SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
1. เกริ่นนํา
การสรุปบทเรียนและพัฒนาการระบบสุขภาพระดับอําเภอ เพื่อสรางความเขมแข็งบริการปฐมภูมิ
เนื่องจากทิศทางการพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ของประเทศไทยในชวงป 2555-2559 จําเปนตอง
สอดคลองกับแนวทางขององคการอนามัยโลก และสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาล ที่มุงใหประชาชนทุกครัวเรือน
ไดรับบริการใกลบานใกลใจ เพื่อใหคนไทยทุกคนมีสุขภาพแข็งแรง สรางความเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศทั้ง
ทางตรงและทางออมอยางยั่งยืน และสอดคลองกับนโยบายการปฏิรูประบบบริการของกระทรวงสาธารณสุข ตาม
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ที่มุงใหเกิดการบริหารแบบเครือขายบริการสุขภาพ
ดังนั้นกระบวนการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบสุขภาพอําเภอ (DHS) จึงเปนแบบพลวัตร มีการเปลี่ยนแปลง
สูจุดสมดุลสอดคลองกับบริบทพื้นที่ จึงเปนระบบที่มีความหลากหลาย มีความซับซอนและมีการปรับตัวอยูตลอดเวลา
จึงจําเปนตองศึกษาถอดบทเรียน สังเคราะห ประเมินผลเพื่อสกัดองคความรู สูการแลกเปลี่ยนและถายทอดแกผู
ปฏิบัติอยางตอเนื่อง เปนการดําเนินงานทางวิชาการแบบคูขนาน เพื่อเปนฐานขอมูลหรือคลังความรูรองรับ การ
พัฒนาอยางตอเนื่องได
2. วัตถุประสงค เพื่อสนับสนุนการรวมมือของเครือขายวิชาการในแตละภูมิภาค รวม กันศึกษาถอดบทเรียน
ระบบสุขภาพระดับอําเภอในแตละภูมิภาคพื้นที่ สังเคราะหเปนปจจัยความสําเร็จและโอกาสการพัฒนา และรวบรวม
เปนองคความรูทางวิชาการ เพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิตอไป
3. ระเบียบวิธีวิจัย
วิจัยและพัฒนา (Research and Development: R&D) นี้ไดประยุกตใชกลวิธีทางระเบียบวิธีวิจัยแบบ
ผสมผสาน ทั้งวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ไดแก การศึกษาเอกสาร(Document study) ที่เกี่ยวของทั้งไทยและตางประเทศ
ดวยกระบวนการถอดบทเรียน การจัดการความรู(KM) จากทีมนักวิชาการจากสถาบันการศึกษาทั่วทุกภูมิภาคของ
ประเทศทั้ง 12 เขต รวมศึกษาเรียนรู เก็บขอมูลจากการรวม กระบวนการปฏิบัติงาน จริงในพื้นที่ (Participatory
Action Research) กอปรกับการตรวจเยี่ยมชื่นชมผลงาน การเขารวมการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู หรือเวทีวิชาการ
ในพื้นที่ เปนตน วิธีวิจัยเชิงปริมาณ ดวยการเก็บขอมูล จากผูบริหารงานสาธารณสุขระดับอําเภอ ตําบล และผูที่
เกี่ยวของกับระบบสุขภาพปฐมภูมิทั่วประเทศดวยแบบสอบถาม เก็บขอมูลระยะแรก ของการศึกษานี้ จากเดือน
กุมภาพันธ – ตุลาคม 2558 วิเคราะหขอมูลดวยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมาน ขอมูลเชิงคุณภาพวิเคราะห โดยใช
วิธีการวิเคราะหขอมูลเชิงเนื้อหา (Content Analysis) ตามกรอบการสรุปบทเรียนการพัฒนาระบบสุขภาพ อําเภอ
ดังภาพที่ 1
บทสรุปสําหรับผูบริหาร
(Executives Summary)
๒ Lesson Learned and Development of District Health System Project | [ Phase1]
๒
4. ขอคนพบที่เปนผลการศึกษา
ผลจากการศึกษาใน ระยะแรกของโครงการ ไดนําเสนอโดยสรุปจําแนกออ กเปนรายหัวขอที่สําคัญ และ
บทสรุปอภิปรายภาพรวมที่เรียงลําดับ ดังตอไปนี้
4.1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม
กลุมตัวอยางที่ตอบแบบสอบถามลวนเปนผูบริหารงานดานสาธารณสุขระดับอําเภอและผูเกี่ยวของกับ
การดําเนินงานระบบสุขภาพอําเภอ (รสอ.) จํานวน 2,574 คน/แหง ครอบคลุมทั้ง 12 เขต 64 จังหวัด โดยมีกลุม
ผูบริหารที่ตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศหญิง รอยละ 58.9 อายุเฉลี่ย 44 ป มีอายุราชการเฉลี่ย 22.31 ป
ปฏิบัติงานที่โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล รอยละ 45.6 โรงพยาบาล รอยละ 32.4 สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ
รอยละ 20.7 ดํารงตําแหนงนักวิชาการสาธารณสุข รอยละ 30.3 พยาบาล รอยละ 20.5 มีรูปแบบการบริหารงาน
ระบบสาธารณสุขอําเภอ ในลักษณะ คปสอ. รอยละ 89. 3 และเปนคณะกรรมการระบบสุขภาพอําเภอ (DHS) รอย
ละ 85.5 กลุมตัวอยางพึ่งไดเปนคณะกรรมการระบบสุขภาพอําเภอ (District Health System) เพียง รอยละ 8.4
4.2 ขอคนพบดานวิวัฒนาการของระบบสุขภาพระดับอําเภอ
วิวัฒนาการดานรูปแบบดําเนินการสนับสนุนของจังหวัด และการ ดําเนินงานระดับอําเภอ ทั้งในระยะ
กอนมีนโยบาย DHS จนถึงชวงของการขับเคลื่อนนโยบาย DHS ทุกพื้นที่มีทุนเดิมจากการทํางานในฐานะหนวยงาน
สนับสนุน หนวยปฏิบัติการ ประกอบกับการริเริ่มสรางสรรคงานใหมๆ ที่ปรับเปลี่ยนหมุนเวียนเปนพลวัตร เพื่อ
ภาพที่ 1 กรอบแนวทางการเตรียมขอมูลเพื่อเขียนรายงานสรุปบทเรียนการพัฒนาระบบสุขภาพอําเภอ
๓ Lesson Learned and Development of District Health System Project | [ Phase1]
๓
ตอบสนองตอนโยบายในแตละยุคแตละสมัย สรุปสังเคราะหเกี่ยวกับตนทุนและบริบทพื้นที่เปนแบบ “CONTECT”
ดังนี้
C- Civil Culture Base คือวัฒนธรรมการทํางานกับประชาชนในพื้นที่ สวนมากเกิดจากกระบวนการ CBL
คือทุกพื้นที่อําเภอมีทุนเดิมดานวิชาการในรูปแบบการจัดการเรียนรูแบบ ในบางพื้นที่มีระบบการเยี่ยมบานมีศูนยการ
ดูแลอยางตอเนื่อง(COC) หรือ Home health care ที่ชัดเจนและรวมกันทํางานดูแลสุขภาพประชา ชนแบบใกลบาน
ใกลใจ โดยสหวิชาชีพซึ่งเกิดการพัฒนาขึ้นมาเรื่อยๆ จากกลุม รพ.สต. จนเกิดเปนเครือขายสหวิชาชีพรวมการเยี่ยม
บานที่เขมแข็งและตอเนื่อง
O-Organization คือการมีความเปนองคกรมากอน มีคณะกรรมการดําเนินงานดานสุขภาพในพื้นที่อยูแลว
ไดแก คปสอ. หรือ CUP Board หรือ SHA-CUP โรงพยาบาล สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ โ รงพยาบาลสงเสริม
สุขภาพตําบล(รพ.สต.) เปนหนวยงานรับผิดชอบหลักในพื้นที่
N-Network การมีระบบเครือขายที่ประสานการทํางานอยางแนบแนน (Strange Association) ในพื้นที่
คอยเกื้อหนุนกันและกัน ประกอบดวยหนวยงานจาก อปท. เครือขาย อสม. กลุมอาสาสมัครตางๆ กองทุนสนับสนุน
การสรางเสริมสุขภาพ(สสส.) สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) เครือขายประชาสังคม ผูทรงคุณคา
หรือปราชญชาวบาน รวมถึงสถาบันทางวิชาการหรือสถาบันการศึกษาในพื้นที่ เปนตน
T-Team คือกลุมบุคคลที่รวมกันรวมดําเนินการแกไขปญหาในพื้นที่ จากกิจกรรมเฉพาะกลุม เฉพาะดาน
แลวเกิดวิวัฒนาการของทีมทั้งในมิติดานขนาดของทีม บทบาทและความหลากหลายของกิจกรรม ที่มีความเชื่อมโยง
สามารถปรับเปลี่ยน(Transform) ใหสอดคลองตองานใหมๆ นโยบายใหมๆที่ เปลี่ยนแปลงไป ทีมงานที่เขมแขงใน
พื้นที่
E-Experience พื้นที่อําเภอนํารองที่เขารวมโครงการ ลวนมีประสบการณ ความลมเหลวและนําไปสูการ
เรียนรูรวมกัน (Learning from mistake) จนกลั่นกรองเปนกระบวนการ เปนระบบการทํางานที่เปนเลิศ ประสบ
ความสําเร็จ ความเปนตนแบบ และมีรางวัลภาคภูมิใจ การชื่นชม (Appreciation) ที่สะทอนไดจากประชาชน และ
หนวยงาน เปนตน
C-Connection & Community & Continuous ผลความสําเร็จจากการติดตอประสานเชื่อมโยงกันของ
บุคคล หรือทีมงานในพื้นที่ เกิดจากการประสานงานกันในแนวราบ (Horizontal) ไมเปนทางการ (Informal)
มากกวาการประสานงานแนวดิ่งที่เปนทางการ (Formal) จึงเกิดสัมพันธภาพในการทํางานรวมกับชุมชนอยางเขาใจ
และมีความตอเนื่อง รองรับการเปลี่ยนแปลง หรือนโยบายใหมที่เขามาในพื้นที่
T-Technique ทุกพื้นที่อําเภอมีการบูรณาการใชเทคนิค กระบวนการพัฒนางานในพื้นที่อยูแลว ไดแก
การประเมินตนเอง (Self Assessment) ของเครือขายสุขภาพระดับอําเภอ มีการเพิ่มพูนประสบการณเวชปฏิบัติ
ครอบครัวสําหรับแพทย (FPL) การใชรูปแบบการทําแผนชุมชนดวยกระบวนการ SRM การพัฒนาคุณภาพบริการ
๔ Lesson Learned and Development of District Health System Project | [ Phase1]
๔
รวมทั้งการพัฒนาระบบคุณภา พตามแนวทาง (PCA) มาตรฐาน HA และ มีการใชกระบวนขับเคลื่อนงานพัฒนา
เครือขายบริการดวยกระบวนการจัดการความรู(KM) การแลกเปลี่ยนเรียนรูจากงานประจําสูงานวิจัย(R2R) เปนตน
4.3 สถานการณเชิงประจักษตอการรับรูและตอบสนองนโยบายการพัฒนาระบบบริการ Service Plan
บุคลากรระดับอําเภอมี การรับรูและตอบสนอง
นโยบายการพัฒนาระบบบริการ Service Plan อยูใน
ระดับนอย และระดับมาก ในสัดสวนที่ใกลเคียงกัน คือ
รอยละ 50.8 : 49.2 ( =47.78±6.54) โดยสวนใหญรับรู
วาในอําเภอมีการสนับสนุนเครือขายบริการปฐมภูมิ ใ น
การจัดบริการดานสุขภาพที่จําเปนสําหรับประชาชน
(Essential Care) สอดคลองกับบริบทของชุมชน รอยละ
60.1 มีคาเฉลี่ย 3.72±0.68 รองลงมารับรูวาอําเภอ
ดําเนินงานตามนโยบาย Service Plan ไดดี
รอยละ 50.6 มีคาเฉลี่ย 3.56±0.71 มีการจัดระบบพัฒนาเพิ่มพูนความรูแกเจาหนาที่ทุกระดับในการดูแล และสงตอ
ผูปวยที่มีปญหาสุขภาพรุนแรง รอยละ 48.9 มีคาเฉลี่ย 3.55±0.67 มีระบบขอมูล (Information) เพื่อสนับสนุน
การใหบริการ การรายงานผลที่ครบถวน รอยละ 47.8 มีคาเฉลี่ย 3.51±0.67 แตดานการสนับสนุนดานกําลังพล
(Health Workforce) ที่เพียงพอเหมาะสมกับงานบริการดานสุขภาพ ยังอยูในระดับนอย รอยละ 29.4 มีคาเฉลี่ย
3.08±0.81 ตามลําดับ
4.4 การสนับสนุนปจจัยสําคัญเขาสูระบบบริการปฐมภูมิตาม 6 องคประกอบ
ความคิดเห็นโดยรวมของบุคลากร มองวาการจัดปจจัยสนับสนุน คน เงิน ของ ตามนโยบาย
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ยังไมเพียงพอตอการพัฒนาระบบบริหารจัดการในพื้นที่ ที่ผานมา
การสนับสนุนมักเกิดขึ้นจากภาคการเมือง และมีการเนนผลลัพธที่เกิดกับประชาชน แตการพัฒนาระบบสนับสนุนไม
ชัดเจน อีกทั้ง โครงสรางองคกรที่รับผิดชอบบริการปฐมภูมิไม ชัด โดยเฉพาะอยางยิ่งที่สวนกลาง ยังคงเปนลักษณะ
แยกสวน ตามเปาหมายผลลัพธขององคกรสวนกลางหรือโครงการที่ กําหนดมา (Vertical Program) ระบบติดตาม
กํากับงานไมยืดหยุน พื้นที่ไมมีอิสระทางความคิด ทําใหเปนภาระงานที่หนักของระบบรายงานที่มีมากและ ไมเกิด
ประโยชนตอพื้นที่ มีการสรางตัวชี้วัด มาตรฐานคุณภาพ มาควบคุมกํากับ แตอยางไรก็ตาม ขอคนพบในลักษณะ
การสนับสนุนจากระดับเขตโดยการมีกลยุทธ เชน กลยุทธ 15 รองหลัก (5รุก 5 รับ 5 สนับสนุน) มีการกําหนด
๕ Lesson Learned and Development of District Health System Project | [ Phase1]
๕
ตัวชี้วัด และมอบหมายความเปนเจาภาพหลัก เกิดทีมตรวจติดตาม แลกเปลี่ย นเรียนรูระดับจังหวัด ระดับเขต ไดแก
คณะกรรมการกํากับทิศทางนโยบายฯ ระดับเขต (CSO เขต ประธาน SP 10 สาขา ระดับเขต Service Provider
Board ระดับเขต) คณะกรรมการประสานงานระดับจังหวัด (คปสจ.) ทุกพื้นที่จังหวัด อําเภอ มีการสนับสนุนปจจัย
ดานการบริหารเขาสูระบบการขับเคลื่อนนโยบาย DHS ในลักษณะและความเขมขนแตกตางกัน เชน
1) การสนับสนุนดานงบประมาณ ที่เปลี่ยนแปลงจากเปนระบบพิจารณาเปนรายการของการ
ใหบริการและทรัพยากรที่ใช (Item) มาเปนรายหัว ประชากร (Capitation) มีแนวโนมทําใหระบบสามารถตอบสนอง
ตอปญหาในพื้นที่ไดดีขึ้น เปดโอกาสใหมีการรับงบประมาณตรง จากนอกองคกรภายนอกราชการ เชน สสส. องคกร
ปกครองสวนทองถิ่น มูลนิธิ หรือองคกรชุมชน เพื่อซอมเติมงบสนับสนุนจากสวนกลางไมตอเนื่อง ดังนั้น พื้นที่ตอง
แสวงหาวิธีการชองทางเองมากขึ้น กลาวคือ แตละจังหวัดมีคว ามแตกตางกันในดานวิธีการสนับสนุน ยอดเงินที่
สนับสนุน กลาวคือ บางจังหวัดจัดสรรใหเฉพาะพื้นที่อําเภอนํารอง หลายจังหวัดจัดสรรใหครอบคลุมทุกพื้นที่
อําเภอ เฉลี่ยอําเภอละ 50,000 - 240,000 บาท แตบางจังหวัดนํางบประมาณทุกหมวดมาบูรณาการแลวจัดสรร
ตามแผนยุทธศาสตรหรือกิจกรรมที่เปนนโยบายเนนหนักของจังหวัด จึงทําใหอําเภอรูสึกวาไมไดรับงบสนับสนุนงาน
DHS โดยตรง ดังนั้น จะพบเห็นภาพของการบูรณาการงบประมาณจากกระทรวงอื่น การรวมแบงปนทรัพยากร
ระหวางหนวยงานเพื่อสนับสนุนงานDHS ในระดับอําเภอมากกวาระดับจังหวัด
2) การสนับสนุนดานบุคลากร ยา วัคซีน วัสดุ อุปกรณ จังหวัดมีการสนับสนุนตามแผนที่กําหนด แต
อยางไรก็ตามสถานการณบุคลากรโดยรวมยังมีความขาดแคลน ทั้งที่เปนแพทย สหวิชาชีพที่ลงไปรวมทํางานกับหนวย
บริการปฐมภูมิ ซึ่งพิจารณาจากขอมูล การขึ้นทะเบียนหนวยบริการปฐมภูมิที่สวนใหญในสวนใหญ ผานแบบมีเงื่อนไข
และเงื่อนไขสําคัญคือ เกณฑดานบุคลากร ที่สําคัญมีการขาดแคลนทั้งหนวยบริการที่เปนแมขายและหนวยบริการปฐม
ภูมิในเครือขาย ดังนั้นหนวยงานในระดับอําเภอ เชน โรงพยาบาล ชุมชนมีการสนับสนุนวัสดุอุปกรณในกิจกรรม
บริการตามโครงการนํารอง อยางชัดเจน ในลักษณะทีมงาน หรือหนวยปฏิบัติการเคลื่อนที่ มีการจัดการดวยระบบ
Logistic เปนตน
3) การสนับสนุนดานวิชาการ และเทคโนโลยี ทุกอําเภอ ทุกจังหวัดยังไมมีการสรางระบบฐานขอมูลที่ใช
สําหรับการรายงานหรือจัดเก็บขอมูลการดําเนินงานDHS เปนการโดยเฉพาะ บางพื้นที่ไดประยุกตใชทรัพยากรที่มี
อยู และสื่อตางๆ เชน Facebook , e-mail, conference, Line ในการพัฒนาระบบรายงาน DHS แตเมื่อพิจารณา
ในระดับอําเภอจะพบความหลากหลายในการประยุกตใชเทคโนโลยีสมัยใหม และเทคโนโลยีจากภูมิปญญาชาวบาน
เพื่อนํามาปรับใชใหเอื้อตอการดําเนินงานบริการในพื้นที่ เชน การใชอุปกรณ IT ในการถายภาพเทา บาดแผลผูปวย
เบาหวาน ที่อยูในชุมชนหางไกล แลวสงผานระบบอินเทอรเน็ต Facebook , Skype, Line, e-mail, conference,
๖ Lesson Learned and Development of District Health System Project | [ Phase1]
๖
Tele Med Web app เพื่อขอรับคําปรึกษาจากแพทย การ ประยุกตใชคูปองสีในการดูแลผูปวยเบาหวานแตละกลุม
การใชสื่อมวลชนผานระบบวิทยุชุมชน เคเบิลทีวี เสียงตามสายของทองถิ่นในการประชาสัมพันธงาน การรณรงค
เปนตน
4.5 ระบบและกลไกขับเคลื่อนการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิ
ความคิดเห็นของผูบริหารหนวยงาน
สาธารณสุขระดับอําเภอ ระดับตําบล และผูที่เกี่ยวของ
กับการดําเนินงานระบบสุขภาพอําเภอ (รสอ.) ใน
ประเด็นเกี่ยวกับรูปแบบการขับเคลื่อนนโยบายการ
ใช Six building blocks ในการทํา Service Plan สู
การปฏิบัติ สวนใหญขับเคลื่อนผานการบริหารงานใน
รูปแบบ คณะกรรมการ คปสอ. รอยละ 87.9 ใกลเคียง
กับการใชรูปแบบคณะกรรมการระบบสุขภาพ
อําเภอ (DHS) รอยละ 87.7 และรองลงมาคือใชการ
ขับเคลื่อนผานรูปแบบของทีมหมอครอบครัว (FCT) รอย
ละ 76.8 แตเมื่อพิจารณารูปแบบที่นําสูการปฏิบัติจริง
ในระดับพื้นที่ไดดีที่สุด คือ คณะกรรมการ คปสอ. รอยละ 49.5 รองลงมา กรรมการระบบสุขภาพอําเภอ (DHS) รอย
ละ 26.0 และคณะกรรมการ CUP Board รอยละ 5.9 ตามลําดับ
กลไกขับเคลื่อนการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิพื้นที่อําเภอ ตําบล ไดนํามาประยุกตใช ประกอบดวย
1) กลไกที่มีอยูเดิม คือ การนิเทศงานระดับเขต จังหวัด อําเภอ การประเมิน HA / PCA /เภอควบคุมโรคเขมแข็ง
2) กลไกขับเคลื่อนหลักคือ การเยี่ยมชื่นชมดวยวิธีการ AI ตาม DHS – PCA / QOF survey /คปสอ.ติดดาว/ SRRT/
QRTที่มีทักษะการเปนโคช ความรูความเขาใจในเกณฑมาตรฐานการประเมิน 3) กลไกขับเคลื่อนเสริม คือการใช
กระบวนการ PILA / R2R / ศูนย COC / Home health Care/ CBL / SRM / ธรรมนูญสุขภาพหรือชัญชีสุขภาพอําเภอ
/มีระบบ “แกหลา” เพื่อจัดการสุขภาพตนเองของชุมชน มี กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับทองถิ่น หรือพื้นที่ เปน
ตน ทําใหเกิดรูปแบบการขั บเคลื่อนที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ เชน เกิดเปนสภาสุขภาพอําเภอ / SHA-CUP / Bird
Project / ลําสนธิ Model / สารภี Model / คลินิกชุมชนอบอุน ในเขตเมือง เปนตน
โดยสรุปแลวรูปแบบ การบริหาร เพื่อขับเคลื่อน เครือขายสุขภาพอําเภอ ที่มีทั้งสาธารณสุขอําเภอ
ผูอํานวยการโรงพยาบาล ผูแทนจากโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล องคกรปกครองสวนทองถิ่น และภาคประชาชน
เขามารวมเปนคณะกรรมการบริหารเครือขาย นั้น ยังเปนลักษณะการดําเนินงาน แบบไมเปนทางการ ไมมีอํานาจเชิง
การบริหารที่ชัดเจน ขึ้นกับขอตกลงในแตละพื้นที่ สถานการณปจจุบัน แตละพื้นที่ยังมีความแตกตางในเชิงการจัดการ
รวมกัน ทั้งที่เขมแข็งและทั้งที่ยังไดรับความรวมมือนอย ยังไมเปนเอกภาพ
๗ Lesson Learned and Development of District Health System Project | [ Phase1]
๗
4.6 ผลการดําเนินงานตาม UCCARE
ความคิดเห็นตอ ผลการดําเนินงานตามกระบวนการ DHS โดยจําแนก ตาม UCCARE โดยรวมอยูใน
ระดับมาก รอยละ 56.9 มีคาเฉลี่ยผลการดําเนินงานตามUCCARE เทากับ 29.96±6.82 บุคลากรในพื้นที่รับผิดชอบ
ของสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ เขต 6 ระยอง มีความคิดเห็นวาผลการดําเนินงานตาม UCCARE อยูใน
ระดับมากที่สุด คิดเปน รอยละ 75.6 รองลงมา คือ สปสช.เขต 12 สงขลา เขต 5 ราชบุรี เขต 1 เชียงใหม ในอัตรา
รอยละ 75.0, 73.3 และ 72.5 ตามลําดับ กิจกรรมที่สะทอน UCCARE ในพื้นที่ ไดแก การประชุมทีมแกนนําอยาง
นอย 3 เดือน/ครั้ง มีกระบวนการคืนขอมูลสูชุมชนสรางการรับรูและตระหนัก กระตุนการสรางเครือขายดูแลตนเอง
การแลกเปลี่ยนเรียนรูอยางชื่นชม และการจัดอบรม อสม. ในการดูแลผูปวยเพื่อใหเกิด Essentials care ในสัดสวน
1: 2 เปนตน
ขอคิดเห็นที่สําคัญ คือ เมื่อทําDHS แลวงานบริการในระดับปฐมภู มิจะมากขึ้นโดยเฉพาะการสงเสริม
ปองกัน ฟนฟู ซึ่งแปรผกผันกับจํานวนบุคลากรซึ่งดานนี้มีนอยเมื่อเที ยบกับกลุมเปาหมายที่รับผิดชอบ จึงกระทบกับ
งานอื่น ๆ ควรปฎิบัติรวมกันอยางตอเนื่อง
4.7 Family Care Team; FCT ความหวังรับตอไมสุดทายสูประชาชน
ผลการวิเคราะหขอมูลความคิดเห็นตอนโยบายการขับเคลื่อนระบบสุขภาพระดับอําเภอ โดยผาน
รูปแบบหรือระบบการสนับ สนุนกําลังคน ในลักษณะทีมหมอประจําครอบครัวของภาครัฐในชวงที่ผาน
มา พบวา บุคลากรสาธารณสุขมองวาเกิดการดําเนินงานอยูในระดับนอย รอยละ 51.0 ใกลเคียงกับความคิดเห็นใน
กลุมระดับมากรอยละ 49.0 โดยมีคาเฉลี่ยของผลการดําเนินงาน Family Care Team เทากับ 16.50±3.51 โดย
ประเด็นเกี่ยวกับวาในปจจุบันอําเภอมีวิธีและชองทางการสื่อสารเพื่อใหการปรึกษาประสานการรับสงตอผูปวยอยางมี
ประสิทธิภาพ มีคาเฉลี่ย 3.41±0.79 รองลงมาคือ ภายในอําเภอมีโครงสราง และองคประกอบของทีมหมอครอบครัว
ที่หลากหลายสาขาและกระจายดูแลครอบคลุมตามพื้นที่ (catchment area) มีคาเฉลี่ย 3.35±0.90 อําเภอมีระบบ
ขอมูลและใชประโยชนขอมูลรวมกันระหวางทีมหมอครอบครัวระดับอําเภอและระดับตําบลไดดี มี
คาเฉลี่ย 3.27±0.76 การมีทีมหมอครอบครัวทําใหอําเภอเกิดการเชื่อมโยงการทํางานจากนโยบายสูการปฏิบัติใน
พื้นที่ และเห็นผลชัดเจน มีคาเฉลี่ย 3.23±0.80 และทีมหมอครอบครัวระดับอําเภอมีบทบาทบริการดูแลใหคําปรึกษา
และรับสงตอรวมทั้งพัฒนาศักยภาพทีมหมอครอบครัวระดับตําบล มีคาเฉลี่ย 3.21±0.78 ตามลําดับ
4.8 ผลลัพธที่พึงประสงคและผลขางเคียงที่พึงพิจารณาของการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิ
ผลของขอมูลการบรรลุเปาหมายและผลลัพธ (Overall Goals/Outcome) พบวา บุคลากรสาธารณสุข
ปฏิบัติงานตามนโยบายโดยการใชระบบสุขภาพอําเภอ (DHS) และทีมหมอครอบครัว (FCT) ขับเคลื่อนนโยบายตาม
กรอบ Six building blocks ในการทํา Service Plan เพื่อบรรลุเปาหมายและผลลัพธลงสูการปฏิบัติ จริงในระดับ
อําเภอ ตําบล จากการพิจารณารายขอ พบวา สวนใหญอยูในระดับมาก และมีขอคําถามที่กลุมตัวอยางตอบมากที่สุด
๘ Lesson Learned and Development of District Health System Project | [ Phase1]
๘
และมีคะแนนเฉลี่ยมากทีสุด 5 อันดับ คือ การมีระบบ DHS และ FCT สามารถปองกันความเสี่ยงทางสังคมที่จะเกิด
ตอผูปวย เชน การไมสรางตราบาปใหผูปวยการโอบอุมผูดอยโอกาส เปนตน มีคาเฉลี่ย 3.57±1.76 รองลงมาคือการมี
ระบบ DHS และ FCT สามารถลดความเดือดรอนดานคาใชจายในการรับบริการแกผูปวยได มีคาเฉลี่ย 3.56±0.73 ทํา
ใหเกิดบริการที่ตอบสนองตอความตองการของผูรับบริการ มีคาเฉลี่ย 3.54±0.77 เกิดบริการที่เปนธรรมตอประชาชน
ผูดอยโอกาส มีคาเฉลี่ย 3.50±0.78 ทําใหประชาชนโดยเฉพาะกลุมดอยโอกาสตางๆ สามารถเขาถึงบริการสุขภาพ
(Access) มีคาเฉลี่ย 3.48±0.74 ตามลําดับ สวนประเด็นที่มีคาเฉลี่ยนอย คือ ความสามารถลดปริมาณการใชบริการ
ทางแพทยนอกระบบ(Non Medical Care) ของผูปวย มีคาเฉลี่ย 3.23±0.74
4.9 ปจจัยที่มีความสัมพันธกับผลลัพธที่พึงประสงคและผลขางเคียงที่พึงพิจารณาของการพัฒนาระบบ
สุขภาพปฐมภูมิ คือ อายุ อายุราชการ คณะกรรมการ (DHS) การรับรูและตอบสนองนโยบาย ผลการดําเนินงาน
ตาม UCCARE ผลการดําเนินงาน Family Care Team กระบวนการขับเคลื่อนนโยบาย พบวาตัวแปรตนที่มี
ความสัมพันธกับการบรรลุเปาหมายและผลลัพธ(Overall Goals/Outcome) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01
4.10 ปจจัยที่มีผลตอผลลัพธที่พึงประสงค และผลขางเคียงที่พึงพิจารณาของการพัฒนา ระบบสุขภาพ
ปฐมภูมิ คือ 1) การรับรูและตอบสนองนโยบาย 2) การใชกระบวนการขับเคลื่อนนโยบาย 3) การดําเนินงานตาม
UCCARE และ 4) การดําเนินงาน Family Care Team ตัวแปรทั้งสี่แตละปจจัย สงผลทางบวกตอผลลัพธ
(Outcome) มีคาเทากับ 0.192, 0.222, 0.933 และ 0.928 ตามลําดับ
ภาพที่ 2 จํานวน รอยละ ความคิดเห็นของผูบริหารสาธารณสุขตอการดําเนินงาน DHS
๙ Lesson Learned and Development of District Health System Project | [ Phase1]
๙
ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ เมื่อใชผลลัพธ (Outcome) เปนตัวเกณฑ
ตัวแปรพยากรณ b SEb Beta t
การรับรูตอนโยบายและสนับสนุนตามปจจัยนําเขา
Building Block ทั้ง 6
.219 3.192 .222 2.750*
กระบวนการขับเคลื่อนนโยบายดวย DHS .466 .222 .928 32.559*
ผลการดําเนินงานตาม UCCARE .403 .933 .910 31.551**
ผลการดําเนินงาน Family Care Team .782 .928 .932 32.887**
R = .923; R2
= .852; SE = 2.60370; a = 3.23 (* p< 0.05; **p< 0.0001)
ทั้งนี้พบวาผลการดําเนินงาน Family Care Team สงผลทางบวกตอผลลัพธในก ารปฏิบัติงานสูงสุด
รองลงมาคือการมี UCCARE โดยตัวแปรพยากรณทั้งสี่ตัว สามารถ รวมกันพยากรณผลลัพธ(Outcome) ไดรอยละ
85.2 (R2
= .852) และมีความคลาดเคลื่อนในการพยากรณ 2.603
ดังนั้น สมการพยากรณความสําเร็จในการปฏิบัติงาน โดยใชคะแนนมาตรฐาน สามารถเขียนไดดังนี้
Z'(outcome) = 0.222 (ปจจัยนําเขาตาม Building Block ทั้ง 6) +0.928 (กระบวนการ
ขับเคลื่อน;DHS)+ 0.910(การเกิดมี UCCARE) + 0.932 (Family care team)
5. ขอพิจารณาและขอเสนอแนะเชิงนโยบาย
(1) สืบเนื่องจากการดําเนินงานตามระบบ Family care team (FCT) สงผลทางบวกตอผลลัพธในการ
ปฏิบัติงานสูงสุด รอยละ 93.2 ดังนั้นควรสนับสนุนการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิ ดวยการสรางทีม
หมอครอบครัวใหครอบคลุม มีศักยภาพ โดยการเสริมพลังจากการบริหารจัดการของ คณะกรรมการสุขภาพอําเภอ
(รสอ.) แบบไรรอยตอ ใหสามารถบูรณาการใชทรัพยากร และกระจายการสนับสนุนปจจัยนําเขาสําคัญสูระบบตาม
Building Block ทั้ง 6 เพื่อสรางสุขภาวะแกประชาชนตามบริบทพื้นที่
(2) การกําหนดนโยบายใดๆเกี่ยวกับการพัฒนาเครือขายหรื อบริการสุขภาพ ของหนวยงานระดับพื้นที่
หนวยงานสวนกลาง หรือระดับชาติ ควรพิจารณาถึงความสอดคลองและการสงเสริมเพื่อ สานตอตนทุนบริบทในแต
ละพื้นที่ ประกอบดวย การมีวัฒนธรรมการทํางานในพื้นที่ (Civil Culture Base) วัฒนธรรมองคกรที่มีมากอน
(Organization) การมีเครือขาย (Network) ของทีมงานหือกลุมบุคคล(Team Work) ที่รวมกันรวมดําเนินการแกไข
ปญหาในพื้นที่มานาน อันอุดมดวยประสบการณทํางาน(Experience) ที่ไดแลกเปลี่ยนเรียนรู กอปรกับการเชื่อมโยง
(Connection) ดวยปฏิสัมพันธกับชุมชน ผานกระบวนการหรือเทคนิค (Technique) วิชาการแนวใหม เพื่อใหการ
๑๐ Lesson Learned and Development of District Health System Project | [ Phase1]
๑๐
พัฒนาเครือขายหรืการสุขภาพมีความตอเนื่อง ยั่ งยืน ยกระดับจากพื้นที่รากฐานเปนการดําเนินงานที่เปนสาธารณะ
ในที่สุด
(3) การกําหนดนโยบาย เพื่อการสนับสนุนงานในพื้นที่ ควรพิจารณา ในเชิงยุทธศาสตรการเสริมแรง
ดานโครงสราง(Structure) และบทบาทหนาที่ของกรรมการในพื้นที่ สงเสริมการรับรู (Perception) ตอนโยบาย
และปญหาสังคม (Perception of Social Problem) เพื่อใหเกิดการตอบสนอง(Responsiveness) และการ
สนับสนุน (Supporting) อยางมีสวนรวมจากภาคีเครือขายในพื้นที่
(4) การกําหนดนโยบายดานการติดตาม การประเมินผลงานของหนวยงานระดับกระทรวง กรม จังหวัด
เพื่อวัดผลหรือประเมินความสําเร็จของหนวยงานระดับพื้นที่ ควรบูรณาการหลักเกณฑ ตัวชี้วัด (KPI) ในลักษณะ
รวมกันเปน UNIQUE กลาวคือ หลักเกณฑ ที่ใชตรวจ ประเมิน ผลงาน พื้นที่ควรเปนเกณฑที่ เขาใจรวมโดยงาย
(Understanding) เปนผลสัมฤทธิ์รวมของเครือขาย (Network) จากการผสมผสาน(Integrate) กิจกรรมบริการที่ตรง
ตอปญหา (Quick) ของชุมชน (Essential care) เกิดอรรถประโยชน(Utility) ดานสุขภาพ และทําสําคัญกระบวนการ
ตรวจประเมินงานตามนโยบายควรนํามาซึ่งขวัญกําลังใจ (Empowerment) เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู เกิดคุณคา
และการยกยองชื่นชม(Appreciation)
(5) การสนับสนุนดานกําลังคนสุขภาพ ควรมีหนวยงานที่มีความรับผิดชอบโดยตรงเพื่อประสานงาน ใหเกิด
ความสอดคลองของนโยบายหลายๆ ดาน ที่สงผลกระทบตอกําลังคน โดยมีการวางนโยบายกําลังคนรวมกัน เปดให
พื้นที่มีสวนรวมในการวางแผน ผลิต พัฒนา จัดระบบการจางงาน ระบบการสรางขวัญกําลังใจ มีหนวยงานหรือ
เครือขายมารวมรับผิดชอบสรางการเรียนรูของผูปฏิบัติอยางตอเนื่อง
(6) ควรสนับสนุนงบประมาณ บุคลากรที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ และ เสริมสรางแรงจูงใจการทํางานใน
ระดับปฐมภูมิ ทั้งนี้เนื่องจากสัดสวนลักษณะการทํางานของเจาหนาที่ที่ปฏิบัติงานในหนวยบริการปฐมภูมิ มีแนวโนม
ดูแลงานรักษาพยาบาลผูปวยเรื้อรังมากขึ้นจากนโยบายสงตอผูปวยรับบริการที่ รพ.สต. แตสวนทางกับการสนับสนุน
ดานงบประมาณ การสนับสนุนกําลังพลลงสู รพ .สต. โดยเฉพาะอยางยิ่ง รพ .สต.หางไกล มีผูขึ้นทะเบียนบั ตร
ประกันสุขภาพจํานวนนอย มีความขัดสนทั้งงบประมาณ บางครั้งตองบิดการใชงบประมาณจากหมวดอื่น เชน นํา
งบประมาณหมวดสงเสริมสุขภาพ มาเปนคาสาธารณูปโภค เสี่ยงตอการกระทําผิดระเบียบ เสี่ยงตอการคงอยูของ
บุคลากร โดยเฉพาะกลุมพยาบาลวิชาชีพที่ลาออกในอัตราที่สูง
(7) ควรหนุนเสริมการถายทอดเทคโนโลยี ระหวางพื้นที่ ที่ดําเนินการไดดี โดยการสนับสนุนภาคสวนที่
เกี่ยวของมีการพัฒนาหลักสูตรบุคลากรใหสอดคลองการตองการ ใชของพื้นที่ การผลิตและพัฒนา กําลังคนที่ไม
ซับซอน มาทดแทน มีการดึงการมีสวนรวมของภาคเอกชน ชุมชน ทองถิ่นเขามารวมดูแลปญหากําลังคน
๑๑ Lesson Learned and Development of District Health System Project | [ Phase1]
๑๑
(8) ควรใชโอกาสในความตองการ และยังมีสวนขาดที่เติมไมเต็มของ บริการปฐมภูมิ ใหเกิดขึ้นในหมู
ประชาชน มีการศึกษาหาคําตอบในการสรางบริการที่มีเอกลักษณเพิ่มชองทาง วิธีสื่อสาร เนื้อหาในการสื่อเนนการ
สรางคุณคา ของงานของผูใหบริการ ซึ่งปจจุบันไดสรางภาพใหมที่ทีมหมอครอบครัว แทนคําวาบริการปฐมภูมิ ซึ่งควร
ติดตาม ประเมินผลอยางตอเนื่อง
๑๒ Lesson Learned and Development of District Health System Project | [ Phase1]
๑๒

More Related Content

Similar to Executives summary dhs dr wut 1115

Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.Napin Yeamprayunsawasd
 
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2กันย์ สมรักษ์
 
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลักPmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลักpromboon09
 
แนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทางแนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทางPratuan Kumjudpai
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Tang Thowr
 
จุดเน้นที่ 7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน ...
จุดเน้นที่  7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน   ...จุดเน้นที่  7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน   ...
จุดเน้นที่ 7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน ...โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมjeabjeabloei
 
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 

Similar to Executives summary dhs dr wut 1115 (20)

Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552
 
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
 
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
 
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลักPmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
 
คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้
 
เล่มแผนCg ปี54
เล่มแผนCg ปี54เล่มแผนCg ปี54
เล่มแผนCg ปี54
 
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
 
แนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทางแนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทาง
 
Action plan
Action planAction plan
Action plan
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
 
จุดเน้นที่ 7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน ...
จุดเน้นที่  7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน   ...จุดเน้นที่  7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน   ...
จุดเน้นที่ 7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน ...
 
028
028028
028
 
7532
75327532
7532
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
2555 Thailand e-Government Report
2555 Thailand e-Government Report2555 Thailand e-Government Report
2555 Thailand e-Government Report
 
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘
 
Team group annual2013.1
Team group annual2013.1Team group annual2013.1
Team group annual2013.1
 

More from Chuchai Sornchumni

Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)Chuchai Sornchumni
 
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว Chuchai Sornchumni
 
New perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHCNew perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHCChuchai Sornchumni
 
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทางChuchai Sornchumni
 
ChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllnessChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllnessChuchai Sornchumni
 
Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015Chuchai Sornchumni
 
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศChuchai Sornchumni
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527Chuchai Sornchumni
 
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริการ่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกาChuchai Sornchumni
 
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017Chuchai Sornchumni
 
ช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็นช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็นChuchai Sornchumni
 
สาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุกสาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุกChuchai Sornchumni
 

More from Chuchai Sornchumni (20)

Precision medicine
Precision medicinePrecision medicine
Precision medicine
 
Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)
 
UHC lesson learn Thailand
UHC lesson learn ThailandUHC lesson learn Thailand
UHC lesson learn Thailand
 
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
 
New perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHCNew perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHC
 
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
 
Introduction2 publichealth
Introduction2 publichealthIntroduction2 publichealth
Introduction2 publichealth
 
Public finance
Public financePublic finance
Public finance
 
DiseaseMntChrRespSyst
DiseaseMntChrRespSystDiseaseMntChrRespSyst
DiseaseMntChrRespSyst
 
ChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllnessChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllness
 
Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015
 
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
 
Welfare analysis for uhc
Welfare analysis for uhcWelfare analysis for uhc
Welfare analysis for uhc
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527
 
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริการ่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
 
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
 
Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559
 
ช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็นช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็น
 
สาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุกสาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุก
 
Ncd nhes v_2016
Ncd nhes v_2016Ncd nhes v_2016
Ncd nhes v_2016
 

Executives summary dhs dr wut 1115

  • 1. 1. เกริ่นนํา การสรุปบทเรียนและพัฒนาการระบบสุขภาพระดับอําเภอ เพื่อสรางความเขมแข็งบริการปฐมภูมิ เนื่องจากทิศทางการพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ของประเทศไทยในชวงป 2555-2559 จําเปนตอง สอดคลองกับแนวทางขององคการอนามัยโลก และสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาล ที่มุงใหประชาชนทุกครัวเรือน ไดรับบริการใกลบานใกลใจ เพื่อใหคนไทยทุกคนมีสุขภาพแข็งแรง สรางความเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศทั้ง ทางตรงและทางออมอยางยั่งยืน และสอดคลองกับนโยบายการปฏิรูประบบบริการของกระทรวงสาธารณสุข ตาม แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ที่มุงใหเกิดการบริหารแบบเครือขายบริการสุขภาพ ดังนั้นกระบวนการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบสุขภาพอําเภอ (DHS) จึงเปนแบบพลวัตร มีการเปลี่ยนแปลง สูจุดสมดุลสอดคลองกับบริบทพื้นที่ จึงเปนระบบที่มีความหลากหลาย มีความซับซอนและมีการปรับตัวอยูตลอดเวลา จึงจําเปนตองศึกษาถอดบทเรียน สังเคราะห ประเมินผลเพื่อสกัดองคความรู สูการแลกเปลี่ยนและถายทอดแกผู ปฏิบัติอยางตอเนื่อง เปนการดําเนินงานทางวิชาการแบบคูขนาน เพื่อเปนฐานขอมูลหรือคลังความรูรองรับ การ พัฒนาอยางตอเนื่องได 2. วัตถุประสงค เพื่อสนับสนุนการรวมมือของเครือขายวิชาการในแตละภูมิภาค รวม กันศึกษาถอดบทเรียน ระบบสุขภาพระดับอําเภอในแตละภูมิภาคพื้นที่ สังเคราะหเปนปจจัยความสําเร็จและโอกาสการพัฒนา และรวบรวม เปนองคความรูทางวิชาการ เพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิตอไป 3. ระเบียบวิธีวิจัย วิจัยและพัฒนา (Research and Development: R&D) นี้ไดประยุกตใชกลวิธีทางระเบียบวิธีวิจัยแบบ ผสมผสาน ทั้งวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ไดแก การศึกษาเอกสาร(Document study) ที่เกี่ยวของทั้งไทยและตางประเทศ ดวยกระบวนการถอดบทเรียน การจัดการความรู(KM) จากทีมนักวิชาการจากสถาบันการศึกษาทั่วทุกภูมิภาคของ ประเทศทั้ง 12 เขต รวมศึกษาเรียนรู เก็บขอมูลจากการรวม กระบวนการปฏิบัติงาน จริงในพื้นที่ (Participatory Action Research) กอปรกับการตรวจเยี่ยมชื่นชมผลงาน การเขารวมการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู หรือเวทีวิชาการ ในพื้นที่ เปนตน วิธีวิจัยเชิงปริมาณ ดวยการเก็บขอมูล จากผูบริหารงานสาธารณสุขระดับอําเภอ ตําบล และผูที่ เกี่ยวของกับระบบสุขภาพปฐมภูมิทั่วประเทศดวยแบบสอบถาม เก็บขอมูลระยะแรก ของการศึกษานี้ จากเดือน กุมภาพันธ – ตุลาคม 2558 วิเคราะหขอมูลดวยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมาน ขอมูลเชิงคุณภาพวิเคราะห โดยใช วิธีการวิเคราะหขอมูลเชิงเนื้อหา (Content Analysis) ตามกรอบการสรุปบทเรียนการพัฒนาระบบสุขภาพ อําเภอ ดังภาพที่ 1 บทสรุปสําหรับผูบริหาร (Executives Summary) ๒ Lesson Learned and Development of District Health System Project | [ Phase1] ๒
  • 2. 4. ขอคนพบที่เปนผลการศึกษา ผลจากการศึกษาใน ระยะแรกของโครงการ ไดนําเสนอโดยสรุปจําแนกออ กเปนรายหัวขอที่สําคัญ และ บทสรุปอภิปรายภาพรวมที่เรียงลําดับ ดังตอไปนี้ 4.1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม กลุมตัวอยางที่ตอบแบบสอบถามลวนเปนผูบริหารงานดานสาธารณสุขระดับอําเภอและผูเกี่ยวของกับ การดําเนินงานระบบสุขภาพอําเภอ (รสอ.) จํานวน 2,574 คน/แหง ครอบคลุมทั้ง 12 เขต 64 จังหวัด โดยมีกลุม ผูบริหารที่ตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศหญิง รอยละ 58.9 อายุเฉลี่ย 44 ป มีอายุราชการเฉลี่ย 22.31 ป ปฏิบัติงานที่โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล รอยละ 45.6 โรงพยาบาล รอยละ 32.4 สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ รอยละ 20.7 ดํารงตําแหนงนักวิชาการสาธารณสุข รอยละ 30.3 พยาบาล รอยละ 20.5 มีรูปแบบการบริหารงาน ระบบสาธารณสุขอําเภอ ในลักษณะ คปสอ. รอยละ 89. 3 และเปนคณะกรรมการระบบสุขภาพอําเภอ (DHS) รอย ละ 85.5 กลุมตัวอยางพึ่งไดเปนคณะกรรมการระบบสุขภาพอําเภอ (District Health System) เพียง รอยละ 8.4 4.2 ขอคนพบดานวิวัฒนาการของระบบสุขภาพระดับอําเภอ วิวัฒนาการดานรูปแบบดําเนินการสนับสนุนของจังหวัด และการ ดําเนินงานระดับอําเภอ ทั้งในระยะ กอนมีนโยบาย DHS จนถึงชวงของการขับเคลื่อนนโยบาย DHS ทุกพื้นที่มีทุนเดิมจากการทํางานในฐานะหนวยงาน สนับสนุน หนวยปฏิบัติการ ประกอบกับการริเริ่มสรางสรรคงานใหมๆ ที่ปรับเปลี่ยนหมุนเวียนเปนพลวัตร เพื่อ ภาพที่ 1 กรอบแนวทางการเตรียมขอมูลเพื่อเขียนรายงานสรุปบทเรียนการพัฒนาระบบสุขภาพอําเภอ ๓ Lesson Learned and Development of District Health System Project | [ Phase1] ๓
  • 3. ตอบสนองตอนโยบายในแตละยุคแตละสมัย สรุปสังเคราะหเกี่ยวกับตนทุนและบริบทพื้นที่เปนแบบ “CONTECT” ดังนี้ C- Civil Culture Base คือวัฒนธรรมการทํางานกับประชาชนในพื้นที่ สวนมากเกิดจากกระบวนการ CBL คือทุกพื้นที่อําเภอมีทุนเดิมดานวิชาการในรูปแบบการจัดการเรียนรูแบบ ในบางพื้นที่มีระบบการเยี่ยมบานมีศูนยการ ดูแลอยางตอเนื่อง(COC) หรือ Home health care ที่ชัดเจนและรวมกันทํางานดูแลสุขภาพประชา ชนแบบใกลบาน ใกลใจ โดยสหวิชาชีพซึ่งเกิดการพัฒนาขึ้นมาเรื่อยๆ จากกลุม รพ.สต. จนเกิดเปนเครือขายสหวิชาชีพรวมการเยี่ยม บานที่เขมแข็งและตอเนื่อง O-Organization คือการมีความเปนองคกรมากอน มีคณะกรรมการดําเนินงานดานสุขภาพในพื้นที่อยูแลว ไดแก คปสอ. หรือ CUP Board หรือ SHA-CUP โรงพยาบาล สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ โ รงพยาบาลสงเสริม สุขภาพตําบล(รพ.สต.) เปนหนวยงานรับผิดชอบหลักในพื้นที่ N-Network การมีระบบเครือขายที่ประสานการทํางานอยางแนบแนน (Strange Association) ในพื้นที่ คอยเกื้อหนุนกันและกัน ประกอบดวยหนวยงานจาก อปท. เครือขาย อสม. กลุมอาสาสมัครตางๆ กองทุนสนับสนุน การสรางเสริมสุขภาพ(สสส.) สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) เครือขายประชาสังคม ผูทรงคุณคา หรือปราชญชาวบาน รวมถึงสถาบันทางวิชาการหรือสถาบันการศึกษาในพื้นที่ เปนตน T-Team คือกลุมบุคคลที่รวมกันรวมดําเนินการแกไขปญหาในพื้นที่ จากกิจกรรมเฉพาะกลุม เฉพาะดาน แลวเกิดวิวัฒนาการของทีมทั้งในมิติดานขนาดของทีม บทบาทและความหลากหลายของกิจกรรม ที่มีความเชื่อมโยง สามารถปรับเปลี่ยน(Transform) ใหสอดคลองตองานใหมๆ นโยบายใหมๆที่ เปลี่ยนแปลงไป ทีมงานที่เขมแขงใน พื้นที่ E-Experience พื้นที่อําเภอนํารองที่เขารวมโครงการ ลวนมีประสบการณ ความลมเหลวและนําไปสูการ เรียนรูรวมกัน (Learning from mistake) จนกลั่นกรองเปนกระบวนการ เปนระบบการทํางานที่เปนเลิศ ประสบ ความสําเร็จ ความเปนตนแบบ และมีรางวัลภาคภูมิใจ การชื่นชม (Appreciation) ที่สะทอนไดจากประชาชน และ หนวยงาน เปนตน C-Connection & Community & Continuous ผลความสําเร็จจากการติดตอประสานเชื่อมโยงกันของ บุคคล หรือทีมงานในพื้นที่ เกิดจากการประสานงานกันในแนวราบ (Horizontal) ไมเปนทางการ (Informal) มากกวาการประสานงานแนวดิ่งที่เปนทางการ (Formal) จึงเกิดสัมพันธภาพในการทํางานรวมกับชุมชนอยางเขาใจ และมีความตอเนื่อง รองรับการเปลี่ยนแปลง หรือนโยบายใหมที่เขามาในพื้นที่ T-Technique ทุกพื้นที่อําเภอมีการบูรณาการใชเทคนิค กระบวนการพัฒนางานในพื้นที่อยูแลว ไดแก การประเมินตนเอง (Self Assessment) ของเครือขายสุขภาพระดับอําเภอ มีการเพิ่มพูนประสบการณเวชปฏิบัติ ครอบครัวสําหรับแพทย (FPL) การใชรูปแบบการทําแผนชุมชนดวยกระบวนการ SRM การพัฒนาคุณภาพบริการ ๔ Lesson Learned and Development of District Health System Project | [ Phase1] ๔
  • 4. รวมทั้งการพัฒนาระบบคุณภา พตามแนวทาง (PCA) มาตรฐาน HA และ มีการใชกระบวนขับเคลื่อนงานพัฒนา เครือขายบริการดวยกระบวนการจัดการความรู(KM) การแลกเปลี่ยนเรียนรูจากงานประจําสูงานวิจัย(R2R) เปนตน 4.3 สถานการณเชิงประจักษตอการรับรูและตอบสนองนโยบายการพัฒนาระบบบริการ Service Plan บุคลากรระดับอําเภอมี การรับรูและตอบสนอง นโยบายการพัฒนาระบบบริการ Service Plan อยูใน ระดับนอย และระดับมาก ในสัดสวนที่ใกลเคียงกัน คือ รอยละ 50.8 : 49.2 ( =47.78±6.54) โดยสวนใหญรับรู วาในอําเภอมีการสนับสนุนเครือขายบริการปฐมภูมิ ใ น การจัดบริการดานสุขภาพที่จําเปนสําหรับประชาชน (Essential Care) สอดคลองกับบริบทของชุมชน รอยละ 60.1 มีคาเฉลี่ย 3.72±0.68 รองลงมารับรูวาอําเภอ ดําเนินงานตามนโยบาย Service Plan ไดดี รอยละ 50.6 มีคาเฉลี่ย 3.56±0.71 มีการจัดระบบพัฒนาเพิ่มพูนความรูแกเจาหนาที่ทุกระดับในการดูแล และสงตอ ผูปวยที่มีปญหาสุขภาพรุนแรง รอยละ 48.9 มีคาเฉลี่ย 3.55±0.67 มีระบบขอมูล (Information) เพื่อสนับสนุน การใหบริการ การรายงานผลที่ครบถวน รอยละ 47.8 มีคาเฉลี่ย 3.51±0.67 แตดานการสนับสนุนดานกําลังพล (Health Workforce) ที่เพียงพอเหมาะสมกับงานบริการดานสุขภาพ ยังอยูในระดับนอย รอยละ 29.4 มีคาเฉลี่ย 3.08±0.81 ตามลําดับ 4.4 การสนับสนุนปจจัยสําคัญเขาสูระบบบริการปฐมภูมิตาม 6 องคประกอบ ความคิดเห็นโดยรวมของบุคลากร มองวาการจัดปจจัยสนับสนุน คน เงิน ของ ตามนโยบาย แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ยังไมเพียงพอตอการพัฒนาระบบบริหารจัดการในพื้นที่ ที่ผานมา การสนับสนุนมักเกิดขึ้นจากภาคการเมือง และมีการเนนผลลัพธที่เกิดกับประชาชน แตการพัฒนาระบบสนับสนุนไม ชัดเจน อีกทั้ง โครงสรางองคกรที่รับผิดชอบบริการปฐมภูมิไม ชัด โดยเฉพาะอยางยิ่งที่สวนกลาง ยังคงเปนลักษณะ แยกสวน ตามเปาหมายผลลัพธขององคกรสวนกลางหรือโครงการที่ กําหนดมา (Vertical Program) ระบบติดตาม กํากับงานไมยืดหยุน พื้นที่ไมมีอิสระทางความคิด ทําใหเปนภาระงานที่หนักของระบบรายงานที่มีมากและ ไมเกิด ประโยชนตอพื้นที่ มีการสรางตัวชี้วัด มาตรฐานคุณภาพ มาควบคุมกํากับ แตอยางไรก็ตาม ขอคนพบในลักษณะ การสนับสนุนจากระดับเขตโดยการมีกลยุทธ เชน กลยุทธ 15 รองหลัก (5รุก 5 รับ 5 สนับสนุน) มีการกําหนด ๕ Lesson Learned and Development of District Health System Project | [ Phase1] ๕
  • 5. ตัวชี้วัด และมอบหมายความเปนเจาภาพหลัก เกิดทีมตรวจติดตาม แลกเปลี่ย นเรียนรูระดับจังหวัด ระดับเขต ไดแก คณะกรรมการกํากับทิศทางนโยบายฯ ระดับเขต (CSO เขต ประธาน SP 10 สาขา ระดับเขต Service Provider Board ระดับเขต) คณะกรรมการประสานงานระดับจังหวัด (คปสจ.) ทุกพื้นที่จังหวัด อําเภอ มีการสนับสนุนปจจัย ดานการบริหารเขาสูระบบการขับเคลื่อนนโยบาย DHS ในลักษณะและความเขมขนแตกตางกัน เชน 1) การสนับสนุนดานงบประมาณ ที่เปลี่ยนแปลงจากเปนระบบพิจารณาเปนรายการของการ ใหบริการและทรัพยากรที่ใช (Item) มาเปนรายหัว ประชากร (Capitation) มีแนวโนมทําใหระบบสามารถตอบสนอง ตอปญหาในพื้นที่ไดดีขึ้น เปดโอกาสใหมีการรับงบประมาณตรง จากนอกองคกรภายนอกราชการ เชน สสส. องคกร ปกครองสวนทองถิ่น มูลนิธิ หรือองคกรชุมชน เพื่อซอมเติมงบสนับสนุนจากสวนกลางไมตอเนื่อง ดังนั้น พื้นที่ตอง แสวงหาวิธีการชองทางเองมากขึ้น กลาวคือ แตละจังหวัดมีคว ามแตกตางกันในดานวิธีการสนับสนุน ยอดเงินที่ สนับสนุน กลาวคือ บางจังหวัดจัดสรรใหเฉพาะพื้นที่อําเภอนํารอง หลายจังหวัดจัดสรรใหครอบคลุมทุกพื้นที่ อําเภอ เฉลี่ยอําเภอละ 50,000 - 240,000 บาท แตบางจังหวัดนํางบประมาณทุกหมวดมาบูรณาการแลวจัดสรร ตามแผนยุทธศาสตรหรือกิจกรรมที่เปนนโยบายเนนหนักของจังหวัด จึงทําใหอําเภอรูสึกวาไมไดรับงบสนับสนุนงาน DHS โดยตรง ดังนั้น จะพบเห็นภาพของการบูรณาการงบประมาณจากกระทรวงอื่น การรวมแบงปนทรัพยากร ระหวางหนวยงานเพื่อสนับสนุนงานDHS ในระดับอําเภอมากกวาระดับจังหวัด 2) การสนับสนุนดานบุคลากร ยา วัคซีน วัสดุ อุปกรณ จังหวัดมีการสนับสนุนตามแผนที่กําหนด แต อยางไรก็ตามสถานการณบุคลากรโดยรวมยังมีความขาดแคลน ทั้งที่เปนแพทย สหวิชาชีพที่ลงไปรวมทํางานกับหนวย บริการปฐมภูมิ ซึ่งพิจารณาจากขอมูล การขึ้นทะเบียนหนวยบริการปฐมภูมิที่สวนใหญในสวนใหญ ผานแบบมีเงื่อนไข และเงื่อนไขสําคัญคือ เกณฑดานบุคลากร ที่สําคัญมีการขาดแคลนทั้งหนวยบริการที่เปนแมขายและหนวยบริการปฐม ภูมิในเครือขาย ดังนั้นหนวยงานในระดับอําเภอ เชน โรงพยาบาล ชุมชนมีการสนับสนุนวัสดุอุปกรณในกิจกรรม บริการตามโครงการนํารอง อยางชัดเจน ในลักษณะทีมงาน หรือหนวยปฏิบัติการเคลื่อนที่ มีการจัดการดวยระบบ Logistic เปนตน 3) การสนับสนุนดานวิชาการ และเทคโนโลยี ทุกอําเภอ ทุกจังหวัดยังไมมีการสรางระบบฐานขอมูลที่ใช สําหรับการรายงานหรือจัดเก็บขอมูลการดําเนินงานDHS เปนการโดยเฉพาะ บางพื้นที่ไดประยุกตใชทรัพยากรที่มี อยู และสื่อตางๆ เชน Facebook , e-mail, conference, Line ในการพัฒนาระบบรายงาน DHS แตเมื่อพิจารณา ในระดับอําเภอจะพบความหลากหลายในการประยุกตใชเทคโนโลยีสมัยใหม และเทคโนโลยีจากภูมิปญญาชาวบาน เพื่อนํามาปรับใชใหเอื้อตอการดําเนินงานบริการในพื้นที่ เชน การใชอุปกรณ IT ในการถายภาพเทา บาดแผลผูปวย เบาหวาน ที่อยูในชุมชนหางไกล แลวสงผานระบบอินเทอรเน็ต Facebook , Skype, Line, e-mail, conference, ๖ Lesson Learned and Development of District Health System Project | [ Phase1] ๖
  • 6. Tele Med Web app เพื่อขอรับคําปรึกษาจากแพทย การ ประยุกตใชคูปองสีในการดูแลผูปวยเบาหวานแตละกลุม การใชสื่อมวลชนผานระบบวิทยุชุมชน เคเบิลทีวี เสียงตามสายของทองถิ่นในการประชาสัมพันธงาน การรณรงค เปนตน 4.5 ระบบและกลไกขับเคลื่อนการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิ ความคิดเห็นของผูบริหารหนวยงาน สาธารณสุขระดับอําเภอ ระดับตําบล และผูที่เกี่ยวของ กับการดําเนินงานระบบสุขภาพอําเภอ (รสอ.) ใน ประเด็นเกี่ยวกับรูปแบบการขับเคลื่อนนโยบายการ ใช Six building blocks ในการทํา Service Plan สู การปฏิบัติ สวนใหญขับเคลื่อนผานการบริหารงานใน รูปแบบ คณะกรรมการ คปสอ. รอยละ 87.9 ใกลเคียง กับการใชรูปแบบคณะกรรมการระบบสุขภาพ อําเภอ (DHS) รอยละ 87.7 และรองลงมาคือใชการ ขับเคลื่อนผานรูปแบบของทีมหมอครอบครัว (FCT) รอย ละ 76.8 แตเมื่อพิจารณารูปแบบที่นําสูการปฏิบัติจริง ในระดับพื้นที่ไดดีที่สุด คือ คณะกรรมการ คปสอ. รอยละ 49.5 รองลงมา กรรมการระบบสุขภาพอําเภอ (DHS) รอย ละ 26.0 และคณะกรรมการ CUP Board รอยละ 5.9 ตามลําดับ กลไกขับเคลื่อนการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิพื้นที่อําเภอ ตําบล ไดนํามาประยุกตใช ประกอบดวย 1) กลไกที่มีอยูเดิม คือ การนิเทศงานระดับเขต จังหวัด อําเภอ การประเมิน HA / PCA /เภอควบคุมโรคเขมแข็ง 2) กลไกขับเคลื่อนหลักคือ การเยี่ยมชื่นชมดวยวิธีการ AI ตาม DHS – PCA / QOF survey /คปสอ.ติดดาว/ SRRT/ QRTที่มีทักษะการเปนโคช ความรูความเขาใจในเกณฑมาตรฐานการประเมิน 3) กลไกขับเคลื่อนเสริม คือการใช กระบวนการ PILA / R2R / ศูนย COC / Home health Care/ CBL / SRM / ธรรมนูญสุขภาพหรือชัญชีสุขภาพอําเภอ /มีระบบ “แกหลา” เพื่อจัดการสุขภาพตนเองของชุมชน มี กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับทองถิ่น หรือพื้นที่ เปน ตน ทําใหเกิดรูปแบบการขั บเคลื่อนที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ เชน เกิดเปนสภาสุขภาพอําเภอ / SHA-CUP / Bird Project / ลําสนธิ Model / สารภี Model / คลินิกชุมชนอบอุน ในเขตเมือง เปนตน โดยสรุปแลวรูปแบบ การบริหาร เพื่อขับเคลื่อน เครือขายสุขภาพอําเภอ ที่มีทั้งสาธารณสุขอําเภอ ผูอํานวยการโรงพยาบาล ผูแทนจากโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล องคกรปกครองสวนทองถิ่น และภาคประชาชน เขามารวมเปนคณะกรรมการบริหารเครือขาย นั้น ยังเปนลักษณะการดําเนินงาน แบบไมเปนทางการ ไมมีอํานาจเชิง การบริหารที่ชัดเจน ขึ้นกับขอตกลงในแตละพื้นที่ สถานการณปจจุบัน แตละพื้นที่ยังมีความแตกตางในเชิงการจัดการ รวมกัน ทั้งที่เขมแข็งและทั้งที่ยังไดรับความรวมมือนอย ยังไมเปนเอกภาพ ๗ Lesson Learned and Development of District Health System Project | [ Phase1] ๗
  • 7. 4.6 ผลการดําเนินงานตาม UCCARE ความคิดเห็นตอ ผลการดําเนินงานตามกระบวนการ DHS โดยจําแนก ตาม UCCARE โดยรวมอยูใน ระดับมาก รอยละ 56.9 มีคาเฉลี่ยผลการดําเนินงานตามUCCARE เทากับ 29.96±6.82 บุคลากรในพื้นที่รับผิดชอบ ของสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ เขต 6 ระยอง มีความคิดเห็นวาผลการดําเนินงานตาม UCCARE อยูใน ระดับมากที่สุด คิดเปน รอยละ 75.6 รองลงมา คือ สปสช.เขต 12 สงขลา เขต 5 ราชบุรี เขต 1 เชียงใหม ในอัตรา รอยละ 75.0, 73.3 และ 72.5 ตามลําดับ กิจกรรมที่สะทอน UCCARE ในพื้นที่ ไดแก การประชุมทีมแกนนําอยาง นอย 3 เดือน/ครั้ง มีกระบวนการคืนขอมูลสูชุมชนสรางการรับรูและตระหนัก กระตุนการสรางเครือขายดูแลตนเอง การแลกเปลี่ยนเรียนรูอยางชื่นชม และการจัดอบรม อสม. ในการดูแลผูปวยเพื่อใหเกิด Essentials care ในสัดสวน 1: 2 เปนตน ขอคิดเห็นที่สําคัญ คือ เมื่อทําDHS แลวงานบริการในระดับปฐมภู มิจะมากขึ้นโดยเฉพาะการสงเสริม ปองกัน ฟนฟู ซึ่งแปรผกผันกับจํานวนบุคลากรซึ่งดานนี้มีนอยเมื่อเที ยบกับกลุมเปาหมายที่รับผิดชอบ จึงกระทบกับ งานอื่น ๆ ควรปฎิบัติรวมกันอยางตอเนื่อง 4.7 Family Care Team; FCT ความหวังรับตอไมสุดทายสูประชาชน ผลการวิเคราะหขอมูลความคิดเห็นตอนโยบายการขับเคลื่อนระบบสุขภาพระดับอําเภอ โดยผาน รูปแบบหรือระบบการสนับ สนุนกําลังคน ในลักษณะทีมหมอประจําครอบครัวของภาครัฐในชวงที่ผาน มา พบวา บุคลากรสาธารณสุขมองวาเกิดการดําเนินงานอยูในระดับนอย รอยละ 51.0 ใกลเคียงกับความคิดเห็นใน กลุมระดับมากรอยละ 49.0 โดยมีคาเฉลี่ยของผลการดําเนินงาน Family Care Team เทากับ 16.50±3.51 โดย ประเด็นเกี่ยวกับวาในปจจุบันอําเภอมีวิธีและชองทางการสื่อสารเพื่อใหการปรึกษาประสานการรับสงตอผูปวยอยางมี ประสิทธิภาพ มีคาเฉลี่ย 3.41±0.79 รองลงมาคือ ภายในอําเภอมีโครงสราง และองคประกอบของทีมหมอครอบครัว ที่หลากหลายสาขาและกระจายดูแลครอบคลุมตามพื้นที่ (catchment area) มีคาเฉลี่ย 3.35±0.90 อําเภอมีระบบ ขอมูลและใชประโยชนขอมูลรวมกันระหวางทีมหมอครอบครัวระดับอําเภอและระดับตําบลไดดี มี คาเฉลี่ย 3.27±0.76 การมีทีมหมอครอบครัวทําใหอําเภอเกิดการเชื่อมโยงการทํางานจากนโยบายสูการปฏิบัติใน พื้นที่ และเห็นผลชัดเจน มีคาเฉลี่ย 3.23±0.80 และทีมหมอครอบครัวระดับอําเภอมีบทบาทบริการดูแลใหคําปรึกษา และรับสงตอรวมทั้งพัฒนาศักยภาพทีมหมอครอบครัวระดับตําบล มีคาเฉลี่ย 3.21±0.78 ตามลําดับ 4.8 ผลลัพธที่พึงประสงคและผลขางเคียงที่พึงพิจารณาของการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิ ผลของขอมูลการบรรลุเปาหมายและผลลัพธ (Overall Goals/Outcome) พบวา บุคลากรสาธารณสุข ปฏิบัติงานตามนโยบายโดยการใชระบบสุขภาพอําเภอ (DHS) และทีมหมอครอบครัว (FCT) ขับเคลื่อนนโยบายตาม กรอบ Six building blocks ในการทํา Service Plan เพื่อบรรลุเปาหมายและผลลัพธลงสูการปฏิบัติ จริงในระดับ อําเภอ ตําบล จากการพิจารณารายขอ พบวา สวนใหญอยูในระดับมาก และมีขอคําถามที่กลุมตัวอยางตอบมากที่สุด ๘ Lesson Learned and Development of District Health System Project | [ Phase1] ๘
  • 8. และมีคะแนนเฉลี่ยมากทีสุด 5 อันดับ คือ การมีระบบ DHS และ FCT สามารถปองกันความเสี่ยงทางสังคมที่จะเกิด ตอผูปวย เชน การไมสรางตราบาปใหผูปวยการโอบอุมผูดอยโอกาส เปนตน มีคาเฉลี่ย 3.57±1.76 รองลงมาคือการมี ระบบ DHS และ FCT สามารถลดความเดือดรอนดานคาใชจายในการรับบริการแกผูปวยได มีคาเฉลี่ย 3.56±0.73 ทํา ใหเกิดบริการที่ตอบสนองตอความตองการของผูรับบริการ มีคาเฉลี่ย 3.54±0.77 เกิดบริการที่เปนธรรมตอประชาชน ผูดอยโอกาส มีคาเฉลี่ย 3.50±0.78 ทําใหประชาชนโดยเฉพาะกลุมดอยโอกาสตางๆ สามารถเขาถึงบริการสุขภาพ (Access) มีคาเฉลี่ย 3.48±0.74 ตามลําดับ สวนประเด็นที่มีคาเฉลี่ยนอย คือ ความสามารถลดปริมาณการใชบริการ ทางแพทยนอกระบบ(Non Medical Care) ของผูปวย มีคาเฉลี่ย 3.23±0.74 4.9 ปจจัยที่มีความสัมพันธกับผลลัพธที่พึงประสงคและผลขางเคียงที่พึงพิจารณาของการพัฒนาระบบ สุขภาพปฐมภูมิ คือ อายุ อายุราชการ คณะกรรมการ (DHS) การรับรูและตอบสนองนโยบาย ผลการดําเนินงาน ตาม UCCARE ผลการดําเนินงาน Family Care Team กระบวนการขับเคลื่อนนโยบาย พบวาตัวแปรตนที่มี ความสัมพันธกับการบรรลุเปาหมายและผลลัพธ(Overall Goals/Outcome) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4.10 ปจจัยที่มีผลตอผลลัพธที่พึงประสงค และผลขางเคียงที่พึงพิจารณาของการพัฒนา ระบบสุขภาพ ปฐมภูมิ คือ 1) การรับรูและตอบสนองนโยบาย 2) การใชกระบวนการขับเคลื่อนนโยบาย 3) การดําเนินงานตาม UCCARE และ 4) การดําเนินงาน Family Care Team ตัวแปรทั้งสี่แตละปจจัย สงผลทางบวกตอผลลัพธ (Outcome) มีคาเทากับ 0.192, 0.222, 0.933 และ 0.928 ตามลําดับ ภาพที่ 2 จํานวน รอยละ ความคิดเห็นของผูบริหารสาธารณสุขตอการดําเนินงาน DHS ๙ Lesson Learned and Development of District Health System Project | [ Phase1] ๙
  • 9. ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ เมื่อใชผลลัพธ (Outcome) เปนตัวเกณฑ ตัวแปรพยากรณ b SEb Beta t การรับรูตอนโยบายและสนับสนุนตามปจจัยนําเขา Building Block ทั้ง 6 .219 3.192 .222 2.750* กระบวนการขับเคลื่อนนโยบายดวย DHS .466 .222 .928 32.559* ผลการดําเนินงานตาม UCCARE .403 .933 .910 31.551** ผลการดําเนินงาน Family Care Team .782 .928 .932 32.887** R = .923; R2 = .852; SE = 2.60370; a = 3.23 (* p< 0.05; **p< 0.0001) ทั้งนี้พบวาผลการดําเนินงาน Family Care Team สงผลทางบวกตอผลลัพธในก ารปฏิบัติงานสูงสุด รองลงมาคือการมี UCCARE โดยตัวแปรพยากรณทั้งสี่ตัว สามารถ รวมกันพยากรณผลลัพธ(Outcome) ไดรอยละ 85.2 (R2 = .852) และมีความคลาดเคลื่อนในการพยากรณ 2.603 ดังนั้น สมการพยากรณความสําเร็จในการปฏิบัติงาน โดยใชคะแนนมาตรฐาน สามารถเขียนไดดังนี้ Z'(outcome) = 0.222 (ปจจัยนําเขาตาม Building Block ทั้ง 6) +0.928 (กระบวนการ ขับเคลื่อน;DHS)+ 0.910(การเกิดมี UCCARE) + 0.932 (Family care team) 5. ขอพิจารณาและขอเสนอแนะเชิงนโยบาย (1) สืบเนื่องจากการดําเนินงานตามระบบ Family care team (FCT) สงผลทางบวกตอผลลัพธในการ ปฏิบัติงานสูงสุด รอยละ 93.2 ดังนั้นควรสนับสนุนการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิ ดวยการสรางทีม หมอครอบครัวใหครอบคลุม มีศักยภาพ โดยการเสริมพลังจากการบริหารจัดการของ คณะกรรมการสุขภาพอําเภอ (รสอ.) แบบไรรอยตอ ใหสามารถบูรณาการใชทรัพยากร และกระจายการสนับสนุนปจจัยนําเขาสําคัญสูระบบตาม Building Block ทั้ง 6 เพื่อสรางสุขภาวะแกประชาชนตามบริบทพื้นที่ (2) การกําหนดนโยบายใดๆเกี่ยวกับการพัฒนาเครือขายหรื อบริการสุขภาพ ของหนวยงานระดับพื้นที่ หนวยงานสวนกลาง หรือระดับชาติ ควรพิจารณาถึงความสอดคลองและการสงเสริมเพื่อ สานตอตนทุนบริบทในแต ละพื้นที่ ประกอบดวย การมีวัฒนธรรมการทํางานในพื้นที่ (Civil Culture Base) วัฒนธรรมองคกรที่มีมากอน (Organization) การมีเครือขาย (Network) ของทีมงานหือกลุมบุคคล(Team Work) ที่รวมกันรวมดําเนินการแกไข ปญหาในพื้นที่มานาน อันอุดมดวยประสบการณทํางาน(Experience) ที่ไดแลกเปลี่ยนเรียนรู กอปรกับการเชื่อมโยง (Connection) ดวยปฏิสัมพันธกับชุมชน ผานกระบวนการหรือเทคนิค (Technique) วิชาการแนวใหม เพื่อใหการ ๑๐ Lesson Learned and Development of District Health System Project | [ Phase1] ๑๐
  • 10. พัฒนาเครือขายหรืการสุขภาพมีความตอเนื่อง ยั่ งยืน ยกระดับจากพื้นที่รากฐานเปนการดําเนินงานที่เปนสาธารณะ ในที่สุด (3) การกําหนดนโยบาย เพื่อการสนับสนุนงานในพื้นที่ ควรพิจารณา ในเชิงยุทธศาสตรการเสริมแรง ดานโครงสราง(Structure) และบทบาทหนาที่ของกรรมการในพื้นที่ สงเสริมการรับรู (Perception) ตอนโยบาย และปญหาสังคม (Perception of Social Problem) เพื่อใหเกิดการตอบสนอง(Responsiveness) และการ สนับสนุน (Supporting) อยางมีสวนรวมจากภาคีเครือขายในพื้นที่ (4) การกําหนดนโยบายดานการติดตาม การประเมินผลงานของหนวยงานระดับกระทรวง กรม จังหวัด เพื่อวัดผลหรือประเมินความสําเร็จของหนวยงานระดับพื้นที่ ควรบูรณาการหลักเกณฑ ตัวชี้วัด (KPI) ในลักษณะ รวมกันเปน UNIQUE กลาวคือ หลักเกณฑ ที่ใชตรวจ ประเมิน ผลงาน พื้นที่ควรเปนเกณฑที่ เขาใจรวมโดยงาย (Understanding) เปนผลสัมฤทธิ์รวมของเครือขาย (Network) จากการผสมผสาน(Integrate) กิจกรรมบริการที่ตรง ตอปญหา (Quick) ของชุมชน (Essential care) เกิดอรรถประโยชน(Utility) ดานสุขภาพ และทําสําคัญกระบวนการ ตรวจประเมินงานตามนโยบายควรนํามาซึ่งขวัญกําลังใจ (Empowerment) เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู เกิดคุณคา และการยกยองชื่นชม(Appreciation) (5) การสนับสนุนดานกําลังคนสุขภาพ ควรมีหนวยงานที่มีความรับผิดชอบโดยตรงเพื่อประสานงาน ใหเกิด ความสอดคลองของนโยบายหลายๆ ดาน ที่สงผลกระทบตอกําลังคน โดยมีการวางนโยบายกําลังคนรวมกัน เปดให พื้นที่มีสวนรวมในการวางแผน ผลิต พัฒนา จัดระบบการจางงาน ระบบการสรางขวัญกําลังใจ มีหนวยงานหรือ เครือขายมารวมรับผิดชอบสรางการเรียนรูของผูปฏิบัติอยางตอเนื่อง (6) ควรสนับสนุนงบประมาณ บุคลากรที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ และ เสริมสรางแรงจูงใจการทํางานใน ระดับปฐมภูมิ ทั้งนี้เนื่องจากสัดสวนลักษณะการทํางานของเจาหนาที่ที่ปฏิบัติงานในหนวยบริการปฐมภูมิ มีแนวโนม ดูแลงานรักษาพยาบาลผูปวยเรื้อรังมากขึ้นจากนโยบายสงตอผูปวยรับบริการที่ รพ.สต. แตสวนทางกับการสนับสนุน ดานงบประมาณ การสนับสนุนกําลังพลลงสู รพ .สต. โดยเฉพาะอยางยิ่ง รพ .สต.หางไกล มีผูขึ้นทะเบียนบั ตร ประกันสุขภาพจํานวนนอย มีความขัดสนทั้งงบประมาณ บางครั้งตองบิดการใชงบประมาณจากหมวดอื่น เชน นํา งบประมาณหมวดสงเสริมสุขภาพ มาเปนคาสาธารณูปโภค เสี่ยงตอการกระทําผิดระเบียบ เสี่ยงตอการคงอยูของ บุคลากร โดยเฉพาะกลุมพยาบาลวิชาชีพที่ลาออกในอัตราที่สูง (7) ควรหนุนเสริมการถายทอดเทคโนโลยี ระหวางพื้นที่ ที่ดําเนินการไดดี โดยการสนับสนุนภาคสวนที่ เกี่ยวของมีการพัฒนาหลักสูตรบุคลากรใหสอดคลองการตองการ ใชของพื้นที่ การผลิตและพัฒนา กําลังคนที่ไม ซับซอน มาทดแทน มีการดึงการมีสวนรวมของภาคเอกชน ชุมชน ทองถิ่นเขามารวมดูแลปญหากําลังคน ๑๑ Lesson Learned and Development of District Health System Project | [ Phase1] ๑๑
  • 11. (8) ควรใชโอกาสในความตองการ และยังมีสวนขาดที่เติมไมเต็มของ บริการปฐมภูมิ ใหเกิดขึ้นในหมู ประชาชน มีการศึกษาหาคําตอบในการสรางบริการที่มีเอกลักษณเพิ่มชองทาง วิธีสื่อสาร เนื้อหาในการสื่อเนนการ สรางคุณคา ของงานของผูใหบริการ ซึ่งปจจุบันไดสรางภาพใหมที่ทีมหมอครอบครัว แทนคําวาบริการปฐมภูมิ ซึ่งควร ติดตาม ประเมินผลอยางตอเนื่อง ๑๒ Lesson Learned and Development of District Health System Project | [ Phase1] ๑๒