกลออกไปจากระบบสาธารณสุขแต่เกี่ยวข้องกัน เช่น การจัดสถาปัตยกรรมชุมชนเมือง สายการผลิตและจัดส่งอาหารและพลังงาน ความเหลื่อมลาทางเศรษฐกิจ ระบบการศึกษาและอนามัยโรงเรียน การจ้างงานและระบบการปฏิบัติงานในสถานประกอบการ การเมืองท้องถิ่น การกระจายอานาจการจัดการปัญหาครอบครัวและการผสมผสานทา งวัฒนธรรมการขัดแย้งทางวัฒนธรรม ศาสนา การจัดการเพื่อความอยู่ดีมีสุข (Health and wellbeing) และให้เกิดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในเขตเมือง จึงต้องมีข้อมูลระดับชุมชนครอบครัวที่เพียงพอและน่าเชื่อถือ (Ensure
  • 6. adequacy and reliability of health related data) ต้องการความร่วมมือกันในหลายภาคส่วนเพื่อให้เกิดระบบสาธารณสุข การจัดการสิ่งแวดล้อม การป้องกันภัยพิบัติ การจัดการสวัสดิการทางสังคม (Need for inter-sectoral co- ordination) แบ่งปันความสาเร็จและประสบการณ์ที่ดีระหว่างชุมชนเมืองด้วยกัน (Sharing of successful experiences and best practice models) และ ลดภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพและการดูแลสุขภาพ ด้วยการจัดการให้มีกองทุนสุขภาพพัฒนาชุมชนเขตเมือง กิจกรรมการตลาดเพื่อสังคมและการรับผิดชอบต่อสังคมของกิจการเอก ชน (Reducing the financial burden of health care) ภาพที่ 2 กรอบแนวคิดการจัดการปัจจัยบ่งชีสุขภาพและความอยู่ดีมีสุขและมีหลัก ประกันสุขภาพถ้วนหน้า Distal Determinants เศรษฐกิจ และการเงิน วัฒนธรรม สังคม และพฤติกรรม การศึกษา และการดูแลสุขภาพ การบริบาลระบบ และกฎหมาย การจัดการ พื้นที่ และการออ กแบบอาคา รบ้านเรือน ตลาด โลกาภิวัฒน์ การค้า ผลิตภัณฑ์อาหาร อุตสาหกรรม ศาสนา วัฒนธรรม มาตรการแนวโน้มเศรษฐกิจ ความมั่นคงอาหาร การมีงานทา ครอบครัว วิถีการบริโภค บุคลากร ค่าใช้จ่าย การฝึกอบรม โครงสร้างพื้นฐาน เทคโนโลยีทางการแพทย์ และสาธารณสุข ระบบรัฐบาล ความแน่นอนทางการเมือ ง นโยบายสังคมคนเมือง การมีส่วนร่วมของเ ทศบาล เทศบัญญัติ แนวโน้มแนวคิดทา งการเมืองคนเมือง
  • 7. Proximal Determinants ประชากร ชีววิทยา ของมนุษย์ที่ผส มผสาน สิ่งแวดล้อม และระบบนิเ วศ การย้ายถิ่นฐาน การเติบโต ประชากร Herd immunity ชีววิทยามนุษ ย์ การเดินทาง ระหว่าง เมือง กับ ชนบท ดื้อยา โรค การช่วยเหลือท างสังคม ยาเสพติด ออกกาลังกาย อาหาร เชื้อชาติ เพศ อายุ ภูมิคุ้มกัน พันธุกรรม ความมั่งคั่ง รายได้ ความ ยากจน ความสามารถ เข้าถึง คุณภาพ อาชญากรรม ความรุนแรง ในสังคม เคหะสถาน โครงสร้างพื้น ฐาน ขนส่งมวลชน น้า สุขาภิบาล ขยะชุมชน ภยันตราย ในเมือง คุณภาพ อากาศ คุณภาพ น้า สิ่งแวดล้อมธร รมชาติ เกษตรกรรม บรรยากาศ การใช้พื้นที่ดิ น แบบแผนชีวิต คนเมือง พลังงาน และการใช้พลั งงาน สุขภาพ และ ความอยู่ดีมีสุขในเมือ ง คนเมือง กาย โรค บาดเจ็บ ความบกพร่อง ความพิการ สังคม กลุ่มช่วยเหลือทางสังคม (Social support groups) การเสริมพลังสังคม เครือข่ายปกป้ องความมั่นคงทาง สังคม (Safety net) จิต ผู้ป่วยทางจิต เยียวยาจิตใจจิตเวชชุม ชน การพัฒนาจิตคนเมือง ความบกพร่อง
  • 8. ที่มา ดัดแปลงจาก ICSU (2011). Report of the ICSU Planning Group on Health and Wellbeing in the Changing Urban ระบบการสาธารณสุขและ การบริการสุขภาพในเขตเมือง เนื่องจากความเป็นเมือง และการใช้ชีวิตแบบเมือง มีผลโดยตรงต่อประชาชน องค์การอนามัยโลกจึงได้กาหนดการรณรงค์เป็นคาขวัญวันอนามัยโลก ปี 2010 ที่จะให้นักการสาธารณสุขและนักออกแบบระบบบริการสุขภาพ มาร่วมกันวางแผน สร้างแบบแผนที่เหมาะสมสาหรับชีวิตเมืองในศตวรรษที่ 21 มีเนือความที่สาคัญเกี่ยวกับการออกแบบที่เป็นวัตกรรม การจัดการสุขภาวะร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Municipal authorities) 5 การจัดระบบการสาธารณสุขในเขตเมือง 5 เรื่องที่องค์การอนามัยโลกแนะนา หากพิจารณาในอีกมุมมองหนึ่งทางด้านโอกาสการพัฒนา เมืองก็มีทรัพยากรเพื่อการพัฒนามากกว่าในเขตชนบท มีความพร้อมในโครงสร้างพืนฐานดีกว่า องค์การอนามัยโลกจึงเสนอให้ใช้โอกาสนีสร้าง 5 มาตรการของระบบการสาธารณสุข เพื่อให้ประชาชนที่อยู่ในเมืองมีสุขภาวะที่ดี โดยนักการสาธารณสุขควรมีกิจกรรม ดังนี 1. ส่งเสริมการวางผังเมือง และจัดทาแผนระบบสุขภาพเขตเมือง เพื่อให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพและความปลอดภัย 5 Urban planning essential for public health. http://www.who.int/mediacentre/news/releases/2010/urban_health_20100407/en/
  • 9. 2. พัฒนาชีวิตความเป็นอยู่และเงื่อนไขความเป็นอยู่ที่ดีถ้วนหน้า 3. สร้างสรรค์นโยบายสาธารณะ และบริบาลระบบสุขภาพเขตเมืองอย่างมีส่วนร่วม 4. สร้างสิ่งแวดล้อมเมืองที่ไม่เลือกปฏิบัติ และสร้างกลไกให้เป็นมิตรกับสังคมผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุสามารถเข้าถึงบริการสาธารณะได้อย่างเท่าเทียมกัน 5. ทาให้ชุมชนเมือง มีภูมิคุ้มกัน พลังต้านต่อภยันตรายและเหตุฉุกเฉิน การส่งเสริมสุขภาพ การจัดการสภาพแวดล้อมเพื่อการสาธารณสุข จึงหมายถึงความร่วมมือกันแบ่งปันทรัพยากรกัน การมีข้อตกลงร่วมกันระหว่างภาครัฐ เอกชน ชุมชน นิติบุคคลบริหารอาคารชุด คณะกรรมการชุมชน สภาพลเมือง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น6 การจัดระบบบริการปฐมภูมิในเขตเมืองที่สะดวก ทันสมัย ไร้รอยต่อกับระบบโรงพยาบาล การจัดบริการที่ใกล้บ้าน ใกล้ใจในเขตเมือง เพื่อให้เหมาะกับวิถีชีวิตคนเมืองทุกชนชัน (ชนชันกลางในเมือง คนชันสูง คนด้อยโอกาสในเมือง) ที่ต้องมาใช้ชีวิตร่วมกันในพืนที่เดียวกัน  การออกแบบโครงสร้างสถาปัตยกรรม  กระบวนการจัดบริการ และส่งมอบบริการ  มาตรฐาน ความปลอดภัย การรับรองมาตรฐานความน่าเชื่อถือ ของระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง จะต้องรวดเร็วทันใจ ทันสมัย เชื่อมต่อข้อมูลกับโรงพยาบาลอย่างไร้รอยต่อ 6 Health promotion in the city: a structured review of the literature on interventions to prevent heart disease, substance abuse, violence and HIV infection in US metropolitan areas, 1980-1995. J Urban Health. 2000 Sep;77(3):443-57.
  • 10. โดยเฉพาะการจัดการดูแลผู้ที่มีโรคเรือรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส7 ที่สาคัญคือ ระบบบริการปฐมภูมิเขตเมืองจะต้องบูรณาการกับสวัสดิการทางสังคม (Social welfare) เครือข่ายความปลอดภัยทางสังคม (Safety net) กิจการรับผิดชอบต่อสังคมการตลาดเพื่อสังคม (CSR – social marketing) เครือข่ายประชาคมสุขภาพ (Civil society) และแกนนาชุมชนวัฒนธรรมย่อย (Sub –culture leaders) 7 Hansen-Turton T1, Ryan S, Miller K, Counts M, Nash DB. Convenient care clinics: the future of accessible health care. Dis Manag. 2007 Apr;10(2):61-73.