SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 10
Baixar para ler offline
วิทยาศาสตร์
ประวัติศาสตร์ของวิทยาศาสตร์ 
โดยทั่วไปเราถือกันว่า วิทยาศาสตร์สมัยใหม่ เริ่มต้นในยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ โดยมี "บิดาแห่ง วิทยาศาสตร์สมัยใหม่" คือกาลิเลโอ กาลิเลอี เป็นผู้ถอนรื้อและปรับปรุงแนวความคิดเกี่ยวกับ วิทยาศาสตร์สมัยเก่า ที่ยึดกับแนวความคิดของอริสโตเติลทิ้งไป 
ณ ขณะนั้น กาลิเลโอได้กาหนดลักษณะสาคัญของวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ไว้ดังนี้ 
ทานายสิ่งที่เกิดขึ้นในปรากฏการณ์ธรรมชาติได้ โดยที่ไม่จาเป็นต้องอธิบายสาเหตุได้ เช่น ในขณะที่ยัง ไม่มีความรู้เรื่องแรงโน้มถ่วงนั้น กาลิเลโอไม่สนใจที่จะอธิบายว่า "ทาไมวัตถุถึงตกลงสู่พื้นดิน ?“ 
แต่สนใจคาถามที่ว่า "เมื่อมันตกแล้ว มันจะถึงพื้นภายในเวลาเท่าใด ?" 
ใช้คณิตศาสตร์เพื่อเป็นภาษาหลักของวิทยาศาสตร์ (ดูหัวข้อ คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์) 
ในเวลาต่อมา ไอแซค นิวตันได้ต่อเติมรากฐานและระบบระเบียบของแนวคิดเหล่านี้ และเป็นต้นแบบ สาหรับสาขาด้านอื่นๆ ของวิทยาศาสตร์ก่อนหน้านั้น,
โมเดล ทฤษฎีและกฎทางวิทยาศาสตร์ โมเดลอะตอมของบอห์ร เป็นหนึ่งในโมเดลทางวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงมาก ได้ผ่านกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์เพื่อทดสอบความถูกต้องหลายต่อหลายครั้ง ดังจะเห็นได้จากการถูกเสนอขึ้นเป็นโมเดลที่ แท้จริงของอะตอมเนื่องจากอธิบายปรากฏการณ์เส้นสเปกตรัมของไฮโดรเจนได้ และในเวลาต่อมาก็ถูก คัดค้านเนื่องจากอธิบายปรากฏการณ์อื่นๆ อีกหลายอย่างไม่ได้ คาว่า "โมเดล", "สมมติฐาน", "ทฤษฎี", และ"กฎทางกายภาพ"มีความหมายในทางวิทยาศาสตร์ไม่ เหมือนกับที่ใช้กันทั่วไป นักวิทยาศาสตร์ใช้คาว่า โมเดล เพื่อหมายถึงคาอธิบายปรากฏการณ์บางอย่าง ที่ สามารถนาไปใช้สร้างคาทานายซึ่งตรวจสอบความถูกต้องได้ด้วย การทดลองหรือการสังเกต ในขณะ ที่ สมมติฐาน คือความเชื่อที่ยังไม่ได้รับการสนับสนุนที่มากพอ และยังไม่ถูกพิสูจน์ว่าผิดพลาดด้วยการ ทดลอง ส่วน กฎทางกายภาพ หรือ กฎธรรมชาติ นั้น คือคาอธิบายทางวิทยาศาสตร์ที่มีนัยทั่วไป ที่ วางรากฐานอยู่บนผลของการสังเกตเชิงประจักษ์
ปรัชญาวิทยาศาสตร์ 
ความสาเร็จอันยิ่งใหญ่ของวิทยาศาสตร์ในประวัติศาสตร์มนุษย์ 
ได้สร้างประเด็นคาถามทางปรัชญาไว้มากมาย. 
โดยนักปรัชญาวิทยาศาสตร์ได้ตั้งคาถามทางปรัชญาที่สาคัญดังนี้ 
สิ่งใดเป็นตัวแบ่งแยกความรู้ทางวิทยาศาสตร์กับความรู้ประเภทอื่นๆ เช่น โหราศาสตร์ 
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นความจริงหรือไม่ 
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เชื่อถือได้แค่ไหน 
วิทยาศาสตร์มีประโยชน์จริงๆ หรือไม่ 
ศีลธรรมของวิทยาศาสตร์ที่เหมาะสม คือรูปแบบใด 
ประเด็นเหล่านี้ยังเป็นที่ถกเถียงในหมู่นักปรัชญาวิทยาศาสตร์อย่างมากในปัจจุบัน 
และไม่มีความเห็นใดที่ได้รับการยอมรับทั่วไป
สาขาของวิทยาศาสตร์ มี 4 สาขา ได้แก่ 
1.ฟิกสิกส์ 
2.เคมี 
3.โลกดาราศาสตร์ 
4.ชีววิทยา
เคมีวิเคราะห์ (Analytical chemistry) 
ชีวเคมี (Biochemistry) 
เคมีการคานวณ 
(Computational chemistry) 
เคมีไฟฟ้า(Electrochemistry) เคมีอนินทรีย์ (Inorganic chemistry) 
วัสดุศาสตร์(Materials science) 
เคมีอินทรีย์ (Organic chemistry) 
เคมีฟิสิกส์(Physical chemistry) เคมีควอนตัม (Quantum chemistry) 
สเปกโตรสโคปี(Spectroscopy) สเตอริโอเคมิสตรี(Stereochemistry) 
เคมีความร้อน (Thermochemistry) 
เคมี
ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี(en: theoretical physics) 
ฟิสิกส์เชิงคานวณ 
สวนศาสตร์ (Acoustics) 
ดาราศาสตร์ (Astronomy) ฟิสิกส์ดาราศาสตร์ (Astrophysics) 
ชีวฟิสิกส์ (Biophysics) 
จักรวาลวิทยา (Cosmology) 
อติสีตศาสตร์ (Cryogenics) 
พลศาสตร์ (Dynamics) 
พลศาสตร์ของไหล(Fluid dynamics) 
กลศาสตร์(Mechanics) นิวเคลียร์ฟิสิกส์ (Nuclear physics) 
ทัศนศาสตร์ (Optics) 
พลาสมาฟิสิกส์ 
พอลิเมอร์ฟิสิกส์ 
Vehicle dynamics 
ฟิสิกส์
ภูมิมาตรศาสตร์ (Geodesy) 
ภูมิศาสตร์(Geography) 
ธรณีวิทยา(Geology) อุตุนิยมวิทยา (Meteorology) 
สมุทรศาสตร์ (Oceanography) บรรพชีวินวิทยา(Paleontology) 
ชลธารวิทยา(Limnology) วิทยาแผ่นดินไหว (Seismology) 
วิทยาศาสตร์โลก
กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) 
ชีววิทยาดาราศาสตร์ (Astrobiology) 
ชีวเคมี (Biochemistry) 
ชีวสารสนเทศศาสตร์ (Bioinformatics) 
ชีวฟิสิกส์ (Biophysics) 
พฤกษศาสตร์ (Botany) 
ชีววิทยาของเซลล์(Cell biology 
วิทยาเซลล์ (Cytology) 
นิเวศวิทยา (Ecology) 
กีฏวิทยา (Entomology) 
วิทยาการระบาด (Epidemiology) 
พันธุศาสตร์ (Genetics) (Population genetics), 
มิญชวิทยา (Histology) 
วิทยาภูมิคุ้มกัน (Immunology 
จุลชีววิทยา (Microbiology) 
อณูชีววิทยา (Molecular Biology) 
สัณฐานวิทยา(Morphology) 
ประสาทวิทยาศาสตร์ (Neuroscience) 
พัฒนาการของพื 
วิวัฒนาการชาติพันธุ์ 
สรีรวิทยา (Physiology) 
อนุกรมวิธาน (Taxonomy) 
พิษวิทยา (Toxicology) 
วิทยาไวรัส (Virology) 
สัตววิทยา(Zoology) 
ชีววิทยา
วิทยาศาสตร์ วิทย์

Mais conteúdo relacionado

Destaque

เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตพัน พัน
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์dnavaroj
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 

Destaque (6)

เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 

วิทยาศาสตร์ วิทย์

  • 2. ประวัติศาสตร์ของวิทยาศาสตร์ โดยทั่วไปเราถือกันว่า วิทยาศาสตร์สมัยใหม่ เริ่มต้นในยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ โดยมี "บิดาแห่ง วิทยาศาสตร์สมัยใหม่" คือกาลิเลโอ กาลิเลอี เป็นผู้ถอนรื้อและปรับปรุงแนวความคิดเกี่ยวกับ วิทยาศาสตร์สมัยเก่า ที่ยึดกับแนวความคิดของอริสโตเติลทิ้งไป ณ ขณะนั้น กาลิเลโอได้กาหนดลักษณะสาคัญของวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ไว้ดังนี้ ทานายสิ่งที่เกิดขึ้นในปรากฏการณ์ธรรมชาติได้ โดยที่ไม่จาเป็นต้องอธิบายสาเหตุได้ เช่น ในขณะที่ยัง ไม่มีความรู้เรื่องแรงโน้มถ่วงนั้น กาลิเลโอไม่สนใจที่จะอธิบายว่า "ทาไมวัตถุถึงตกลงสู่พื้นดิน ?“ แต่สนใจคาถามที่ว่า "เมื่อมันตกแล้ว มันจะถึงพื้นภายในเวลาเท่าใด ?" ใช้คณิตศาสตร์เพื่อเป็นภาษาหลักของวิทยาศาสตร์ (ดูหัวข้อ คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์) ในเวลาต่อมา ไอแซค นิวตันได้ต่อเติมรากฐานและระบบระเบียบของแนวคิดเหล่านี้ และเป็นต้นแบบ สาหรับสาขาด้านอื่นๆ ของวิทยาศาสตร์ก่อนหน้านั้น,
  • 3. โมเดล ทฤษฎีและกฎทางวิทยาศาสตร์ โมเดลอะตอมของบอห์ร เป็นหนึ่งในโมเดลทางวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงมาก ได้ผ่านกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์เพื่อทดสอบความถูกต้องหลายต่อหลายครั้ง ดังจะเห็นได้จากการถูกเสนอขึ้นเป็นโมเดลที่ แท้จริงของอะตอมเนื่องจากอธิบายปรากฏการณ์เส้นสเปกตรัมของไฮโดรเจนได้ และในเวลาต่อมาก็ถูก คัดค้านเนื่องจากอธิบายปรากฏการณ์อื่นๆ อีกหลายอย่างไม่ได้ คาว่า "โมเดล", "สมมติฐาน", "ทฤษฎี", และ"กฎทางกายภาพ"มีความหมายในทางวิทยาศาสตร์ไม่ เหมือนกับที่ใช้กันทั่วไป นักวิทยาศาสตร์ใช้คาว่า โมเดล เพื่อหมายถึงคาอธิบายปรากฏการณ์บางอย่าง ที่ สามารถนาไปใช้สร้างคาทานายซึ่งตรวจสอบความถูกต้องได้ด้วย การทดลองหรือการสังเกต ในขณะ ที่ สมมติฐาน คือความเชื่อที่ยังไม่ได้รับการสนับสนุนที่มากพอ และยังไม่ถูกพิสูจน์ว่าผิดพลาดด้วยการ ทดลอง ส่วน กฎทางกายภาพ หรือ กฎธรรมชาติ นั้น คือคาอธิบายทางวิทยาศาสตร์ที่มีนัยทั่วไป ที่ วางรากฐานอยู่บนผลของการสังเกตเชิงประจักษ์
  • 4. ปรัชญาวิทยาศาสตร์ ความสาเร็จอันยิ่งใหญ่ของวิทยาศาสตร์ในประวัติศาสตร์มนุษย์ ได้สร้างประเด็นคาถามทางปรัชญาไว้มากมาย. โดยนักปรัชญาวิทยาศาสตร์ได้ตั้งคาถามทางปรัชญาที่สาคัญดังนี้ สิ่งใดเป็นตัวแบ่งแยกความรู้ทางวิทยาศาสตร์กับความรู้ประเภทอื่นๆ เช่น โหราศาสตร์ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นความจริงหรือไม่ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เชื่อถือได้แค่ไหน วิทยาศาสตร์มีประโยชน์จริงๆ หรือไม่ ศีลธรรมของวิทยาศาสตร์ที่เหมาะสม คือรูปแบบใด ประเด็นเหล่านี้ยังเป็นที่ถกเถียงในหมู่นักปรัชญาวิทยาศาสตร์อย่างมากในปัจจุบัน และไม่มีความเห็นใดที่ได้รับการยอมรับทั่วไป
  • 5. สาขาของวิทยาศาสตร์ มี 4 สาขา ได้แก่ 1.ฟิกสิกส์ 2.เคมี 3.โลกดาราศาสตร์ 4.ชีววิทยา
  • 6. เคมีวิเคราะห์ (Analytical chemistry) ชีวเคมี (Biochemistry) เคมีการคานวณ (Computational chemistry) เคมีไฟฟ้า(Electrochemistry) เคมีอนินทรีย์ (Inorganic chemistry) วัสดุศาสตร์(Materials science) เคมีอินทรีย์ (Organic chemistry) เคมีฟิสิกส์(Physical chemistry) เคมีควอนตัม (Quantum chemistry) สเปกโตรสโคปี(Spectroscopy) สเตอริโอเคมิสตรี(Stereochemistry) เคมีความร้อน (Thermochemistry) เคมี
  • 7. ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี(en: theoretical physics) ฟิสิกส์เชิงคานวณ สวนศาสตร์ (Acoustics) ดาราศาสตร์ (Astronomy) ฟิสิกส์ดาราศาสตร์ (Astrophysics) ชีวฟิสิกส์ (Biophysics) จักรวาลวิทยา (Cosmology) อติสีตศาสตร์ (Cryogenics) พลศาสตร์ (Dynamics) พลศาสตร์ของไหล(Fluid dynamics) กลศาสตร์(Mechanics) นิวเคลียร์ฟิสิกส์ (Nuclear physics) ทัศนศาสตร์ (Optics) พลาสมาฟิสิกส์ พอลิเมอร์ฟิสิกส์ Vehicle dynamics ฟิสิกส์
  • 8. ภูมิมาตรศาสตร์ (Geodesy) ภูมิศาสตร์(Geography) ธรณีวิทยา(Geology) อุตุนิยมวิทยา (Meteorology) สมุทรศาสตร์ (Oceanography) บรรพชีวินวิทยา(Paleontology) ชลธารวิทยา(Limnology) วิทยาแผ่นดินไหว (Seismology) วิทยาศาสตร์โลก
  • 9. กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) ชีววิทยาดาราศาสตร์ (Astrobiology) ชีวเคมี (Biochemistry) ชีวสารสนเทศศาสตร์ (Bioinformatics) ชีวฟิสิกส์ (Biophysics) พฤกษศาสตร์ (Botany) ชีววิทยาของเซลล์(Cell biology วิทยาเซลล์ (Cytology) นิเวศวิทยา (Ecology) กีฏวิทยา (Entomology) วิทยาการระบาด (Epidemiology) พันธุศาสตร์ (Genetics) (Population genetics), มิญชวิทยา (Histology) วิทยาภูมิคุ้มกัน (Immunology จุลชีววิทยา (Microbiology) อณูชีววิทยา (Molecular Biology) สัณฐานวิทยา(Morphology) ประสาทวิทยาศาสตร์ (Neuroscience) พัฒนาการของพื วิวัฒนาการชาติพันธุ์ สรีรวิทยา (Physiology) อนุกรมวิธาน (Taxonomy) พิษวิทยา (Toxicology) วิทยาไวรัส (Virology) สัตววิทยา(Zoology) ชีววิทยา