SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 34
Baixar para ler offline
รายการคาถามและข้อเสนอแนะ 
ที่ได้รับจากคณะกรรมการในรอบที่ผ่านมา 
ลาดับ รายการคาถามและข้อเสนอแนะ การดาเนินการแก้ไข ปรับปรุง 
1 หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่น้อมนามาใช้ หากไปไม่ถึง 
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจริงๆ แนะนาให้ตัดออก 
บทนา และความเป็นมา 
2 เนื่องจากเราบอกว่ากลุ่มเป้าหมายหลัก คือ คน ใน มจธ. 
ตลาดอยู่ในมือเรา จึงไม่ต้องไปทุ่มเรื่องการสร้างแบรนด์และ 
บรรจุภัณฑ์ มากนัก 
บทนา และความเป็นมา 
สมมติฐานทางการตลาด 
การนาเสนอกลยุทธ์ทางการตลาด 
วิธีวัดและการประเมินผล 
3 ให้บอกไปเลยว่าเป็น One Market One Product เราจะได้ 
เน้นการขาย โฟกัสใน มจธ. และเครือข่าย ของเราเอง ได้ 
ชัดเจนมากขึน้ 
บทนา และความเป็นมา 
ข้อเสนอแนะ 
4 การสร้างมูลค่าเพิ่ม ควรเพิ่มความชัดเจนเกี่ยวกับ เรื่องราว 
(Story) หรือวิธีการสื่อสารเชื่อมโยงประโยชน์ที่ชาวบ้าน 
บ้านนางอยฯ จะได้รับ ในการกาหนดตาแหน่งของผลิตภัณฑ์ 
(USP.) 
การนาเสนอกลยุทธ์ทางการตลาด 
5 ควรเพิ่มวิธีการจูงใจกลุ่มเป้าหมาย ผ่านสื่อ อาจเป็นรูปแบบ 
การดาเนินชีวิตของคน Green Heart & Healthy เพื่อให้เห็น 
ภาพ และควรมีภาพบ้านนางอยให้เห็นด้วย 
การนาเสนอกลยุทธ์ทางการตลาด 
6 เชิญท่านอาจารย์ศักรินทร์ ภูมิรัตน (ท่านอธิการบดี มจธ.) 
มาเป็นพรีเซ็นเตอร์ให้ผลิตภัณฑ์ 
การนาเสนอกลยุทธ์ทางการตลาด
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 
ทีม ECT ไรซ์สาระ 
แผนธุรกิจ Rice for Life 
หน้า 1 
สารบัญ (Content) 
หน้า 
1.บทนา และความเป็นมา 2 
2.บทสรุปผู้บริหาร (Executive Summary) 4 
3.สมมติฐานในการวางแผนการตลาด (Assumption) 5 
4.แผนการตลาด (Marketing Plan) 5 
4.1 การวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด (Market Analysis) 5 
การวิเคราะห์การตลาดและสภาพแวดล้อม 5 
การแข่งขันและคู่แข่ง 6 
การวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย 6 
การกาหนดกลุ่มเป้าหมาย หรือ ตลาดเป้าหมาย 6 
การกาหนดตาแหน่งผลิตภัณฑ์ 6 
4.2 นาเสนอกลยุทธ์ทางการตลาด (Marketing Strategy) 7 
4.3 พิจารณาโอกาสและความเสี่ยงในธุรกิจ (Opportunities & Threats Analysis) 13 
4.4 พิจารณาจุดแข็งและจุดอ่อน (Strength & Weakness Analysis) 13 
4.5 วิธีวัดและการประเมินผล (Evaluation) 14 
5.แผนการตลาดระยะ 1 ปี 15 
6.บทสรุป (Conclusion) และข้อเสนอแนะ (Recommendations) 18 
7.ข้อสนับสนุนอื่นๆ (Supporting Information & Appendices) 19 
8.เอกสารอ้างอิง 24 
9.บุคคลอ้างอิง 24 
ภาคผนวก
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 
ทีม ECT ไรซ์สาระ 
แผนธุรกิจ Rice for Life 
หน้า 2 
1.บทนา และความเป็นมา 
ประเทศไทย มีสภาพภูมิประเทศที่เหมาะสมกับการเพาะปลูกข้าว ประกอบกับภูมิปัญญาพืน้บ้านมาสู่การเรียนรู้ 
การใช้เทคโนโลยีที่สูงขึน้ จึงทาให้ไทยสามารถผลิตข้าวได้เพียงพอสาหรับการบริโภคภายในประเทศและมีเหลือมากพอ 
ส่งออกไปต่างประเทศจนสามารถครองตาแหน่งผู้ส่งออกข้าวอันดับหนงึ่ของโลกมาเป็นระยะเวลายาวนานกว่า 30 ปี [1] 
ข้าวเป็นหัวใจสาคัญของคนไทยทั่วทั้งประเทศทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และมวลชน 
ข้าวมีความเกี่ยวข้องกับเกษตรกรชาวนากว่า 3.70– 4.15 ล้านครัวเรือน จากเกษตรกรทัง้ประเทศ 5.6 ล้านครัวเรือน หรือ 
คิด เป็น ร้อ ย ล ะ 66 ข อ งค รัว เรือ น เก ษ ต รก รทั้งห ม ด พื้น ที่เพ าะ ป ลูก ข้า วปีล ะป ระม า ณ 56 – 68 ล้าน ไร่ 
หรือร้อยละ 40 ของพืน้ที่ทาการเกษตรทวั่ประเทศ ได้ผลผลิตปีละประมาณ 30.0 – 31.0 ล้านตันข้าวเปลือก มูลค่าปีละ 
ประมาณ 180,000 - 200,000 ล้านบาท ซึ่งเป็นรายได้หลักที่หล่อเลีย้งเกษตรกร ในระดับรากหญ้า และที่สาคัญข้าวเป็น 
พืชที่สร้างความมนั่คงด้านอาหารมิใช่แต่สา หรับชาวไทยแต่ยังมีความสา คัญต่อประชากรโลกด้วย [2] 
ภาคการเกษตรเป็นฐานรายได้หลักและความมั่นคงด้านอาหารของประเทศ ก่อให้เกิดประโยชน์หลายด้าน 
ทัง้แหล่งสร้างงาน แหล่งผลิตอาหาร และเชื่อมโยงวิถีชีวิตของสังคมไทย มีส่วนสาคัญในการลดความยากจน สร้างงาน 
และลดผลกระทบจากภาวะโลกร้อน ชุมชนท้องถิ่นเป็นกลไกที่มีความสามารถ ในการบริหารจัดการ มีส่วนร่วมในการ 
พัฒนาคุณภาพชีวิตและเชื่อมโยงกันเป็นสังคมสวัสดิการ เป็นพลังหลักในการพัฒนาฐานรากของประเทศให้มนั่คง [3] [4] 
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ในฐานะสถาบันอุดมศึกษาของไทย มีความตระหนักต่อ 
กระแสการพัฒนาที่มุ่งการอยู่ร่วมกันของคนในสังคมและสงิ่แวดล้อมโลกเริ่มชัดเจน เป็นเรื่องจาเป็นมากยิ่งขึน้ ดังนัน้การ 
ยึดโยงภาคสังคม (Social Relevance) เป็นหนึ่งนโยบายหนึ่งที่สาคัญ ของ มจธ. ที่การสร้างความรู้ที่เป็นเลิศและพัฒนา 
บัณฑิตที่มีคุณภาพ ต้องนาไปสู่การสร้างคุณค่าให้แก่สังคม (Creating Social Value) จึงมีการดาเนินโครงการ 
มหาวิทยาลัยกับชุมชนและสังคมเป็นกิจกรรม ของมหาวิทยาลัยที่ คณาจารย์ บุคลากรและนักศึกษา ร่วมกันทางานและ 
เรียนรู้ชุมชนและสังคมภายนอกอย่างต่อเนื่อง โดยยึดถือผลลัพธ์ที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อคนในพื้นที่เป็นหลัก 
มีฐานความคิดที่สาคัญ คือให้ประชาคม มจธ. มีสานึกรับผิดชอบในการใช้วิชาการ เพื่อรับใช้และอุ้มชูสังคมไทย [5] 
โดยได้ให้ความร่วมมือกับโครงการหลวง และโครงการตามพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จ 
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยการจัดการด้านความเป็นอยู่ และให้ความรู้ ความเข้าใจ กับชาวบ้าน 
ในชุมชนที่อยู่ในพื้นที่ของโครงการหลวง เพื่อฟื้นฟู และพัฒนาคุณภาพชีวิต ความเป็นอยู่ให้ดีขึน้ สอดคล้องกับ 
แนวพระราชดารัสของทัง้สองพระองค์ ซึ่งมีด้วยกันหลายจังหวัด อาทิ จังหวัดน่าน เชียงใหม่ และลาพูน เป็นต้น 
นอกจากนียั้งมีโครงการมหาวิทยาลัยกับชุมชน ได้จัดสรรบุคลากร และงบประมาณเพื่อพัฒนาชุมชนบริเวณโดยรอบ 
มหาวิทยาลัยฯ ตลอดจนชุมชนอื่นๆ ทวั่ประเทศ เพื่อเป็นการพัฒนา และจัดการคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ให้ดีขึน้ [6] 
รศ.ด ร.ศักรินทร์ ภูมิรัตน อธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี [7] กล่าวว่า 
“ขณะนี้เรากาลังเดินไปสู่สเตปที่สาม คือพยายามช่วยให้เกิดวิสาหกิจชุมชน แต่ปัญหาเราขาดผู้นาชุมชน 
ที่เข้มแข็งพอที่จะพากลุ่มก้าวไปสู่การพัฒนาตัวเองต่อไปได้ การที่จะทาให้ชุมชนก้าวสู่วิสาหกิจชุมชนได้นัน้ไม่มีสูตรสา เร็จ 
ต้องเริ่มจากการทางานแบบเคียงบ่าเคียงไหล่เป็นเพื่อนกับชุมชนและสิ่งที่จะให้ชาวบ้านได้คือเครื่องมือ วิทยาศาสตร์ 
เทคโนโลยี ความรู้และโอกาส วิสาหกิจชุมชนนัน้ ต้องเข้าใจระบบตลาด เข้าใจวิถีการพัฒนา หรือสามารถทางานร่วมกับ 
โรงงานใหญ่ได้อย่างรู้เท่าทัน แต่สิ่งที่เป็นปัญหาสาหรับสังคมไทย คือความสานึกรักบ้านเกิด เราจึงพยายามพัฒนา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 
ทีม ECT ไรซ์สาระ 
แผนธุรกิจ Rice for Life 
เยาวชนรุ่นใหม่ ให้เป็นผู้นาและอยากพัฒนาชุมชนตนเองให้ดีขึน้ แต่สงิ่ที่แสดงชัดเจนว่าที่ผ่านมา เราทาสา เร็จคือ ชาวบ้าน 
ไม่ทงิ้ถิ่นเข้ามาขายแรงงานในเมือง ชาวบ้านมีความรู้ มีอาชีพ มีรายได้ และสงิ่ที่ตามมาคือคุณภาพชีวิตดีขึน้แน่นอน" 
พื้นที่หมู่บ้านนางอย-โพนปลาโหล ตั้งอยู่ในตาบลเต่างอย อาเภอเต่างอย จังหวัดสกลนคร ชาวบ้าน 
มีความเป็นอยู่ที่ต่ากว่ามาตรฐาน มีความขัดสน ขาดแคลนแหล่งนา้ เด็กในหมู่บ้านขาดสารอาหารพระบาทสมเด็จ 
พระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จมายังหมู่บ้าน เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2523และมีพระราชดาริเกี่ยวเนื่องกับการพัฒนา 
บ้านนางอย – โพนปลาโหล โดยให้ปรับปรุงสภาพความเป็นอยู่ของราษฎรในหมู่บ้านดีขึน้ ส่งเสริมให้มีรายได้เพิ่มขึน้ และ 
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้มีพระราชดาริ ในปี พ.ศ. 2529 ให้ใช้โรงงานหลวงเป็นแหล่งให้ 
การศึกษาด้านเทคนิคแก่นักเรียนในพืน้ที่และการให้การศึกษาวิชาชีพระดับสูงแก่ลูกหลานเกษตรกร เพื่อให้สามารถ 
รับผิดชอบโรงงานหลวงได้เพิ่มขึน้จนได้มีการจัดตัง้บริษัทดอยคาผลิตภัณฑ์อาหาร จากัด ม าดูแลโรงงานหลวง 
ในปี พ.ศ. 2537 ทาให้โรงงานหลวงถอยห่างจากชุมชน จนฝ่ายบริหารบริษัทไม่รู้จักชนบท ความสัมพันธ์ระหว่างโรงงาน 
หลวงกับชาวบ้านเปลี่ยนเป็นนายจ้างกับลูกจ้าง เปลี่ยนเป็นผู้ซือ้วัตถุดิบกับผู้ผลิตวัตถุดิบ กิจกรรมด้านการพัฒนาชนบท 
และการส่งเสริมการเกษตรหายไป ใช้คนกลางและอาศัยกลไกตลาด เกิดการแข่งขัน ในระหว่างพ่อค้าคนกลางและระหว่าง 
โรงงาน ทัง้โรงงานและเกษตรกรต่างแบกภาระความเสยี่งเพิ่มขึน้ไม่ใช่หุ้นส่วนและพันธมิตรอีกต่อไป 
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) จึงได้ช่วยให้เกิดการรวมกลุ่มเกษตรกรเป็นวิสาหกิจชุมชน 
เพื่อให้สามารถจัดการทุนของชุมชนได้ด้วยตนเอง รวมทั้งการผลิต การแปรรูปและการจัดจาหน่ายด้วยกลุ่มฯ 
ทัง้นเี้พื่อให้ชุมชนสามารถพงึ่ตนเองได้ การจัดการผลิตข้าวกล้อง จึงดาเนินงานภายใต้ศูนย์การเรียนรู้วิสาหกิจชุมชนอาเภอ 
เต่างอยที่หมู่บ้านนางอย โดยมี มจธ. เป็นที่ปรึกษา [4] และจากการดาเนินงาน ศูนย์การเรียนรู้วิสาหกิจชุมชนอาเภอเต่า 
งอยที่หมู่บ้านนางอยที่ผ่านมา [8] ได้ประสบปัญหาเกี่ยวกับวัตถุดิบข้าวกล้องงอกและสินค้าค้างสต๊อก ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์ 
ข้าวกล้องงอกตกต่าลง เนื่องจากคนในชุมชนยังขาดองค์ความรู้เกี่ยวกับการตลาด และไม่มีการวางแผนการตลาดที่ดี 
ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอกค้างสต๊อก ซึ่งอาจส่งผลให้ข้าวกล้องงอกมีคุณภาพต่าลง 
ด้วยเหตุนี้ คณะผู้จัดทาแผนการตลาดฉบับนี้ จึงต้องการเข้าไปช่วย แก้ปัญหาด้านการตลาด 
โดยได้ใช้ใช้องค์ความรู้ด้านการสอื่สารการตลาดแบบบูรณาการ ในรูปแบบ “หนงึ่ตลาด หนงึ่ผลิตภัณฑ์” ซงึ่สอดคล้องกับ 
บริบทและสภาพปัจจุบันของ ศูนย์การเรียนรู้วิสาหกิจชุมชน ในโครงการพระราชดาริ บ้านนางอย-โพนปลาโหล 
อาเภอเต่างอย จังหวัดสกลนคร เพื่อช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของคนในชุมชน ได้อย่างยงั่ยืน 
หน้า 3 
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ กับ 
นายกวั่ง วิดีสา ชาวบ้านบ้านนางอย 
โครงการพัฒนาตามพระราชดาริ 
อาเภอเต่างอย จังหวัดสกลนคร 
และโรงงานหลวงอาหารสาเร็จรูปที่ 3
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 
ทีม ECT ไรซ์สาระ 
แผนธุรกิจ Rice for Life 
หน้า 4 
2.บทสรุปผู้บริหาร (Executive Summary) 
แผนการตลาด Rice for Life ผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอก ของศูนย์การเรียนรู้วิสาหกิจชุมชน ในโครงการ 
พระราชดาริ บ้านนางอย-โพนปลาโหล อาเภอเต่างอย จังหวัดสกลนคร มีกลุ่มเป้าหมายหลัก คือ ประชาคมมหาวิทยาลัย 
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ได้แก่ คณาจารย์ บุคลากร และ นักศึกษา มีกลุ่มเป้าหมายรอง คือ ผู้หญิง 
ที่รักสุขภาพ ใส่ใจคุณค่าทางโภชนาการของข้าวกล้องงอก มีอายุตัง้แต่ 21 ปีขึน้ไป รวมถึงผู้สูงอายุ/ผู้ป่วยที่เป็น 
โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และอัลไซเมอร์ แผนการตลาดฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้1) เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ 
ผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอก บ้านนางอย-โพนปลาโหล 2) เพื่อสร้างเสริมทรัพยากรมนุษย์ในพืน้ที่ศูนย์การเรียนรู้วิสาหกิจ 
ชุมชนในโครงการพระราชดาริ บ้านนางอย-โพนปลาโหล 3) เพื่อเพิ่มช่องทางการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอก บ้าน 
นางอย-โพนปลาโหล 4) เพื่อเพิ่มยอดขายผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอก บ้านนางอย-โพนปลาโหล โดยบูรณาการเข้ากับ 
หลักสูตรการศึกษาและโครงการต่างๆของมหาวิทยาลัย โดยสร้างแรงจูงใจให้นักศึกษา บุคลากรและคณาจารย์ ให้เป็นกล 
ไกลหลักในการสนับสนุนการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน การดาเนินงาน ได้ยึดบริบทของชมุชน เป็นสาคัญ โดยวิธีการที่ใช้ 
ประกอบด้วย 1) ถ่ายองค์ความรู้ เทคโนโลยีด้านการผลิต การควบคุมและประกันคุณภาพพัฒนาระบบอุตสาหกรรม 
เกษตรขนาดเล็กที่มีความยืดหยุ่นสูงต่อชนิดวัตถุดิบและกาลังการผลิตทสี่ามารถเลีย้งตัวเองได้ในระดับหนงึ่ 2) ระดมสรรพ 
กาลังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ในการให้ความช่วยเหลือด้านวิชาการ การ 
จัดการ และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ รวมทัง้การศึกษาวิจัยและพัฒนา (R&D) สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่และกระบวนการ 
ใหม่ โดยใช้ผลิตผลข้าวกล้องงอกในพืน้ที่ รวมทัง้ปรับปรุงผลิตภัณฑ์และกระบวนการเดิม โดยการจัดตัง้ทุนการศึกษา 
สาหรับนักศึกษาปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา (เป็นส่วนหนึ่งของการสาเร็จการศึกษา) ในการทาวิจัยและพัฒนาทางด้าน 
การสื่อสารการตลาด เพื่อยกระดับข้าวกล้องงอก บ้านนางอย-โพนปลาโหล รวมทัง้การจัดประกวดต่างๆ ภายใน 
มหาวิทยาลัย 3) พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในพืน้ที่ชนบทที่เกี่ยวข้อง ทัง้ด้านการผลิต ด้านการจัดการและด้านการตลาด 
รวมทัง้ การจัดตัง้กองทุนการศึกษาในสายวิชาชีพแก่นักเรียนในท้องถิ่นร่วมกับชุมชน และ 4) สร้างตลาดรองรับผลิตภัณฑ์ 
ข้าวกล้องแปรรูปที่แน่นอน ผลลัพธ์ คือ ได้กลไกการพัฒนาร่วมกันของชุมชนและสถาบันการศึกษา ที่มุ่งพัฒนาคุณภาพ 
ชีวิต เศรษฐกิจ สังคม สร้างงาน สร้างรายได้และกระจายรายได้ อนุรักษ์วิถีชีวิตชุมชนให้คงอยู่ เกิดการสร้างมูลค่าเพิ่มและ 
ผันเงินตราจากตลาดมาสู่ชนบท เป็นกลไกลที่สอดคล้องและช่วยแก้ปัญหาที่เกิดขึน้ในสภาพปัจจุบันของชุมชนและอยู่ใน 
ขอบเขต ที่มหาวิทยาลัยวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี สามารถนาไปปรับใช้ได้จริง การวัดผล โดยการวัดจาก 
ยอดขายก่อนและหลังดาเนินงาน รวมทัง้ การใช้กระบวนการวิจัย โดยใช้เครื่องมือในการวิจัย เช่น แบบสัมภาษณ์ และ 
แบบสอบถาม ซึ่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มีระเบียบ หลักเกณฑ์ และขัน้ตอนการทาวิทยานิพนธ์ ที่มี 
ความน่าเชื่อถือและเป็นที่ยอมรับทางวิชาการ อีกทั้งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ยังเป็น 1 ใน 9 
มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติอีกด้วย
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 
ทีม ECT ไรซ์สาระ 
แผนธุรกิจ Rice for Life 
หน้า 5 
3.สมมติฐานในการวางแผนการตลาด (Assumption) 
การสมมติฐานในการวางแผนการตลาด มีสอดรับกับวัตถุประสงค์ของแผนการตลาดและสภาพตลาดจริง เช่น 
สภาวะแวดล้อม สภาพเศรษฐกิจ การเมือง พฤติกรรมผู้บริโภค เทคโนโลยี 
1) ผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอก บ้านนางอย-โพนปลาโหล มีมูลค่าสูงขึน้ ร้อยละ 30 
2) ผู้เข้าฝึกอบรมได้รับความรู้และทักษะซึ่งมีความพึงพอใจในระดับมาก และสร้างบัณฑิตที่มีคุณภาพกลับคืน 
สู่ถิ่นบ้านเกิด 
3) มีช่องทางการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอก บ้านนางอย-โพนปลาโหล เพิ่มขึน้ทัง้ในสอื่ออฟไลน์และ 
ออนไลน์ 
4) ยอดขายผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอก บ้านนางอย-โพนปลาโหล เติบโตร้อยละ 200 ในปีแรก 
4.แผนการตลาด (Marketing Plan) 
4.1 การวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด (Market Analysis) 
การวิเคราะห์การตลาดและสภาพแวดล้อม 
ปัจจุบันจากพฤติกรรมความสนใจสุขภาพที่มีมากขึน้ ส่งผลให้ตลาดข้าวเพื่อสุขภาพ มีการเติบโตมากขึน้ 
คาดว่ามีสัดส่วน 7 – 10 % จากตลาดข้าวถุง มูลค่าประมาณ 2,000 ล้านบาท ในปี 2553 ถือได้ว่าเป็นตลาด 
ที่มีการเจริญเติบโตต่อเนื่อง และมีศักยภาพเติบโตได้อีกมาก เนื่องจากในปัจจุบันผู้บริโภคต่างหันมาสนใจสุขภาพ 
ประกอบกับมีความรู้เรื่องต่างๆ มากขึน้ จึงเลือกซือ้และรับประทานแต่อาหารปลอดพิษ รวมถึงการเลือกรับประทานข้าว 
กล้องเริ่มงอกมากขึน้โดยเฉพาะกับกลุ่มเป้าหมายผู้บริโภคที่ดูแลตัวเองแลต้องการผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ [9] [10] 
ช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ.2552-2556) "ข้าวกล้องงอก" จัดได้ว่าเป็นอาหารที่ได้รับความนิยมบริโภคอย่างสูง 
กระทั่งมีการผลิตเพื่อป้อนสู่ตลาดอาหารเพื่อสุขภาพอย่างมากมาย เนื่องจากมีการกล่าวถึงสรรพคุณต่อการบาบัด 
หรือช่วยฟื้นฟูสุขภาพของผู้บริโภค ทั้งการออกฤทธิ์ต่อต้านอนุมูลอิสระ และลดภาวะความเครียด คลายกังวล 
อันเป็นผลมาจากสาร ในกลุ่มสารประกอบฟีนอลกิและสารกาบา (GABA: gamma-amino butyric acid) 
การแข่งขันและคู่แข่ง 
การแข่งขันของข้าวกล้องเริ่มงอกยี่ห้อต่างๆ ส่วนใหญ่ที่วางจาหน่ายในตลาดนัน้ จะเป็นข้าวกล้องงอกที่ผลิตใน 
ลักษณะการผลิตแบบสินค้าชุมชนหรือวิสาหกิจชุมชน ซึ่งขาดการควบคุมคุณภาพทัง้ในส่วนของสูตรการผลิตเพื่อให้ได้ 
สารอาหารโดยเฉพาะสาร GABA สูงสุดและการควบคุมคุณภาพในกระบวนการผลิต ซึ่งสามารถคิดค้นพัฒนาเทคโนโลยี 
กระบวนการผลิตและเครื่องต้นแบบในการผลิตข้าวนึ่งกล้องจากข้าวเปลือกเริ่มงอก เพื่อให้ได้สภาวะที่ดีที่สุดทีมีปริมาณ 
สาร GABA
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 
ทีม ECT ไรซ์สาระ 
แผนธุรกิจ Rice for Life 
หน้า 6 
การวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย 
จากการศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภค พบว่า ผู้บริโภคให้ความสาคัญเรื่องสุขภาพ โดยให้เหตุผลหลัก 
ในการบริโภคข้าวกล้องของผู้บริโภค เพราะเป็นข้าวที่มีคุณประโยชน์และมีความห่วงใยในสุขภาพ รวมทั้งซื้อ 
เมื่อมีปัญหาสุขภาพ ปัญหาที่มีผลกระทบต่อการเลือกซือ้ข้าวกล้องของผู้บริโภค ปัญหาจากมอดและแมลง มีพฤติกรรม 
ในการซือ้ คือ นิยมเลือกซือ้ข้าวกล้องที่เป็นพันธ์ุที่ให้ความหอม คุณสมบัติของข้าวหลังการหุง ความถี่ในการซือ้ข้าวกล้อง 
คือ 2-3 ครั้ง ต่อเดือน ปริมาณการเลือกซื้อข้าวกล้องคือ ซื้อ 2 กิโลกรัมต่อครั้งสถานที่ในการซื้อข้าวกล้องคือ 
ห้างสรรพสินค้า (Department Store) และซุปเปอร์มาร์เก็ต (Supermarket) ร้านขายสินค้าราคาถูก (Discount Store) 
และร้านค้าออนไลน์ โดยคานึงถึงความสะดวกในการเลือกซือ้ เพราะใกล้บ้านและที่ทางาน ส่วนใหญ่จะมีการรับรู้ 
ข้อมูลข่าวสารของข้าวกล้องจากสอื่โทรทัศน์และกลุ่มเพื่อน/ญาติ 
การกา หนดกลุ่มเป้าหมาย หรือ ตลาดเป้าหมาย (Target Market) 
ผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมายหลัก คือ ประชาคม มจธ. [14] ได้แก่ คณาจารย์ บุคลากร และ นักศึกษาระดับปริญญา 
ตรี นักศึกษาระดับปริญญาโท และนักศึกษาระดับปริญญาเอก รวมจานวนทัง้หมด 20,321 คน 
ผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมายรอง คือ ผู้หญิง มีอายุตัง้แต่ 21 ปีขึน้ไป ทมีี่รายได้เฉลยี่ต่อเดือน 12,000 ขึน้ไป เป็นผู้ที่ 
มีการศึกษาอยู่ในระดับอนุปริญญา/ปวส. ขึน้ไป ผู้ที่รักสุขภาพ ใส่ใจคุณค่าทางโภชนาการของข้าวกล้องงอก รวมถึง 
ผู้สูงอายุ/ผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และอัลไซเมอร์ ส่วนการตัง้ราคานัน้จะใช้กลยุทธ์การตัง้ราคาและ 
High-Value Strategy มลีูกค้าเป้าหมายที่มีรายได้ระดับกลางขึน้ไป ด้วยคุณค่าและคุณภาพที่เป็นเลิศของข้าวกล้องงอก 
การกาหนดตาแหน่งของผลิตภัณฑ์ (USP.) 
คุณค่าทางโภชนาการ 
ข้าวกล้องงอกบ้านนางอย-โพนปลาโหล 
ข้าวกล้องงอกโดยทวั่ไป 
ข้าวกล้อง 
ข้าวขาวโดยทวั่ไป เรื่องราวและคุณค่าทางจติใจ 
หมายเหตุ : เรื่องราวและคุณค่าทางจิตใจ เป็นการสื่อความหมายให้ผู้บริโภค ให้รับรู้ว่า “การซือ้ผลิตภัณฑ์นี้ 
ช่วยส่งเสริมให้ลูกชาวนาจากชนบท ให้มีโอกาสได้รับการศึกษา “ทุน Rice for Life” จนเป็นบัณฑิต ที่กลับไปพัฒนา 
ท้อ ง ถิ่น ข อ ง ต น เอ งแ ล ะ เป็น ก า ลัง ส า คัญ ใน ก า รพัฒ น า ป ระ เท ศ ช า ติต่อ ไป ” โด ย เชื่อ ม โย ง ให้เห็น ถึง 
รูป แบ บ กา รดาเนิน ชีวิต ขอ งค น Green Heart & Healthy โด ย เรา จ ะ ใช้ Key Message : Rice for Life 
ข้าวกล้องบ้านนางอย เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของชาวบ้าน โดยจะใช้ Key Message : Rice for Life 
ทั้งในสื่อออฟไลน์และออนไลน์ (เชิญรับชมในวันเสนอ วันที่ 5 มิถุนายน 2557)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 
ทีม ECT ไรซ์สาระ 
แผนธุรกิจ Rice for Life 
หน้า 7 
4.2 นาเสนอกลยุทธ์ทางการตลาด (Marketing Strategy) 
กลยุทธ์การตลาด การนาเสนอ 
กลยุทธ์ผลิตภัณฑ์ 
(Product Strategy) 
1.คุณสมบัติผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอกมีความพิเศษ คือ มี “กาบา” ซึ่งเป็น 
ประโยชน์ต่อสุขภาพส่งผลให้เกิดมีกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้คนที่รักสุขภาพ และ 
สามารถเก็บรักษาได้ยาวนานกว่าข้าวขาวธรรมดา 
2.สนับสนุนการพัฒนาและปรับปรุงพันธ์ขุ้าวกล้อง ให้เหมาะกับการบริโภค เช่น 
มีความหอม และคุณสมบัติหลังการหุงเสร็จ 
กลยุทธ์ราคา 
(Price Strategy) 
1.การกาหนดราคาต้องคานึงถึงปัจจัยต้นทุนการผลิตบวกกับผลกาไรที่ต้องการ 
จะได้ แล้วจึงกาหนดราคาขายออกมา โดยต้องคานึงสภาพการแข่งขันของตลาด 
สินค้า 
2.ลดต้นทุนที่ไม่ฟุ่มเฟือย เช่น ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ทอี่าจเกินความจาเป็น 
กลยุทธ์การจัดจาหน่าย 
(Place Strategy) 
1.เพิ่มช่องทางการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องฯ ในมหาวิทยาลัย 
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ทั้ง 3 วิทยาเขต ได้แก่ วิทยาเขตบางมด 
วิทยาเขตบางขุนเทียน และวิทยาเขตราชบุรี ตลอดจนพืน้ที่โครงการพิเศษต่างๆ 
ของมหาวิทยาลัย เช่น ศูนย์การเรียนรู้ในเมือง ศูนย์นอกพืน้ที่ลพบุรี ศูนย์นอก 
พนื้ที่สุราษฎร์ธานี 
2.สร้างเครือข่าย โดยอาศัยพันธมิตรของมหาวิทยาลัย ในการเพิ่มช่อง 
ทางการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอก บ้านนางอย-โพนปลาโหล เช่น 
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอม 
เกล้าลาดกระบัง และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีธัญบุรี 
3.การใช้โอกาสสาคัญต่างๆของมหาวิทยาลัย ในการจัดจาหน่าย เมื่อ 
มหาวิทยาลัยเป็นเจ้าภาพการจัดประชุม เช่น การประชุมอธิการบดีแห่งประเทศ 
ไทย,การประชุมสภาคณบดีคณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์แห่งประเทศไทย, 
การประชุมสภาคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย การประชุม 
วิชาการโสตฯ-เทคโนสัมพันธ์แห่งประเทศไทย 
4. Online Marketing (การตลาดออนไลน์) เป็นการทาการตลาดผ่านระบบ 
อินเตอร์เน็ต ผ่านเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยควบคู่สังคมออนไลน์ ซึ่งวิธีนีเ้ป็นการ 
ทาการตลาดที่สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ในเวลาอันรวดเร็ว โดยสามารถ 
เข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้ทั่วโลก หรือแบบเฉพาะเจาะจงแล้วแต่ความต้องการของ 
ลูกค้า สามารถช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย ทัง้ในเรื่องของพนักงานขาย การโฆษณา 
ป ระชาสัม พัน ธ์ในรูป แบ บ สื่อต่างๆ เช่น ห นังสือพิม พ์ วิท ยุ โท รทัศ น์ 
ป้ายโฆษณา และอื่นๆ อีกมากมาย เพราะการตลาดออนไลน์เป็นบริการตลอด -
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 
ทีม ECT ไรซ์สาระ 
แผนธุรกิจ Rice for Life 
หน้า 8 
กลยุทธ์การตลาด การนาเสนอ 
กลยุทธ์การจัดจาหน่าย 
(Place Strategy) 
24 ชวั่โมง ทาให้ปริมาณการซอื้-ขายเพิ่มขึน้ตลอดเวลา โดยใช้เทคนิคดังนี้ 
 ใช้ช่องทางการสื่อสารออนไลน์ของมหาวิทยาลัย ที่ประชาคมเปิดรับ 
ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 
 การเลือกโดเมนที่เหมาะสม ง่ายต่อการจดจา 
 การใช้ Key Message ที่ตรงใจกับลูกค้า และสินค้า 
 การวางแผนงานต่างๆ เพื่อให้เป็นไปตามขัน้ตอน 
 การทา Search Engine Optimization (SEO) ที่ดี 
 การบริการสอบถามทางโทรศัพท์ โดย มจธ. 
 การบริการจัดส่งผ่านทางไปรษณีย์ โดย มจธ. 
กลยุทธ์การส่งเสริม 
การตลาด 
(Promotion Strategy) 
การส่งเสริมการตลาด เฉพาะการลด แลก แจก แถม เช่น 
1.การสะสมสลากสินค้าเพื่อนามาเป็นส่วนลด 5 % หรือนาสลากไปใช้ประโยชน์ 
ร่วมส่งเสริมการตลาดร่วมกับสินค้าอื่นๆ 
2.การนาสลากมาชิงโชคเพื่อลุ้นไปเที่ยวยังศูนย์การเรียนรู้ที่จังหวัดสกลนครเพื่อ 
เป็นการเรียนรู้วัฒนธรรมของชุมชน 4 วัน 3 คืน กับดารานักแสดงภายใน 
มหาวิทยาลัย (ไหว้สักการะผาพญาเต่างอย เดินป่าศึกษาธรรมชาติ ล่องเรือ 
แคนนูตามลานา้พุง ผจญภัยไต่หน้าผา แข่งจักรยานเสือภูเขา วอลเล่ย์บอล 
ชายหาดริมนา้พุง) 
3.แถมที่ตวงข้าว
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 
ทีม ECT ไรซ์สาระ 
แผนธุรกิจ Rice for Life 
หน้า 9 
กลยุทธ์การตลาด การนาเสนอ 
กลยุทธ์การบรรจุภัณฑ์ 
(Packaging Strategy) 
1. ออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่ประหยัดต้นทุน แต่ยังคงด้วยคุณค่าทางโภชนาการ 
2.สร้างบุคลิกให้กับผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยบรรจุภัณฑ์จะต้อง 
เป็นมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด โดยใช้กระดาษเป็นกระดาษคาดกับบรรจุ 
ภัณฑ์สุญญากาศ 
3.บรรจุภัณฑ์ ช่วยสร้างความมนั่ใจให้แก่ผู้บริโภค โดยกาหนดให้มีเครื่องหมาย 
รับรองผลิตภัณฑ์ ข้าวกล้องที่ได้มาตรฐาน ปลอดสารเคมี 
กลยุทธ์พนักงานขาย 
(Personal Strategy) 
1.การจาหน่ายตรงโดยใช้พนักงานขายที่ศูนย์หนังสือพระจอมเกล้าธนบุรี ร้านค้า 
สหกรณ์ มจธ. และ ธรรมรักษาสแควร์ โดยการใช้พนักงานขายจะเน้นการสร้าง 
สัมพันธภาพที่ดีต่อลูกค้าเพื่อให้มีลูกค้าประจา และสร้างลูกค้าใหม่ โดยเน้นการ 
ดูแลให้ลูกค้าประทับใจ ซึ่งพนักงานขายของ มจธ. ถือเป็นพนักงานประจาของ 
ทางมหาวิทยาลัยที่ผ่านการฝึกอบรมให้มี Service Mind ซึ่งถือเป็นหัวใจสาคัญ 
ของงานบริการ คนที่ทางานบริการจะต้องให้บริการแก่ลูกค้า 
2.ให้ผู้บริหารเป็น Presenter โดยท่านอธิการบดีฯ เป็นสอื่บุคคล 
กลยุทธ์การให้ข่าวสาร 
(Public Relation Strategy) 
ใช้ตาแหน่งของผลิตภัณฑ์ โดยการสื่อความหมายให้ผู้บริโภค รับรู้ว่า “การซือ้ 
ผลิตภัณฑ์นี้ ช่วยส่งเสริมให้ลูกชาวนาจากชนบท มีโอกาสได้รับการศึกษา “ทุน 
Rice for Life” จนเป็นบัณฑิต ที่กลับไปพัฒนาท้องถิ่นของตนเองและเป็นกาลัง 
สาคัญในการพัฒนาประเทศชาติต่อไป” โดยเชื่อมโยงให้เห็นถึงรูปแบบการ 
ดาเนินชีวิตของคน Green Heart & Healthy ผ่านสื่อออนไลน์และออฟไลน์ 
ดังนี้ 
สื่อออฟไลน์ ได้แก่ 
1.โปสเตอร์/ไวนิลประชาสัมพันธ์ 
2.TVC เปิดภายในมหาวิทยาลัย 
3.กระจายเสียงผ่าน E-Radio 101.25 MHz ของมหาวิทยาลัย 
4.ประชาสัมพันธ์บนหนังสือพิมพ์ อินไซด์ มจธ. 
5.จัดกิจกรรมพิเศษ (Events) เปิดตัวข้าวกล้องงอก 
6.นิทรรศการ “ข้าว” ในวันพืชมงคล และวันข้าวและชาวนาแห่งชาติ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 
ทีม ECT ไรซ์สาระ 
แผนธุรกิจ Rice for Life 
หน้า 10 
กลยุทธ์การตลาด การนาเสนอ 
กลยุทธ์การให้ข่าวสาร 
สื่อออนไลน์ ได้แก่ 
(Public Relation Strategy) 
1.เว็บไซต์มหาวิทยาลัย 
2,Facebook Face Page 
3.YouTube Channel 
การจัดกิจกรรมเพื่อตอบแทนสังคม ได้แก่ 
1.การฝึกอบรมและพัฒนาร่วมกัน ทัง้ด้านการผลิต ด้านการจัดการ และ 
ด้านการตลาด ปีละ 4 ครัง้ (ทุก 3 เดือน หรือทุกๆไตรมาส) 
2.นักเรียนในท้องถิ่น ผ่านการคัดเลือกให้ได้ทุน การศึกษา ในสายวิชาชีพ 
ในปีแรก 4 คน 
กลยุทธ์พลัง 
(Power Strategy) 
ใช้อานาจในการต่อรองเพื่อสร้างเครือข่าย โดยอาศัยพันธมิตรของมหาวิทยาลัย 
ในการพัฒนาช่องทางกาจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอก บ้านนางอย-โพน 
ปลาโหล เช่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สถาบัน 
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าลาดกระบัง ฯลฯ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 
ทีม ECT ไรซ์สาระ 
แผนธุรกิจ Rice for Life 
หน้า 11
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 
ทีม ECT ไรซ์สาระ 
แผนธุรกิจ Rice for Life 
หน้า 12
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 
ทีม ECT ไรซ์สาระ 
แผนธุรกิจ Rice for Life 
หน้า 13 
4.3 พิจารณาโอกาสและความเสี่ยงในธุรกิจ (Opportunities & Threats Analysis) 
การพิจารณาโอกาสและความเสี่ยงในธุรกิจ ของตัวผลิตภัณฑ์ / บริการ / โครงการฯ 
โอกาส ความเสียง 
1.มจธ.ประกาศตนเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว โดยได้รับ 
การจัดอันดับให้เป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว อันดับที่ 17 
ของโลก 
2.ข้าวกล้องงอกเป็นผลิตภัณฑ์ เพื่อสุขภาพซงึ่ผู้บริโภค 
สนใจผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพมากยิ่งขึน้ 
3.แนวโน้มการเพิ่มขึน้ของประชากรผู้สูงอายุ ใน มจธ. 
1.มีคู่แข่งที่เป็นวิสาหกิจชุมชนเชน่เดียวกันค่อนข้างมาก 
2.มีผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพอื่นๆทดแทน เช่น นา้มัน 
มะพร้าว นา้มันราข้าว ที่รับประทานง่ายและสะดวกกว่า 
4.4 พิจารณาจุดแข็งและจุดอ่อน (Strength & Weakness Analysis) 
การพิจารณาจุดแขง็และจุดอ่อน ของตัวผลิตภัณฑ์ เพื่อดาเนินตามกลยุทธ์ทางการตลาดที่ได้วิเคราะห์ไว้เบอื้งต้น 
จุดแข็ง จุดอ่อน 
1.คนในชุมชนมีภูมิปัญญาท้องถิ่น และความสามารถ 
ในการผลิตข้าวกล้องงอก เป็นแห่งแรกในประเทศไทย 
2.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีเป็นที่ 
ปรึกษาในการดาเนินงานวิสาหกิจชุมชนอย่างต่อเนื่อง 
1.ชุมชนไม่มีช่องทางการกระจายสินค้า 
2.ชุมชนขาดสื่อประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการขาย
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 
ทีม ECT ไรซ์สาระ 
แผนธุรกิจ Rice for Life 
หน้า 14 
4.5 วิธีวัดและการประเมินผล (Evaluation) 
ลาดับ วัตถุประสงค์ เป้ าหมาย วิธีการวัดและประเมินผล 
1 เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ 
ผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอก บ้าน 
นางอย-โพนปลาโหล 
1.ผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอก 
บ้านนางอย-โพนปลาโหล มี 
มูลค่าสูงขึน้ ร้อยละ 30 
1.การเปรียบเทียบราคาก่อนและหลัง 
ดาเนินการ 
2.แบบ สอบถามเกี่ยวกับ ทัศนคติ 
เกี่ยวกับคุณค่าของผลิตภัณฑ์ข้าว 
กล้องงอก บ้านนางอย-โพนปลาโหล 
ของบุคลากรและชุมชนใกล้เคียง มจธ. 
2 เพื่อสร้างเสริมทรัพยากรมนุษย์ 
ในพืน้ที่ศูนย์การเรียนรู้ 
วิสาหกิจชุมชนในโครงการ 
พระราชดาริ บ้านนางอย-โพน 
ปลาโหล 
1.การฝึกอบรมและพัฒนา 
ร่วมกัน ทัง้ด้านการผลิต ด้าน 
การจัดการ และด้านการตลาด 
ปีละ 4 ครัง้ (ทุก 3 เดือน หรือ 
ทุกๆไตรมาส) 
2.นักเรียนในท้องถิ่น ผ่านการ 
คัดเลือกให้ได้ทุน การศึกษา ใน 
สายวิชาชีพ ในปีแรก 4 คน 
1.แบบทดสอบความรู้ หรือแบบการ 
สังเกต เกี่ยวกับการดาเนินงานภายใน 
ศูนย์การเรียนรู้วิสาหกิจชุมชนใน 
โครงการพระราชดาริ บ้านนางอย-โพน 
ปลาโหล 
2.การสาเร็จการศึกษาของนักศึกษา 
3 เพื่อเพิ่มช่องทางการจัด 
จาหน่ายผลิตภัณฑ์ข้าวกล้อง 
งอก บ้านนางอย-โพนปลาโหล 
1.มีช่องทางการจัดจาหน่าย 
ผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอก บ้าน 
นางอย-โพนปลาโหล เพิ่มขึน้ 
ทัง้ในสอื่ออฟไลน์และออนไลน์ 
1.จานวนช่องทางการจาหน่ายที่ 
เพิ่มขึน้ 
2.แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อ 
สื่อออฟไลน์และออนไลน์ฯ 
4 เพื่อเพิ่มยอดขายผลิตภัณฑ์ 
ข้าวกล้องงอก บ้านนางอย- 
โพนปลาโหล 
1.ยอดขายผลิตภัณฑ์ข้าวกล้อง 
งอก บ้านนางอย-โพนปลาโหล 
เติบโตร้อยละ 200 ในปีแรก 
1.ยอดขายผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอก 
บ้านนางอย-โพนปลาโหลที่เพิ่มขึน้
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 
ทีม ECT ไรซ์สาระ 
แผนธุรกิจ Rice for Life 
หน้า 15 
5. แผนกิจกรรมทางการตลาดระยะ 1 ปี 
ลาดับ รายการ/กิจกรรม กลยุทธ์ ระยะเวลา งบประมาณ 
1 การฝึกอบรมและพัฒนาร่วมกัน ทัง้ด้านการผลิต 
ด้านการจัดการ และด้านการตลาด เช่น การจัดทา 
ฉลากสินค้า เพื่อนาไปติดบนบรรจุภัณฑ์ 
สุญญากาศ 
ผู้รับผิดชอบดาเนินงาน : ศูนย์ส่งเสริมและ 
สนับสนุนมูลนิธิโครงการหลวงและโครงการอัน 
เนื่องมาจากพระราชดาริ มจธ, 
Product 
Price 
ในเดือนแรกของ 
ทุกไตรมาส 
120,000 บาท 
2 เพิ่มช่องทางการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องฯ ใน 
มจธ. ทัง้ 3 วิทยาเขต 
ผู้รับผิดชอบดาเนินงาน : ฝ่ายอาคารสถานที่ มจธ. 
Place ในเดือน 
มกราคมและ 
สิงหาคม 
60,000 บาท 
3 การจาหน่ายผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ผ่านเว็บไซต์ 
ของมหาวิทยาลัยควบคู่สังคมออนไลน์ 
ผู้รับผิดชอบ : สา นักคอมพิวเตอร์ มจธ. 
Place ตลอดปี 30,000 บาท 
4 การจาหน่ายตรงโดยใช้พนักงานขายที่ศูนย์หนังสือ 
มจธ. , สหกรณ์ มจธ. และธรรมรักษาสแควร์ 
ผู้รับผิดชอบดาเนินงาน : ศูนย์หนังสือ มจธ. , 
สหกรณ์ มจธ. และธรรมรักษาสแควร์ 
Place 
Personal 
ตลอดปี - 
5 การใช้โอกาสสาคัญต่างๆของมหาวิทยาลัย ในการ 
จัดจาหน่าย 
ผู้รับผิดชอบดาเนินงาน : ศูนย์หนังสือ มจธ. , 
สหกรณ์ มจธ. และธรรมรักษาสแควร์ 
Public Relation ไตรมาสละ 
1 ครัง้ 
-
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 
ทีม ECT ไรซ์สาระ 
แผนธุรกิจ Rice for Life 
ลาดับ รายการ/กิจกรรม กลยุทธ์ ระยะเวลา งบประมาณ 
6 จัดกิจกรรมพิเศษ (Events) เปิดตัวข้าวกล้องงอก 
หน้า 16 
โดยให้ท่านอธิการบดีฯ เป็น Presenter 
ผู้รับผิดชอบดาเนินงาน : บูรณาการกับรายวิชา 
เรียนในหลักสูตรการศึกษาที่เกี่ยวข้อง 
Public Relation 
Personal 
ไตรมาสละ 
1 ครัง้ 
40,000 
บาท 
7 นิทรรศการ “ข้าว” ในวันพืชมงคล และวันข้าวและ 
ชาวนาแห่งชาติ 
ผู้รับผิดชอบดาเนินงาน : สา นักวิชาศึกษาทวั่ไป 
Public Relation ในเดือน 
พฤษภาคมและ 
มิถุนายน 
40,000 บาท 
8 สร้างเครือข่าย โดยอาศัยพันธมิตรของ มจธ. 
ผู้รับผิดชอบดาเนินงาน : ศูนย์ส่งเสริมและ 
สนับสนุนมูลนิธิโครงการหลวงและโครงการอัน 
เนื่องมาจากพระราชดาริ มจธ, 
Power 
Place 
ในเดือน 
มกราคมและ 
สิงหาคม 
40,000 บาท 
9 ประชาสัมพันธ์บนหนังสือพิมพ์ อินไซด์ มจธ. 
ผู้รับผิดชอบดาเนินงาน : กลุ่มงานการสอื่สาร 
เชิงกลยุทธ์และการตลาด มจธ. 
Public Relation ไตรมาสละ 
1 ครัง้ 
- 
10 กระจายเสียงผ่าน E-Radio 101.25 MHz 
ผู้รับผิดชอบดาเนินงาน : ภาควิชาเทคโนโลยีและ 
สื่อสารการศึกษา 
Public Relation ตลอดทัง้ปี - 
11 TVC เปิดภายในมหาวิทยาลัย โดยให้ท่าน 
อธิการบดีฯ เป็น Presenter 
ผู้รับผิดชอบดาเนินงาน : กลุ่มงานการสอื่สาร 
เชิงกลยุทธ์และการตลาด มจธ. 
Public Relation 
Personal 
ช่วงภาค 
การศึกษาที่ 1 
และช่างภาค 
การศึกษาที่ 2 
10,000 บาท
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 
ทีม ECT ไรซ์สาระ 
แผนธุรกิจ Rice for Life 
ลาดับ กิจกรรม กลยุทธ์ ระยะเวลา งบประมาณ 
12 โปสเตอร์/ไวนิลประชาสัมพันธ์ 
หน้า 17 
ผู้รับผิดชอบดาเนินงาน : ภาควิชาเทคโนโลยีการ 
พิมพ์และบรรจุภัณฑ์ 
Public Relation ช่วงภาค 
การศึกษาพิเศษ 
4,000 บาท 
13 สื่อออนไลน์ ได้แก่ เว็บไซต์,Facebook Face 
Page ,YouTube 
ผู้รับผิดชอบดาเนินงาน : ภาควิชาเทคโนโลยีและ 
สื่อสารการศึกษา 
Public Relation ตลอดทัง้ปี 20,000 บาท 
14 คัดเลือกนักเรียนในท้องถิ่น ผ่านการคัดเลือกให้ได้ 
ทุนการศึกษา 
ผู้รับผิดชอบดาเนินงาน : ศูนย์ส่งเสริมและ 
สนับสนุนมูลนิธิโครงการหลวงและโครงการอัน 
เนื่องมาจากพระราชดาริ มจธ, ร่วมกับส่วน 
คัดเลือกนักศึกษา มจธ. 
Public Relation ระหว่างเดือน 
กุมภาพันธ์ 
ถึง เมษายน 
- 
15 การส่งเสริมการขาย เช่น การสะสมสลากสินค้า 
และการแถมที่ตวงข้าว 
ผู้รับผิดชอบดาเนินงาน : สถานทจีั่ดจาหน่าย 
Promotion ตลอดทัง้ปี - 
16 กิจกรรมเที่ยวบ้านนางอยฯ จังหวัดสกลนคร 4 วัน 
3 คืน ในฤดูหนาว 
ผู้รับผิดชอบดาเนินงาน : ภาควิชาเทคโนโลยีและ 
สื่อสารการศึกษา 
Promotion 
Public Relation 
ระหว่างเดือน 
พฤศจิกายน 
ถึง ธันวาคม 
40,000 บาท 
รวม 404,000 บาท 
หมายเหตุ : การดาเนินการในบางรายการ/กิจกรรม นั้นเป็นการดาเนินของหน่วยงานภายใน 
เป็นประจาทุกปีอยู่แล้ว จึงเป็นการดาเนินงานที่ไม่มีค่าใช้จ่าย เป็นการดาเนินงานเพื่อประสานงาน 
ในการสร้างความร่วมมือกันระหว่าง ระหว่างมหาวิทยาลัยและชุมชน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 
ทีม ECT ไรซ์สาระ 
แผนธุรกิจ Rice for Life 
หน้า 18 
6.บทสรุป (Conclusion) และข้อเสนอแนะ (Recommendations) 
เพื่อชีแ้จงให้คณะกรรมการเห็นด้วยกับการวางแผนการตลาดครัง้นี้ 
บทสรุป (Conclusion) 
ข้าว เป็นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญของไทย เชื่อมโยงกับชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทย เป็นทั้งอาหารหลัก 
ที่ควรให้การส่งเสริมเรื่องการตลาดเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะแผนการตลาดฉบับนี้ที่ได้ต่อยอดจากการดาเนินงานที่ผ่านมา 
ของมหาวิทยาลัย โดยมุ่งที่จะสร้างกลไก อันประกอบด้วย 1. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มีองค์ประกอบ 
คือ อาจารย์ บุคลากรและนักศึกษา และ 2. ศูนย์การเรียนรู้วิสาหกิจชุมชน ในโครงการพระราชดาริ บ้านนางอย-โพนปลา 
โหล อาเภอเต่างอย จังหวัดสกลนคร มีองค์ประกอบคือ ผู้นาชุมชน สมาชิกชุมชน เด็กและเยาวชน) โดยเป็นการต่อยอด 
พัฒนาเพื่อสร้างการรับรู้ ให้กับสินค้าข้าวกล้องงอก โดยยึดหลักการพัฒนาที่ “คน” เป็นศูนย์กลางของพัฒนา 
ให้สามารถรักษาระดับการพัฒนาในระยะยาวได้ด้วยตนเอง โดยการระดมสรรพกาลังประชาคม มจธ. เพื่อให้ความ 
ช่วยเหลือด้านวิชาการ การจัดการ และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ รวมทัง้การศึกษาวิจัยและพัฒนา (R&D) สร้าง 
ผลิตภัณฑ์ใหม่และกระบวนการใหม่โดยใช้ผลิตผลข้าวกล้องงอกในพืน้ที่ รวมทัง้ปรับปรุงผลิตภัณฑ์และกระบวนการเดิม 
ที่ช่วยยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม สร้างงาน สร้างรายได้และกระจายรายได้ 
อนุรักษ์วิถีชีวิตชุมชนให้คงอยู่ เกิดการสร้างมูลค่าเพิ่ม และผันเงินตรามาสู่ชนบท 
ข้อเสนอแนะ (Recommendations) 
1.การดาเนินกิจกรรมใน แผนการตลาดฉบับนี้อยู่ในขอบเขต (Scope) และค่าใช้จ่าย (Cost) ที่มหาวิทยาลัย 
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี สามารถนาไปปรับใช้ได้จริง ภายใต้การสนับสนุนของศูนย์ส่งเสริมและสนับสนุน 
มูลนิธิโครงการหลวงและโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ มจธ. และสานักกิจการนักศึกษา มจธ. 
2.การดาเนินงาน ของ มจธ. ที่เข้าไปเป็นกลไกที่ร่วมขับเคลื่อนร่วมกับชุมชนภายนอก ที่ประสบความสาเร็จ 
ได้แก่ โครงการมหาวิทยาลัยเพื่อชุมชนและสังคม โครงการมหาวิทยาลัยสีเขียว โครงการครูช่างหัวใจหล่อต่อยอดอาชีพ 
ซาเล้ง และโครงการครูช่างปล่อยของสอนน้องสร้างหุ่นยนต์คุณธรรมจากขยะ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 
ทีม ECT ไรซ์สาระ 
แผนธุรกิจ Rice for Life 
หน้า 19 
7.ข้อสนับสนุนอื่นๆ (Supporting Information & Appendices) 
กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน 
ในปี 2551 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ร่วมกับ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ 
แห่งชาติ (ศช.) และสา นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เริ่มให้การสนับสนุนให้ชุมชนเริ่มเรียนรู้ 
เรื่อง วิสาหกิจชุมชนเพื่อพัฒนาศักยภาพ การรวมกลุ่ม เพื่อสนองแนวพระราชดาริให้ชุมชนสามารถรักษาสภาพความ 
เป็นอยู่และการพัฒนาต่อไปได้ด้วยกลุ่มของชาวบ้านเอง ทั้งนี้แนวคิดหลักของวิสาหกิจชุมชน มุ่งที่จะพัฒนา 
ความสามารถในการจัดการ “ทุนชุมชน” ได้อย่างเหมาะสมเพื่อการพึ่งตนเองตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงโดยมี 
กระบวนการเรียนรู้เป็นหัวใจสา คัญ โดยมีพลวัตรการพัฒนาการที่สา คัญ ดังนี้[4] 
1) เกิดการจัดตัง้วิสาหกิจชุมชนขึน้ 4 กลุ่มและรวมกันเป็นเครือข่าย ด้วยความร่วมมือ ร่วมใจของชาวบ้าน 
ในพืน้ที่ทัง้สองหมู่บ้าน ภายใต้การสนับสนุนด้านวิชาการจาก สวทช. มจธ. และเครือข่ายพันธมิตรใน 
พืน้ที่ ประกอบด้วย วิสาหกิจชุมชนตามโครงการตามพระราชดาริ บ้านนางอย 1 และ 2 วิสาหกิจ 
ชุมชนโครงการตามพระราชดาริบ้านโพนปลาโหล และ วิสาหกิจชุมชนข้าวกล้องงอกบ้านนางอย – 
โพนปลาโหล 
2) การดาเนินงานที่สาคัญของเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนประกอบด้วย การผลิตเม็ดพันธ์ุข้าวพันธ์ุดี (หอม 
มะลิ105 หอมพิเศษ–ทนนา้ท่วม) การปลูกข้าวปลอดสารพิษ ประยุกต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการผลิต 
ข้าวฮางผสมผสานกับความรู้สมัยใหม่เพื่อผลิตข้าวกล้องงอก 
3) ความสาเร็จของเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนในรอบสามปี (2551 – 2553) พบว่ากลุ่มชาวบ้านมีการ 
พัฒนาการบริหารจัดการเชิงระบบดีขึน้เป็นลาดับ มีการจัดทารายงานทางการเงิน มีการพัฒนา 
ประสิทธิภาพและคุณภาพผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง มีการจัดเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้น ให้เป็นสวัสดิการ 
โดยรวมของหมู่บ้าน ตลอดจนมีเงินทุนสา รองของกลุ่ม เกิดกิจกรรมกลุ่มสัจจะออมทรัพย์ เป็นต้น
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 
ทีม ECT ไรซ์สาระ 
แผนธุรกิจ Rice for Life 
หน้า 20 
กิจกรรมการผลิตข้าวกล้องงอกโครงการตามพระราชดาริ บ้านนางอย 
และตัวอย่างผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอกโครงการตามพระราชดาริ บ้านนางอย 
ในปี 2552 ศูนย์การเรียนรู้วิสาหกิจชุมชนอาเภอเต่างอย เกิดขึน้จากพัฒนาการของเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ทัง้ 
ยังได้รับการสนับสนุนงบประมาณและด้านวิชาการ จาก สวทช.และ มจธ. โดยใช้อาคารบ้านพักและสานักงานของโรงงาน 
หลวงในอดีต (พ.ศ. 2525) โดยจัดสถานที่และสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมโอกาสในการเรียนรู้ การแลกเปลยี่นประสบการณ์ 
การสืบทอดภูมิปัญญา วัฒนธรรม ค่านิยม ตลอดจนเอกลักษณ์ของชุมชน และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม 
ราชกุมารี เสด็จเยี่ยมโรงงานหลวงที่ 3 และราษฏรบ้านนางอย – โพนปลาโหล ซึ่งอาคารโรงงานและสภาพเครื่องจักร 
อุปกรณ์การผลิตล้าสมัย เสื่อมสภาพไม่คุ้มที่จะซ่อมบารุงและดาเนินการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพได้ จึงทรงมี 
พระราชดาริ [4] 
● ให้ฟื้นฟูและพัฒนาโรงงานหลวงที่ 3 เพื่อให้ชาวบ้านมีงานทา 
● สามารถรับซือ้ผลผลิตการเกษตรและดาเนินการผลิตได้ตลอดทัง้ปี 
● ตลอดจนชุมชนใกล้เคียงโรงงานสามารถได้รับประโยชน์จากการคงอยู่ของโรงงานได้ตลอดไป ซงึ่นามาสู่การ 
รับสนองพระราชดาริโครงการฟื้นฟูและพัฒนาโรงงานหลวงอาหารสาเร็จรูปที่ 3 ในการศึกษาวิเคราะห์ความ 
เป็นไปได้ในการลงทุน ฟื้นฟู พัฒนา ตลอดจนให้ข้อเสนอแนะด้านการบริหารจัดการ การผลิต การขายและ 
การตลาด การพัฒนาชุมชนภายใต้แนวคิด “ชุมชนได้รับประโยชน์ ธุรกิจอยู่ได้” โดยเครือธนาคารกสิกรไทยและ 
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ซึ่งได้ฐานแนวคิดและข้อสรุปที่สาคัญประกอบด้วย 
ก. เน้นลงทุนในระบบการผลิต ผลิตภัณฑ์ใหม่ ปรับปรุงเครื่องจักร สภาพโรงงานและลงทุนในระบบ 
พลังงานชีวมวลเพื่อลดต้นทุน ในวงเงินงบประมาณลงทุน ประมาณ 69.5 ล้าบาท ความคุ้มทุนทางการเงิน 
(NPV) 44.5 ล้านบาท ระยะเวลาคืนทุน ประมาณ 15 ปี ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจและสังคม (NPV) 555.6 
ล้านบาท ระยะเวลาคืนทุนประมาณ 4 ปี เน้นสัดส่วนการลงทุนในสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดรายได้เป็นหลัก ไม่เน้น 
การลงทุนด้านอาคารและสิ่งปลูกสร้าง 
ข. ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ สังคม ประกอบด้วย
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 
ทีม ECT ไรซ์สาระ 
แผนธุรกิจ Rice for Life 
● เกษตรกร 1) ประมาณ 650 ครัวเรือน มีรายได้เพิ่มขึน้จากการเพาะปลูก นอกฤดูทานา 3.1 หมื่น 
บาท/ครัวเรือน/ปี 2) มีความรู้ ความเข้าใจที่เกิดจากการส่งเสริมการเพาะปลูกและนาไปสู่การใช้ทรัพยากรอย่าง 
คุ้มค่าและให้ผลตอบแทนสูงสุด 
● ชุมชน 1) ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนเพื่อให้เกิดการรวมตัวกันของเกษตรกรในการประกอบธุรกิจระดับ 
ชุมชน มีความมนั่คงได้รับการรับรองตามกฎหมาย 2) ส่งเสริมความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น การพัฒนา 
ความสามารถ ในการจัดการตรงตามความต้องการอย่างแท้จริง 3) ระบบเศรษฐกิจชุมชน มีความ 
เข้มแข็ง พึ่งพาตนเองได้ มีความพร้อมที่จะพัฒนาสาหรับการแข่งขันทางการค้าในอนาคต 
● แรงงาน 1) ลดการเคลื่อนย้ายแรงงานในวัยทางานนอกฤดูทานา 2) เกิดการจ้างงานเพิ่ม 210 
ตาแหน่ง มูลค่า 3.28 ล้านบาท/ปี 
● สภาพแวดล้อมชุมชน สภาพแวดล้อมโดยรอบชุมชนดีขึน้ จากการที่โรงงาน รับซือ้เศษวัสดุเหลือ 
ใช้ทางการเกษตร เพื่อผลิตพลังงาน มลพิษทางอากาศลดลงจากการเปลี่ยนระบบพลังงานชีวมวล 
กิจกรรมด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์และการพัฒนาตลาดเป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับระบบอุตสาหกรรมและธุรกิจ 
ทวั่ไป สามารถใช้ทุน เทคโนโลยี กาลังคนที่มีการศึกษาการบริหาร รวมทัง้นโยบายของรัฐบาล ในการเพิ่มประสิทธิภาพ ลด 
ต้นทุนการผลิต และการเปิดตลาดใหม่ได้ 
การผลิตพืชเกษตรในเชิงเกษตรอุตสาหกรรมนัน้ ตัวแปรสาคัญที่กาหนดความสาเร็จหรือความล้มเหลวคือ 
เกษตรกร เกษตรกรของไทยมีประสบการณ์และความรู้ที่ถ่ายทอดจากบรรพบุรุษ ด้านการผลิตเพื่อการยังชีพและเพื่อการ 
ขายในตลาดทวั่ไป มีประสบการณ์ที่ขมขื่นเรื่องการผลิตพืชเกษตรที่ขาดหลักประกันด้านการตลาดรวมทัง้ขาดปัจจัยที่ 
จาเป็นในการผลิต ขาดความรู้และปัจจัยเพื่อการเพิ่มผลผลิต การผลิตพืชเกษตรในเชิงอุตสาหกรรมต้องการความประณีต 
ความเข้าใจในเรื่องการวางแผนการเพาะปลูก การดูแลและการเก็บเกี่ยวให้สัมพันธ์กับช่วงเวลาปริมาณและคุณภาพของ 
วัตถุดิบ การพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรตามที่ตัง้เป้าหมายไว้ในกรอบรวมของการพัฒนาประเทศในระยะยาว จะเกิดขึน้ได้ 
และมีความเป็นไปได้ทางเศรษฐกิจ เมื่อเราสามารถพัฒนาเกษตรกรให้มีการผลิตพืชเกษตรในเชิงเกษตรอุตสาหกรรมได้ 
เป้าหมายเชิงพัฒนาของโครงการโรงงานหลวงอาหารสาเร็จรูป อยู่ที่การพัฒนาเกษตรกรให้สามารถผลิตพืช 
เกษตรในระบบเกษตรอุตสาหกรรม การดาเนินการจึงมุ่งที่จะยกระดับและให้ความสนับสนุนเกษตรกร โครงการโรงงาน 
หลวงอาหารสาเร็จรูปจึงให้ความสาคัญแก่ระบบเกษตรอุตสาหกรรมไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าขัน้ตอนการแปรรูปผลิตภัณฑ์ ซึ่ง 
การเน้นหนักนีต้่างจากโรงงานอุตสาหกรรมเกษตรทวั่ไป ในโครงการโรงงานหลวงอาหารสาเร็จรูปมิใช่เพียงสถาน 
ประกอบการที่รับซื้อวัตถุดิบและแรงงาน เช่น โรงงานอุตสาหกรรมทั่วไปทั้งหลาย แต่โรงงานหลวงอาหาร 
สา เร็จรูปต้องเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน ต้องมีกิจกรรมเชิงสังคมและตอบสนองความต้องการเชิงสังคมของชุมชน 
นั้น ๆ ด้วย กิจกรรมเชิงพัฒนาสังคมจึงเป็นส่วนสา คัญของโครงการนี้ 
การสรุปบทเรียนจากพัฒนาการของโรงงานหลวงดังกล่าว เป็นฐานคิดที่สาคัญต่อการกาหนดทิศทางเพื่อการ 
หน้า 21 
ดาเนินงานในอนาคต ดังนี้ 
ทิศทางอนาคต ในปี 2551-2553 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จโรงงานหลวงทัง้สาม 
แห่งหลายครั้ง ทรงมีรับสงั่ถึงการทางานของโรงงานหลวงกับเด็กและเกษตรกร การมีบทบาทของชุมชน การ 
ส่งเสริมให้เกษตรกรผลิตวัตถุดิบให้ได้มากขึน้
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 
ทีม ECT ไรซ์สาระ 
แผนธุรกิจ Rice for Life 
โรงงานหลวงเต่างอย โรงงานหลวงเต่างอยอยู่ในชุมชนที่เก่าแก่กว่าหนงึ่ร้อยปี เก่ากว่าชุมชนรอบโรงงานหลวง 
ฝางและโรงงานหลวงแม่จัน โรงงานหลวงเต่างอยอยู่ในพืน้ที่การเกษตรขนาดใหญ่ของอิสานเหนือ มีระบบ 
ชลประทานที่ดี แต่ตัง้อยู่ในพืน้ที่ปิดด้านการเคลื่อนย้ายของคนจากภายนอกและการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม 
การเดินทาง และการท่องเที่ยว เทียบกับโรงงานหลวงฝางและโรงงานหลวงแม่จัน 
ผลิตภัณฑ์ตราเต่ายิม้ของวิสาหกิจชุมชนที่ดูไม่น่าสนใจ แนวทางการพัฒนาการหาอัตลักษณ์ของชุมชน 
หมู่บ้านนางอยเพื่อนามาใช้กับผลิตภัณฑ์ซึ่งมองเห็นภาพภูมิทัศน์ของชุมชนทางกายภาพที่สาคัญ เช่น การใช้ 
รูปแบบของสถาปัตยกรรมพืน้ถิ่นของชุมชนเองเช่นอาคารยุ้งฉางเก็บข้าวซึ่งมีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมเฉพาะ 
ของถิ่นที่ไม่เหมือนที่อื่นและไม่มีความหมายเชิงลบมาเป็นรูปแบบสัญลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ 
รูปฉางข้าวซงึ่เป็นสถาปัตยกรรมท้องถิ่นของหมู่บ้านนางอย โพนปลาโหล และตัวอย่างการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ 
หน้า 22 
ดูน่าสนใจเมื่อมีการปรับรูปแบบแล้วใน การใส่ถุงพลาสติกสุญญากาศ 
พนื้ที่ภาคอิสานบน โรงงานหลวงควรเป็นผู้นาด้านเกษตรปลอดภัย/เกษตรอินทรีย์ ซงึ่เป็นทิศทางอนาคตของโลก 
อาหาร วิถีชีวิตของพลเมืองโลก และการรักษาสิ่งแวดล้อม การทางานในอนาคตของโรงงานหลวงเต่างอยควรพัฒนา 
ด้านเกษตรปลอดภัย/เกษตรอินทรีย์เริ่มจากข้าว ซึ่งน่าจะเปลี่ยนกระบวนทัศน์ด้านเกษตรของชาวบ้านได้เพราะการลงทุนที่ 
เป็นเงินลดลงและมูลค่าสูงขึน้ และทาผักอื่นๆต่อไป โดยอาจตัง้ต้นที่มะเขือเทศ เกิดผลิตภัณฑ์มะเขือเทศใหม่ที่มาจาก 
จากการลดและปลอดสารเคมี ทัง้นคี้วรสร้างกลไกการระบายข้าวกล้องเข้าสู่ตลาดควบคู่กัน
แผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for life

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะการพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะThanaporn Prommas
 
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณMacro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณOrnkapat Bualom
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจCherie Pink
 
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็คtumetr1
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)Nattakorn Sunkdon
 
3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศkasetpcc
 
มูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลามูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลาtumetr1
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟNattakorn Sunkdon
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันTaraya Srivilas
 
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรมCh7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรมple2516
 
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจOrawonya Wbac
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจHerby drinks
ตัวอย่างแผนธุรกิจHerby drinksตัวอย่างแผนธุรกิจHerby drinks
ตัวอย่างแผนธุรกิจHerby drinksNattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกThamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลังchontee55
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจไพบููลย์ หัดรัดชัย
 
เทคนิคการเรียบเรียงวรรณกรรม1
เทคนิคการเรียบเรียงวรรณกรรม1เทคนิคการเรียบเรียงวรรณกรรม1
เทคนิคการเรียบเรียงวรรณกรรม1Prachyanun Nilsook
 

Mais procurados (20)

นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะการพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
 
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณMacro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
 
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
 
3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ
 
มูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลามูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลา
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
 
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรมCh7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
 
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจHerby drinks
ตัวอย่างแผนธุรกิจHerby drinksตัวอย่างแผนธุรกิจHerby drinks
ตัวอย่างแผนธุรกิจHerby drinks
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
 
บันทึกข้อความซื้อ
บันทึกข้อความซื้อบันทึกข้อความซื้อ
บันทึกข้อความซื้อ
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
เทคนิคการเรียบเรียงวรรณกรรม1
เทคนิคการเรียบเรียงวรรณกรรม1เทคนิคการเรียบเรียงวรรณกรรม1
เทคนิคการเรียบเรียงวรรณกรรม1
 

Destaque

ข้าวหอมมะลิ ไทยไปไต้หวัน
ข้าวหอมมะลิ ไทยไปไต้หวันข้าวหอมมะลิ ไทยไปไต้หวัน
ข้าวหอมมะลิ ไทยไปไต้หวันAtomizz
 
ThaiRiceProject-Singapore
ThaiRiceProject-SingaporeThaiRiceProject-Singapore
ThaiRiceProject-Singaporeunyaratt
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)Nattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)Nattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำปุ๋ยอินทรีย์จากน้ำปลา(Manure fish)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำปุ๋ยอินทรีย์จากน้ำปลา(Manure fish)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำปุ๋ยอินทรีย์จากน้ำปลา(Manure fish)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำปุ๋ยอินทรีย์จากน้ำปลา(Manure fish)Nattakorn Sunkdon
 
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”Utai Sukviwatsirikul
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)Nattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ดตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ดNattakorn Sunkdon
 
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนรายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนSuppakuk Clash
 
ระบบการผลิตข้าวภาคเหนือตอนบน
ระบบการผลิตข้าวภาคเหนือตอนบนระบบการผลิตข้าวภาคเหนือตอนบน
ระบบการผลิตข้าวภาคเหนือตอนบนRice Development
 
การวิเคราะห์สถิติการส่งออกข้าว
การวิเคราะห์สถิติการส่งออกข้าวการวิเคราะห์สถิติการส่งออกข้าว
การวิเคราะห์สถิติการส่งออกข้าวPuriwat Satapornkraiwat
 
Thai riceproject อัญญารัตน์-singapore
Thai riceproject อัญญารัตน์-singaporeThai riceproject อัญญารัตน์-singapore
Thai riceproject อัญญารัตน์-singaporeunyaratt
 
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...Vitsanu Nittayathammakul
 
เอกสารวิชาการข้าวหอมมะลิบรรจุถุง โซ่อุปทานและโครงสร้างตลาด
เอกสารวิชาการข้าวหอมมะลิบรรจุถุง โซ่อุปทานและโครงสร้างตลาดเอกสารวิชาการข้าวหอมมะลิบรรจุถุง โซ่อุปทานและโครงสร้างตลาด
เอกสารวิชาการข้าวหอมมะลิบรรจุถุง โซ่อุปทานและโครงสร้างตลาดSomporn Isvilanonda
 
กระบวนการผลิต
กระบวนการผลิตกระบวนการผลิต
กระบวนการผลิตSoratouch Punsuwan
 
BDC412 Coca-Cola
BDC412 Coca-ColaBDC412 Coca-Cola
BDC412 Coca-Colaantypat22
 
ThaiRice Project-Polynesia
ThaiRice Project-PolynesiaThaiRice Project-Polynesia
ThaiRice Project-PolynesiaEarngiie Be
 
Thai riceproject กัมพูชา
Thai riceproject กัมพูชาThai riceproject กัมพูชา
Thai riceproject กัมพูชาsasinasupa
 

Destaque (20)

ข้าวหอมมะลิ ไทยไปไต้หวัน
ข้าวหอมมะลิ ไทยไปไต้หวันข้าวหอมมะลิ ไทยไปไต้หวัน
ข้าวหอมมะลิ ไทยไปไต้หวัน
 
ThaiRiceProject-Singapore
ThaiRiceProject-SingaporeThaiRiceProject-Singapore
ThaiRiceProject-Singapore
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำปุ๋ยอินทรีย์จากน้ำปลา(Manure fish)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำปุ๋ยอินทรีย์จากน้ำปลา(Manure fish)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำปุ๋ยอินทรีย์จากน้ำปลา(Manure fish)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำปุ๋ยอินทรีย์จากน้ำปลา(Manure fish)
 
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
 
Thai rice project japan
Thai rice project japanThai rice project japan
Thai rice project japan
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ดตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
 
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนรายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
 
ข้าว
ข้าวข้าว
ข้าว
 
ระบบการผลิตข้าวภาคเหนือตอนบน
ระบบการผลิตข้าวภาคเหนือตอนบนระบบการผลิตข้าวภาคเหนือตอนบน
ระบบการผลิตข้าวภาคเหนือตอนบน
 
การวิเคราะห์สถิติการส่งออกข้าว
การวิเคราะห์สถิติการส่งออกข้าวการวิเคราะห์สถิติการส่งออกข้าว
การวิเคราะห์สถิติการส่งออกข้าว
 
Thai riceproject อัญญารัตน์-singapore
Thai riceproject อัญญารัตน์-singaporeThai riceproject อัญญารัตน์-singapore
Thai riceproject อัญญารัตน์-singapore
 
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...
 
เอกสารวิชาการข้าวหอมมะลิบรรจุถุง โซ่อุปทานและโครงสร้างตลาด
เอกสารวิชาการข้าวหอมมะลิบรรจุถุง โซ่อุปทานและโครงสร้างตลาดเอกสารวิชาการข้าวหอมมะลิบรรจุถุง โซ่อุปทานและโครงสร้างตลาด
เอกสารวิชาการข้าวหอมมะลิบรรจุถุง โซ่อุปทานและโครงสร้างตลาด
 
กระบวนการผลิต
กระบวนการผลิตกระบวนการผลิต
กระบวนการผลิต
 
BDC412 Coca-Cola
BDC412 Coca-ColaBDC412 Coca-Cola
BDC412 Coca-Cola
 
ThaiRice Project-Polynesia
ThaiRice Project-PolynesiaThaiRice Project-Polynesia
ThaiRice Project-Polynesia
 
Thai riceproject กัมพูชา
Thai riceproject กัมพูชาThai riceproject กัมพูชา
Thai riceproject กัมพูชา
 

Semelhante a แผนการตลาด Rice for life

โครงการธนาคารข้าว
โครงการธนาคารข้าวโครงการธนาคารข้าว
โครงการธนาคารข้าวJrd Babybox
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ใหม่
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ใหม่โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ใหม่
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ใหม่Babymook Juku
 
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...freelance
 
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทยยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทยวราภรณ์ ทรัพย์รวงทอง
 
การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14
การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14
การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14somporn Isvilanonda
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองbenya_28030
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองbenya2013
 
การปฏิรูปการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่
การปฏิรูปการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่การปฏิรูปการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่
การปฏิรูปการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่ThailandCoop
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรdaiideah102
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์Krumai Kjna
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำโครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำBabymook Juku
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำโครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำBabymook Juku
 
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงfreelance
 
Merged document
Merged documentMerged document
Merged documentapecthaitu
 
กฎหมายร ฐธรรมน ญส_วนท__ 6-10
กฎหมายร ฐธรรมน ญส_วนท__ 6-10กฎหมายร ฐธรรมน ญส_วนท__ 6-10
กฎหมายร ฐธรรมน ญส_วนท__ 6-10Sirirat Faiubon
 
Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7tongsuchart
 

Semelhante a แผนการตลาด Rice for life (20)

case study Cp
case study Cpcase study Cp
case study Cp
 
โครงการธนาคารข้าว
โครงการธนาคารข้าวโครงการธนาคารข้าว
โครงการธนาคารข้าว
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ใหม่
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ใหม่โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ใหม่
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ใหม่
 
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
 
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทยยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
 
การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14
การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14
การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
 
ทำดีถวายพ่อ
ทำดีถวายพ่อทำดีถวายพ่อ
ทำดีถวายพ่อ
 
การปฏิรูปการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่
การปฏิรูปการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่การปฏิรูปการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่
การปฏิรูปการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
Present 26 01-2556
Present 26 01-2556Present 26 01-2556
Present 26 01-2556
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำโครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำโครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
 
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Merged document
Merged documentMerged document
Merged document
 
กฎหมายร ฐธรรมน ญส_วนท__ 6-10
กฎหมายร ฐธรรมน ญส_วนท__ 6-10กฎหมายร ฐธรรมน ญส_วนท__ 6-10
กฎหมายร ฐธรรมน ญส_วนท__ 6-10
 
Industry 2020
Industry 2020 Industry 2020
Industry 2020
 
Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7
 

Mais de Vitsanu Nittayathammakul

สรุปผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
สรุปผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557สรุปผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
สรุปผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557Vitsanu Nittayathammakul
 
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557Vitsanu Nittayathammakul
 
Activity Based Learning Kits for Children in a Disadvantaged Community Accord...
Activity Based Learning Kits for Children in a Disadvantaged Community Accord...Activity Based Learning Kits for Children in a Disadvantaged Community Accord...
Activity Based Learning Kits for Children in a Disadvantaged Community Accord...Vitsanu Nittayathammakul
 
รูปแบบรายการโทรทัศน์ เพื่อการรู้เท่าทันสื่อ สำหรับเด็กอายุ 6-12 ปี
รูปแบบรายการโทรทัศน์ เพื่อการรู้เท่าทันสื่อ สำหรับเด็กอายุ 6-12 ปี รูปแบบรายการโทรทัศน์ เพื่อการรู้เท่าทันสื่อ สำหรับเด็กอายุ 6-12 ปี
รูปแบบรายการโทรทัศน์ เพื่อการรู้เท่าทันสื่อ สำหรับเด็กอายุ 6-12 ปี Vitsanu Nittayathammakul
 
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อน
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อนสตอรี่บอร์ดลดโลกร้อน
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อนVitsanu Nittayathammakul
 
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อน
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อนสตอรี่บอร์ดลดโลกร้อน
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อนVitsanu Nittayathammakul
 

Mais de Vitsanu Nittayathammakul (6)

สรุปผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
สรุปผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557สรุปผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
สรุปผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
 
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
 
Activity Based Learning Kits for Children in a Disadvantaged Community Accord...
Activity Based Learning Kits for Children in a Disadvantaged Community Accord...Activity Based Learning Kits for Children in a Disadvantaged Community Accord...
Activity Based Learning Kits for Children in a Disadvantaged Community Accord...
 
รูปแบบรายการโทรทัศน์ เพื่อการรู้เท่าทันสื่อ สำหรับเด็กอายุ 6-12 ปี
รูปแบบรายการโทรทัศน์ เพื่อการรู้เท่าทันสื่อ สำหรับเด็กอายุ 6-12 ปี รูปแบบรายการโทรทัศน์ เพื่อการรู้เท่าทันสื่อ สำหรับเด็กอายุ 6-12 ปี
รูปแบบรายการโทรทัศน์ เพื่อการรู้เท่าทันสื่อ สำหรับเด็กอายุ 6-12 ปี
 
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อน
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อนสตอรี่บอร์ดลดโลกร้อน
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อน
 
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อน
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อนสตอรี่บอร์ดลดโลกร้อน
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อน
 

แผนการตลาด Rice for life

  • 1.
  • 2.
  • 3. รายการคาถามและข้อเสนอแนะ ที่ได้รับจากคณะกรรมการในรอบที่ผ่านมา ลาดับ รายการคาถามและข้อเสนอแนะ การดาเนินการแก้ไข ปรับปรุง 1 หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่น้อมนามาใช้ หากไปไม่ถึง หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจริงๆ แนะนาให้ตัดออก บทนา และความเป็นมา 2 เนื่องจากเราบอกว่ากลุ่มเป้าหมายหลัก คือ คน ใน มจธ. ตลาดอยู่ในมือเรา จึงไม่ต้องไปทุ่มเรื่องการสร้างแบรนด์และ บรรจุภัณฑ์ มากนัก บทนา และความเป็นมา สมมติฐานทางการตลาด การนาเสนอกลยุทธ์ทางการตลาด วิธีวัดและการประเมินผล 3 ให้บอกไปเลยว่าเป็น One Market One Product เราจะได้ เน้นการขาย โฟกัสใน มจธ. และเครือข่าย ของเราเอง ได้ ชัดเจนมากขึน้ บทนา และความเป็นมา ข้อเสนอแนะ 4 การสร้างมูลค่าเพิ่ม ควรเพิ่มความชัดเจนเกี่ยวกับ เรื่องราว (Story) หรือวิธีการสื่อสารเชื่อมโยงประโยชน์ที่ชาวบ้าน บ้านนางอยฯ จะได้รับ ในการกาหนดตาแหน่งของผลิตภัณฑ์ (USP.) การนาเสนอกลยุทธ์ทางการตลาด 5 ควรเพิ่มวิธีการจูงใจกลุ่มเป้าหมาย ผ่านสื่อ อาจเป็นรูปแบบ การดาเนินชีวิตของคน Green Heart & Healthy เพื่อให้เห็น ภาพ และควรมีภาพบ้านนางอยให้เห็นด้วย การนาเสนอกลยุทธ์ทางการตลาด 6 เชิญท่านอาจารย์ศักรินทร์ ภูมิรัตน (ท่านอธิการบดี มจธ.) มาเป็นพรีเซ็นเตอร์ให้ผลิตภัณฑ์ การนาเสนอกลยุทธ์ทางการตลาด
  • 4. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ทีม ECT ไรซ์สาระ แผนธุรกิจ Rice for Life หน้า 1 สารบัญ (Content) หน้า 1.บทนา และความเป็นมา 2 2.บทสรุปผู้บริหาร (Executive Summary) 4 3.สมมติฐานในการวางแผนการตลาด (Assumption) 5 4.แผนการตลาด (Marketing Plan) 5 4.1 การวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด (Market Analysis) 5 การวิเคราะห์การตลาดและสภาพแวดล้อม 5 การแข่งขันและคู่แข่ง 6 การวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย 6 การกาหนดกลุ่มเป้าหมาย หรือ ตลาดเป้าหมาย 6 การกาหนดตาแหน่งผลิตภัณฑ์ 6 4.2 นาเสนอกลยุทธ์ทางการตลาด (Marketing Strategy) 7 4.3 พิจารณาโอกาสและความเสี่ยงในธุรกิจ (Opportunities & Threats Analysis) 13 4.4 พิจารณาจุดแข็งและจุดอ่อน (Strength & Weakness Analysis) 13 4.5 วิธีวัดและการประเมินผล (Evaluation) 14 5.แผนการตลาดระยะ 1 ปี 15 6.บทสรุป (Conclusion) และข้อเสนอแนะ (Recommendations) 18 7.ข้อสนับสนุนอื่นๆ (Supporting Information & Appendices) 19 8.เอกสารอ้างอิง 24 9.บุคคลอ้างอิง 24 ภาคผนวก
  • 5. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ทีม ECT ไรซ์สาระ แผนธุรกิจ Rice for Life หน้า 2 1.บทนา และความเป็นมา ประเทศไทย มีสภาพภูมิประเทศที่เหมาะสมกับการเพาะปลูกข้าว ประกอบกับภูมิปัญญาพืน้บ้านมาสู่การเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยีที่สูงขึน้ จึงทาให้ไทยสามารถผลิตข้าวได้เพียงพอสาหรับการบริโภคภายในประเทศและมีเหลือมากพอ ส่งออกไปต่างประเทศจนสามารถครองตาแหน่งผู้ส่งออกข้าวอันดับหนงึ่ของโลกมาเป็นระยะเวลายาวนานกว่า 30 ปี [1] ข้าวเป็นหัวใจสาคัญของคนไทยทั่วทั้งประเทศทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และมวลชน ข้าวมีความเกี่ยวข้องกับเกษตรกรชาวนากว่า 3.70– 4.15 ล้านครัวเรือน จากเกษตรกรทัง้ประเทศ 5.6 ล้านครัวเรือน หรือ คิด เป็น ร้อ ย ล ะ 66 ข อ งค รัว เรือ น เก ษ ต รก รทั้งห ม ด พื้น ที่เพ าะ ป ลูก ข้า วปีล ะป ระม า ณ 56 – 68 ล้าน ไร่ หรือร้อยละ 40 ของพืน้ที่ทาการเกษตรทวั่ประเทศ ได้ผลผลิตปีละประมาณ 30.0 – 31.0 ล้านตันข้าวเปลือก มูลค่าปีละ ประมาณ 180,000 - 200,000 ล้านบาท ซึ่งเป็นรายได้หลักที่หล่อเลีย้งเกษตรกร ในระดับรากหญ้า และที่สาคัญข้าวเป็น พืชที่สร้างความมนั่คงด้านอาหารมิใช่แต่สา หรับชาวไทยแต่ยังมีความสา คัญต่อประชากรโลกด้วย [2] ภาคการเกษตรเป็นฐานรายได้หลักและความมั่นคงด้านอาหารของประเทศ ก่อให้เกิดประโยชน์หลายด้าน ทัง้แหล่งสร้างงาน แหล่งผลิตอาหาร และเชื่อมโยงวิถีชีวิตของสังคมไทย มีส่วนสาคัญในการลดความยากจน สร้างงาน และลดผลกระทบจากภาวะโลกร้อน ชุมชนท้องถิ่นเป็นกลไกที่มีความสามารถ ในการบริหารจัดการ มีส่วนร่วมในการ พัฒนาคุณภาพชีวิตและเชื่อมโยงกันเป็นสังคมสวัสดิการ เป็นพลังหลักในการพัฒนาฐานรากของประเทศให้มนั่คง [3] [4] มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ในฐานะสถาบันอุดมศึกษาของไทย มีความตระหนักต่อ กระแสการพัฒนาที่มุ่งการอยู่ร่วมกันของคนในสังคมและสงิ่แวดล้อมโลกเริ่มชัดเจน เป็นเรื่องจาเป็นมากยิ่งขึน้ ดังนัน้การ ยึดโยงภาคสังคม (Social Relevance) เป็นหนึ่งนโยบายหนึ่งที่สาคัญ ของ มจธ. ที่การสร้างความรู้ที่เป็นเลิศและพัฒนา บัณฑิตที่มีคุณภาพ ต้องนาไปสู่การสร้างคุณค่าให้แก่สังคม (Creating Social Value) จึงมีการดาเนินโครงการ มหาวิทยาลัยกับชุมชนและสังคมเป็นกิจกรรม ของมหาวิทยาลัยที่ คณาจารย์ บุคลากรและนักศึกษา ร่วมกันทางานและ เรียนรู้ชุมชนและสังคมภายนอกอย่างต่อเนื่อง โดยยึดถือผลลัพธ์ที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อคนในพื้นที่เป็นหลัก มีฐานความคิดที่สาคัญ คือให้ประชาคม มจธ. มีสานึกรับผิดชอบในการใช้วิชาการ เพื่อรับใช้และอุ้มชูสังคมไทย [5] โดยได้ให้ความร่วมมือกับโครงการหลวง และโครงการตามพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยการจัดการด้านความเป็นอยู่ และให้ความรู้ ความเข้าใจ กับชาวบ้าน ในชุมชนที่อยู่ในพื้นที่ของโครงการหลวง เพื่อฟื้นฟู และพัฒนาคุณภาพชีวิต ความเป็นอยู่ให้ดีขึน้ สอดคล้องกับ แนวพระราชดารัสของทัง้สองพระองค์ ซึ่งมีด้วยกันหลายจังหวัด อาทิ จังหวัดน่าน เชียงใหม่ และลาพูน เป็นต้น นอกจากนียั้งมีโครงการมหาวิทยาลัยกับชุมชน ได้จัดสรรบุคลากร และงบประมาณเพื่อพัฒนาชุมชนบริเวณโดยรอบ มหาวิทยาลัยฯ ตลอดจนชุมชนอื่นๆ ทวั่ประเทศ เพื่อเป็นการพัฒนา และจัดการคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ให้ดีขึน้ [6] รศ.ด ร.ศักรินทร์ ภูมิรัตน อธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี [7] กล่าวว่า “ขณะนี้เรากาลังเดินไปสู่สเตปที่สาม คือพยายามช่วยให้เกิดวิสาหกิจชุมชน แต่ปัญหาเราขาดผู้นาชุมชน ที่เข้มแข็งพอที่จะพากลุ่มก้าวไปสู่การพัฒนาตัวเองต่อไปได้ การที่จะทาให้ชุมชนก้าวสู่วิสาหกิจชุมชนได้นัน้ไม่มีสูตรสา เร็จ ต้องเริ่มจากการทางานแบบเคียงบ่าเคียงไหล่เป็นเพื่อนกับชุมชนและสิ่งที่จะให้ชาวบ้านได้คือเครื่องมือ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ความรู้และโอกาส วิสาหกิจชุมชนนัน้ ต้องเข้าใจระบบตลาด เข้าใจวิถีการพัฒนา หรือสามารถทางานร่วมกับ โรงงานใหญ่ได้อย่างรู้เท่าทัน แต่สิ่งที่เป็นปัญหาสาหรับสังคมไทย คือความสานึกรักบ้านเกิด เราจึงพยายามพัฒนา
  • 6. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ทีม ECT ไรซ์สาระ แผนธุรกิจ Rice for Life เยาวชนรุ่นใหม่ ให้เป็นผู้นาและอยากพัฒนาชุมชนตนเองให้ดีขึน้ แต่สงิ่ที่แสดงชัดเจนว่าที่ผ่านมา เราทาสา เร็จคือ ชาวบ้าน ไม่ทงิ้ถิ่นเข้ามาขายแรงงานในเมือง ชาวบ้านมีความรู้ มีอาชีพ มีรายได้ และสงิ่ที่ตามมาคือคุณภาพชีวิตดีขึน้แน่นอน" พื้นที่หมู่บ้านนางอย-โพนปลาโหล ตั้งอยู่ในตาบลเต่างอย อาเภอเต่างอย จังหวัดสกลนคร ชาวบ้าน มีความเป็นอยู่ที่ต่ากว่ามาตรฐาน มีความขัดสน ขาดแคลนแหล่งนา้ เด็กในหมู่บ้านขาดสารอาหารพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จมายังหมู่บ้าน เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2523และมีพระราชดาริเกี่ยวเนื่องกับการพัฒนา บ้านนางอย – โพนปลาโหล โดยให้ปรับปรุงสภาพความเป็นอยู่ของราษฎรในหมู่บ้านดีขึน้ ส่งเสริมให้มีรายได้เพิ่มขึน้ และ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้มีพระราชดาริ ในปี พ.ศ. 2529 ให้ใช้โรงงานหลวงเป็นแหล่งให้ การศึกษาด้านเทคนิคแก่นักเรียนในพืน้ที่และการให้การศึกษาวิชาชีพระดับสูงแก่ลูกหลานเกษตรกร เพื่อให้สามารถ รับผิดชอบโรงงานหลวงได้เพิ่มขึน้จนได้มีการจัดตัง้บริษัทดอยคาผลิตภัณฑ์อาหาร จากัด ม าดูแลโรงงานหลวง ในปี พ.ศ. 2537 ทาให้โรงงานหลวงถอยห่างจากชุมชน จนฝ่ายบริหารบริษัทไม่รู้จักชนบท ความสัมพันธ์ระหว่างโรงงาน หลวงกับชาวบ้านเปลี่ยนเป็นนายจ้างกับลูกจ้าง เปลี่ยนเป็นผู้ซือ้วัตถุดิบกับผู้ผลิตวัตถุดิบ กิจกรรมด้านการพัฒนาชนบท และการส่งเสริมการเกษตรหายไป ใช้คนกลางและอาศัยกลไกตลาด เกิดการแข่งขัน ในระหว่างพ่อค้าคนกลางและระหว่าง โรงงาน ทัง้โรงงานและเกษตรกรต่างแบกภาระความเสยี่งเพิ่มขึน้ไม่ใช่หุ้นส่วนและพันธมิตรอีกต่อไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) จึงได้ช่วยให้เกิดการรวมกลุ่มเกษตรกรเป็นวิสาหกิจชุมชน เพื่อให้สามารถจัดการทุนของชุมชนได้ด้วยตนเอง รวมทั้งการผลิต การแปรรูปและการจัดจาหน่ายด้วยกลุ่มฯ ทัง้นเี้พื่อให้ชุมชนสามารถพงึ่ตนเองได้ การจัดการผลิตข้าวกล้อง จึงดาเนินงานภายใต้ศูนย์การเรียนรู้วิสาหกิจชุมชนอาเภอ เต่างอยที่หมู่บ้านนางอย โดยมี มจธ. เป็นที่ปรึกษา [4] และจากการดาเนินงาน ศูนย์การเรียนรู้วิสาหกิจชุมชนอาเภอเต่า งอยที่หมู่บ้านนางอยที่ผ่านมา [8] ได้ประสบปัญหาเกี่ยวกับวัตถุดิบข้าวกล้องงอกและสินค้าค้างสต๊อก ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์ ข้าวกล้องงอกตกต่าลง เนื่องจากคนในชุมชนยังขาดองค์ความรู้เกี่ยวกับการตลาด และไม่มีการวางแผนการตลาดที่ดี ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอกค้างสต๊อก ซึ่งอาจส่งผลให้ข้าวกล้องงอกมีคุณภาพต่าลง ด้วยเหตุนี้ คณะผู้จัดทาแผนการตลาดฉบับนี้ จึงต้องการเข้าไปช่วย แก้ปัญหาด้านการตลาด โดยได้ใช้ใช้องค์ความรู้ด้านการสอื่สารการตลาดแบบบูรณาการ ในรูปแบบ “หนงึ่ตลาด หนงึ่ผลิตภัณฑ์” ซงึ่สอดคล้องกับ บริบทและสภาพปัจจุบันของ ศูนย์การเรียนรู้วิสาหกิจชุมชน ในโครงการพระราชดาริ บ้านนางอย-โพนปลาโหล อาเภอเต่างอย จังหวัดสกลนคร เพื่อช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของคนในชุมชน ได้อย่างยงั่ยืน หน้า 3 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ กับ นายกวั่ง วิดีสา ชาวบ้านบ้านนางอย โครงการพัฒนาตามพระราชดาริ อาเภอเต่างอย จังหวัดสกลนคร และโรงงานหลวงอาหารสาเร็จรูปที่ 3
  • 7. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ทีม ECT ไรซ์สาระ แผนธุรกิจ Rice for Life หน้า 4 2.บทสรุปผู้บริหาร (Executive Summary) แผนการตลาด Rice for Life ผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอก ของศูนย์การเรียนรู้วิสาหกิจชุมชน ในโครงการ พระราชดาริ บ้านนางอย-โพนปลาโหล อาเภอเต่างอย จังหวัดสกลนคร มีกลุ่มเป้าหมายหลัก คือ ประชาคมมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ได้แก่ คณาจารย์ บุคลากร และ นักศึกษา มีกลุ่มเป้าหมายรอง คือ ผู้หญิง ที่รักสุขภาพ ใส่ใจคุณค่าทางโภชนาการของข้าวกล้องงอก มีอายุตัง้แต่ 21 ปีขึน้ไป รวมถึงผู้สูงอายุ/ผู้ป่วยที่เป็น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และอัลไซเมอร์ แผนการตลาดฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้1) เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ ผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอก บ้านนางอย-โพนปลาโหล 2) เพื่อสร้างเสริมทรัพยากรมนุษย์ในพืน้ที่ศูนย์การเรียนรู้วิสาหกิจ ชุมชนในโครงการพระราชดาริ บ้านนางอย-โพนปลาโหล 3) เพื่อเพิ่มช่องทางการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอก บ้าน นางอย-โพนปลาโหล 4) เพื่อเพิ่มยอดขายผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอก บ้านนางอย-โพนปลาโหล โดยบูรณาการเข้ากับ หลักสูตรการศึกษาและโครงการต่างๆของมหาวิทยาลัย โดยสร้างแรงจูงใจให้นักศึกษา บุคลากรและคณาจารย์ ให้เป็นกล ไกลหลักในการสนับสนุนการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน การดาเนินงาน ได้ยึดบริบทของชมุชน เป็นสาคัญ โดยวิธีการที่ใช้ ประกอบด้วย 1) ถ่ายองค์ความรู้ เทคโนโลยีด้านการผลิต การควบคุมและประกันคุณภาพพัฒนาระบบอุตสาหกรรม เกษตรขนาดเล็กที่มีความยืดหยุ่นสูงต่อชนิดวัตถุดิบและกาลังการผลิตทสี่ามารถเลีย้งตัวเองได้ในระดับหนงึ่ 2) ระดมสรรพ กาลังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ในการให้ความช่วยเหลือด้านวิชาการ การ จัดการ และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ รวมทัง้การศึกษาวิจัยและพัฒนา (R&D) สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่และกระบวนการ ใหม่ โดยใช้ผลิตผลข้าวกล้องงอกในพืน้ที่ รวมทัง้ปรับปรุงผลิตภัณฑ์และกระบวนการเดิม โดยการจัดตัง้ทุนการศึกษา สาหรับนักศึกษาปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา (เป็นส่วนหนึ่งของการสาเร็จการศึกษา) ในการทาวิจัยและพัฒนาทางด้าน การสื่อสารการตลาด เพื่อยกระดับข้าวกล้องงอก บ้านนางอย-โพนปลาโหล รวมทัง้การจัดประกวดต่างๆ ภายใน มหาวิทยาลัย 3) พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในพืน้ที่ชนบทที่เกี่ยวข้อง ทัง้ด้านการผลิต ด้านการจัดการและด้านการตลาด รวมทัง้ การจัดตัง้กองทุนการศึกษาในสายวิชาชีพแก่นักเรียนในท้องถิ่นร่วมกับชุมชน และ 4) สร้างตลาดรองรับผลิตภัณฑ์ ข้าวกล้องแปรรูปที่แน่นอน ผลลัพธ์ คือ ได้กลไกการพัฒนาร่วมกันของชุมชนและสถาบันการศึกษา ที่มุ่งพัฒนาคุณภาพ ชีวิต เศรษฐกิจ สังคม สร้างงาน สร้างรายได้และกระจายรายได้ อนุรักษ์วิถีชีวิตชุมชนให้คงอยู่ เกิดการสร้างมูลค่าเพิ่มและ ผันเงินตราจากตลาดมาสู่ชนบท เป็นกลไกลที่สอดคล้องและช่วยแก้ปัญหาที่เกิดขึน้ในสภาพปัจจุบันของชุมชนและอยู่ใน ขอบเขต ที่มหาวิทยาลัยวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี สามารถนาไปปรับใช้ได้จริง การวัดผล โดยการวัดจาก ยอดขายก่อนและหลังดาเนินงาน รวมทัง้ การใช้กระบวนการวิจัย โดยใช้เครื่องมือในการวิจัย เช่น แบบสัมภาษณ์ และ แบบสอบถาม ซึ่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มีระเบียบ หลักเกณฑ์ และขัน้ตอนการทาวิทยานิพนธ์ ที่มี ความน่าเชื่อถือและเป็นที่ยอมรับทางวิชาการ อีกทั้งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ยังเป็น 1 ใน 9 มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติอีกด้วย
  • 8. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ทีม ECT ไรซ์สาระ แผนธุรกิจ Rice for Life หน้า 5 3.สมมติฐานในการวางแผนการตลาด (Assumption) การสมมติฐานในการวางแผนการตลาด มีสอดรับกับวัตถุประสงค์ของแผนการตลาดและสภาพตลาดจริง เช่น สภาวะแวดล้อม สภาพเศรษฐกิจ การเมือง พฤติกรรมผู้บริโภค เทคโนโลยี 1) ผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอก บ้านนางอย-โพนปลาโหล มีมูลค่าสูงขึน้ ร้อยละ 30 2) ผู้เข้าฝึกอบรมได้รับความรู้และทักษะซึ่งมีความพึงพอใจในระดับมาก และสร้างบัณฑิตที่มีคุณภาพกลับคืน สู่ถิ่นบ้านเกิด 3) มีช่องทางการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอก บ้านนางอย-โพนปลาโหล เพิ่มขึน้ทัง้ในสอื่ออฟไลน์และ ออนไลน์ 4) ยอดขายผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอก บ้านนางอย-โพนปลาโหล เติบโตร้อยละ 200 ในปีแรก 4.แผนการตลาด (Marketing Plan) 4.1 การวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด (Market Analysis) การวิเคราะห์การตลาดและสภาพแวดล้อม ปัจจุบันจากพฤติกรรมความสนใจสุขภาพที่มีมากขึน้ ส่งผลให้ตลาดข้าวเพื่อสุขภาพ มีการเติบโตมากขึน้ คาดว่ามีสัดส่วน 7 – 10 % จากตลาดข้าวถุง มูลค่าประมาณ 2,000 ล้านบาท ในปี 2553 ถือได้ว่าเป็นตลาด ที่มีการเจริญเติบโตต่อเนื่อง และมีศักยภาพเติบโตได้อีกมาก เนื่องจากในปัจจุบันผู้บริโภคต่างหันมาสนใจสุขภาพ ประกอบกับมีความรู้เรื่องต่างๆ มากขึน้ จึงเลือกซือ้และรับประทานแต่อาหารปลอดพิษ รวมถึงการเลือกรับประทานข้าว กล้องเริ่มงอกมากขึน้โดยเฉพาะกับกลุ่มเป้าหมายผู้บริโภคที่ดูแลตัวเองแลต้องการผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ [9] [10] ช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ.2552-2556) "ข้าวกล้องงอก" จัดได้ว่าเป็นอาหารที่ได้รับความนิยมบริโภคอย่างสูง กระทั่งมีการผลิตเพื่อป้อนสู่ตลาดอาหารเพื่อสุขภาพอย่างมากมาย เนื่องจากมีการกล่าวถึงสรรพคุณต่อการบาบัด หรือช่วยฟื้นฟูสุขภาพของผู้บริโภค ทั้งการออกฤทธิ์ต่อต้านอนุมูลอิสระ และลดภาวะความเครียด คลายกังวล อันเป็นผลมาจากสาร ในกลุ่มสารประกอบฟีนอลกิและสารกาบา (GABA: gamma-amino butyric acid) การแข่งขันและคู่แข่ง การแข่งขันของข้าวกล้องเริ่มงอกยี่ห้อต่างๆ ส่วนใหญ่ที่วางจาหน่ายในตลาดนัน้ จะเป็นข้าวกล้องงอกที่ผลิตใน ลักษณะการผลิตแบบสินค้าชุมชนหรือวิสาหกิจชุมชน ซึ่งขาดการควบคุมคุณภาพทัง้ในส่วนของสูตรการผลิตเพื่อให้ได้ สารอาหารโดยเฉพาะสาร GABA สูงสุดและการควบคุมคุณภาพในกระบวนการผลิต ซึ่งสามารถคิดค้นพัฒนาเทคโนโลยี กระบวนการผลิตและเครื่องต้นแบบในการผลิตข้าวนึ่งกล้องจากข้าวเปลือกเริ่มงอก เพื่อให้ได้สภาวะที่ดีที่สุดทีมีปริมาณ สาร GABA
  • 9. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ทีม ECT ไรซ์สาระ แผนธุรกิจ Rice for Life หน้า 6 การวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย จากการศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภค พบว่า ผู้บริโภคให้ความสาคัญเรื่องสุขภาพ โดยให้เหตุผลหลัก ในการบริโภคข้าวกล้องของผู้บริโภค เพราะเป็นข้าวที่มีคุณประโยชน์และมีความห่วงใยในสุขภาพ รวมทั้งซื้อ เมื่อมีปัญหาสุขภาพ ปัญหาที่มีผลกระทบต่อการเลือกซือ้ข้าวกล้องของผู้บริโภค ปัญหาจากมอดและแมลง มีพฤติกรรม ในการซือ้ คือ นิยมเลือกซือ้ข้าวกล้องที่เป็นพันธ์ุที่ให้ความหอม คุณสมบัติของข้าวหลังการหุง ความถี่ในการซือ้ข้าวกล้อง คือ 2-3 ครั้ง ต่อเดือน ปริมาณการเลือกซื้อข้าวกล้องคือ ซื้อ 2 กิโลกรัมต่อครั้งสถานที่ในการซื้อข้าวกล้องคือ ห้างสรรพสินค้า (Department Store) และซุปเปอร์มาร์เก็ต (Supermarket) ร้านขายสินค้าราคาถูก (Discount Store) และร้านค้าออนไลน์ โดยคานึงถึงความสะดวกในการเลือกซือ้ เพราะใกล้บ้านและที่ทางาน ส่วนใหญ่จะมีการรับรู้ ข้อมูลข่าวสารของข้าวกล้องจากสอื่โทรทัศน์และกลุ่มเพื่อน/ญาติ การกา หนดกลุ่มเป้าหมาย หรือ ตลาดเป้าหมาย (Target Market) ผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมายหลัก คือ ประชาคม มจธ. [14] ได้แก่ คณาจารย์ บุคลากร และ นักศึกษาระดับปริญญา ตรี นักศึกษาระดับปริญญาโท และนักศึกษาระดับปริญญาเอก รวมจานวนทัง้หมด 20,321 คน ผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมายรอง คือ ผู้หญิง มีอายุตัง้แต่ 21 ปีขึน้ไป ทมีี่รายได้เฉลยี่ต่อเดือน 12,000 ขึน้ไป เป็นผู้ที่ มีการศึกษาอยู่ในระดับอนุปริญญา/ปวส. ขึน้ไป ผู้ที่รักสุขภาพ ใส่ใจคุณค่าทางโภชนาการของข้าวกล้องงอก รวมถึง ผู้สูงอายุ/ผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และอัลไซเมอร์ ส่วนการตัง้ราคานัน้จะใช้กลยุทธ์การตัง้ราคาและ High-Value Strategy มลีูกค้าเป้าหมายที่มีรายได้ระดับกลางขึน้ไป ด้วยคุณค่าและคุณภาพที่เป็นเลิศของข้าวกล้องงอก การกาหนดตาแหน่งของผลิตภัณฑ์ (USP.) คุณค่าทางโภชนาการ ข้าวกล้องงอกบ้านนางอย-โพนปลาโหล ข้าวกล้องงอกโดยทวั่ไป ข้าวกล้อง ข้าวขาวโดยทวั่ไป เรื่องราวและคุณค่าทางจติใจ หมายเหตุ : เรื่องราวและคุณค่าทางจิตใจ เป็นการสื่อความหมายให้ผู้บริโภค ให้รับรู้ว่า “การซือ้ผลิตภัณฑ์นี้ ช่วยส่งเสริมให้ลูกชาวนาจากชนบท ให้มีโอกาสได้รับการศึกษา “ทุน Rice for Life” จนเป็นบัณฑิต ที่กลับไปพัฒนา ท้อ ง ถิ่น ข อ ง ต น เอ งแ ล ะ เป็น ก า ลัง ส า คัญ ใน ก า รพัฒ น า ป ระ เท ศ ช า ติต่อ ไป ” โด ย เชื่อ ม โย ง ให้เห็น ถึง รูป แบ บ กา รดาเนิน ชีวิต ขอ งค น Green Heart & Healthy โด ย เรา จ ะ ใช้ Key Message : Rice for Life ข้าวกล้องบ้านนางอย เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของชาวบ้าน โดยจะใช้ Key Message : Rice for Life ทั้งในสื่อออฟไลน์และออนไลน์ (เชิญรับชมในวันเสนอ วันที่ 5 มิถุนายน 2557)
  • 10. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ทีม ECT ไรซ์สาระ แผนธุรกิจ Rice for Life หน้า 7 4.2 นาเสนอกลยุทธ์ทางการตลาด (Marketing Strategy) กลยุทธ์การตลาด การนาเสนอ กลยุทธ์ผลิตภัณฑ์ (Product Strategy) 1.คุณสมบัติผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอกมีความพิเศษ คือ มี “กาบา” ซึ่งเป็น ประโยชน์ต่อสุขภาพส่งผลให้เกิดมีกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้คนที่รักสุขภาพ และ สามารถเก็บรักษาได้ยาวนานกว่าข้าวขาวธรรมดา 2.สนับสนุนการพัฒนาและปรับปรุงพันธ์ขุ้าวกล้อง ให้เหมาะกับการบริโภค เช่น มีความหอม และคุณสมบัติหลังการหุงเสร็จ กลยุทธ์ราคา (Price Strategy) 1.การกาหนดราคาต้องคานึงถึงปัจจัยต้นทุนการผลิตบวกกับผลกาไรที่ต้องการ จะได้ แล้วจึงกาหนดราคาขายออกมา โดยต้องคานึงสภาพการแข่งขันของตลาด สินค้า 2.ลดต้นทุนที่ไม่ฟุ่มเฟือย เช่น ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ทอี่าจเกินความจาเป็น กลยุทธ์การจัดจาหน่าย (Place Strategy) 1.เพิ่มช่องทางการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องฯ ในมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ทั้ง 3 วิทยาเขต ได้แก่ วิทยาเขตบางมด วิทยาเขตบางขุนเทียน และวิทยาเขตราชบุรี ตลอดจนพืน้ที่โครงการพิเศษต่างๆ ของมหาวิทยาลัย เช่น ศูนย์การเรียนรู้ในเมือง ศูนย์นอกพืน้ที่ลพบุรี ศูนย์นอก พนื้ที่สุราษฎร์ธานี 2.สร้างเครือข่าย โดยอาศัยพันธมิตรของมหาวิทยาลัย ในการเพิ่มช่อง ทางการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอก บ้านนางอย-โพนปลาโหล เช่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอม เกล้าลาดกระบัง และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีธัญบุรี 3.การใช้โอกาสสาคัญต่างๆของมหาวิทยาลัย ในการจัดจาหน่าย เมื่อ มหาวิทยาลัยเป็นเจ้าภาพการจัดประชุม เช่น การประชุมอธิการบดีแห่งประเทศ ไทย,การประชุมสภาคณบดีคณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์แห่งประเทศไทย, การประชุมสภาคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย การประชุม วิชาการโสตฯ-เทคโนสัมพันธ์แห่งประเทศไทย 4. Online Marketing (การตลาดออนไลน์) เป็นการทาการตลาดผ่านระบบ อินเตอร์เน็ต ผ่านเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยควบคู่สังคมออนไลน์ ซึ่งวิธีนีเ้ป็นการ ทาการตลาดที่สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ในเวลาอันรวดเร็ว โดยสามารถ เข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้ทั่วโลก หรือแบบเฉพาะเจาะจงแล้วแต่ความต้องการของ ลูกค้า สามารถช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย ทัง้ในเรื่องของพนักงานขาย การโฆษณา ป ระชาสัม พัน ธ์ในรูป แบ บ สื่อต่างๆ เช่น ห นังสือพิม พ์ วิท ยุ โท รทัศ น์ ป้ายโฆษณา และอื่นๆ อีกมากมาย เพราะการตลาดออนไลน์เป็นบริการตลอด -
  • 11. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ทีม ECT ไรซ์สาระ แผนธุรกิจ Rice for Life หน้า 8 กลยุทธ์การตลาด การนาเสนอ กลยุทธ์การจัดจาหน่าย (Place Strategy) 24 ชวั่โมง ทาให้ปริมาณการซอื้-ขายเพิ่มขึน้ตลอดเวลา โดยใช้เทคนิคดังนี้  ใช้ช่องทางการสื่อสารออนไลน์ของมหาวิทยาลัย ที่ประชาคมเปิดรับ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด  การเลือกโดเมนที่เหมาะสม ง่ายต่อการจดจา  การใช้ Key Message ที่ตรงใจกับลูกค้า และสินค้า  การวางแผนงานต่างๆ เพื่อให้เป็นไปตามขัน้ตอน  การทา Search Engine Optimization (SEO) ที่ดี  การบริการสอบถามทางโทรศัพท์ โดย มจธ.  การบริการจัดส่งผ่านทางไปรษณีย์ โดย มจธ. กลยุทธ์การส่งเสริม การตลาด (Promotion Strategy) การส่งเสริมการตลาด เฉพาะการลด แลก แจก แถม เช่น 1.การสะสมสลากสินค้าเพื่อนามาเป็นส่วนลด 5 % หรือนาสลากไปใช้ประโยชน์ ร่วมส่งเสริมการตลาดร่วมกับสินค้าอื่นๆ 2.การนาสลากมาชิงโชคเพื่อลุ้นไปเที่ยวยังศูนย์การเรียนรู้ที่จังหวัดสกลนครเพื่อ เป็นการเรียนรู้วัฒนธรรมของชุมชน 4 วัน 3 คืน กับดารานักแสดงภายใน มหาวิทยาลัย (ไหว้สักการะผาพญาเต่างอย เดินป่าศึกษาธรรมชาติ ล่องเรือ แคนนูตามลานา้พุง ผจญภัยไต่หน้าผา แข่งจักรยานเสือภูเขา วอลเล่ย์บอล ชายหาดริมนา้พุง) 3.แถมที่ตวงข้าว
  • 12. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ทีม ECT ไรซ์สาระ แผนธุรกิจ Rice for Life หน้า 9 กลยุทธ์การตลาด การนาเสนอ กลยุทธ์การบรรจุภัณฑ์ (Packaging Strategy) 1. ออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่ประหยัดต้นทุน แต่ยังคงด้วยคุณค่าทางโภชนาการ 2.สร้างบุคลิกให้กับผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยบรรจุภัณฑ์จะต้อง เป็นมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด โดยใช้กระดาษเป็นกระดาษคาดกับบรรจุ ภัณฑ์สุญญากาศ 3.บรรจุภัณฑ์ ช่วยสร้างความมนั่ใจให้แก่ผู้บริโภค โดยกาหนดให้มีเครื่องหมาย รับรองผลิตภัณฑ์ ข้าวกล้องที่ได้มาตรฐาน ปลอดสารเคมี กลยุทธ์พนักงานขาย (Personal Strategy) 1.การจาหน่ายตรงโดยใช้พนักงานขายที่ศูนย์หนังสือพระจอมเกล้าธนบุรี ร้านค้า สหกรณ์ มจธ. และ ธรรมรักษาสแควร์ โดยการใช้พนักงานขายจะเน้นการสร้าง สัมพันธภาพที่ดีต่อลูกค้าเพื่อให้มีลูกค้าประจา และสร้างลูกค้าใหม่ โดยเน้นการ ดูแลให้ลูกค้าประทับใจ ซึ่งพนักงานขายของ มจธ. ถือเป็นพนักงานประจาของ ทางมหาวิทยาลัยที่ผ่านการฝึกอบรมให้มี Service Mind ซึ่งถือเป็นหัวใจสาคัญ ของงานบริการ คนที่ทางานบริการจะต้องให้บริการแก่ลูกค้า 2.ให้ผู้บริหารเป็น Presenter โดยท่านอธิการบดีฯ เป็นสอื่บุคคล กลยุทธ์การให้ข่าวสาร (Public Relation Strategy) ใช้ตาแหน่งของผลิตภัณฑ์ โดยการสื่อความหมายให้ผู้บริโภค รับรู้ว่า “การซือ้ ผลิตภัณฑ์นี้ ช่วยส่งเสริมให้ลูกชาวนาจากชนบท มีโอกาสได้รับการศึกษา “ทุน Rice for Life” จนเป็นบัณฑิต ที่กลับไปพัฒนาท้องถิ่นของตนเองและเป็นกาลัง สาคัญในการพัฒนาประเทศชาติต่อไป” โดยเชื่อมโยงให้เห็นถึงรูปแบบการ ดาเนินชีวิตของคน Green Heart & Healthy ผ่านสื่อออนไลน์และออฟไลน์ ดังนี้ สื่อออฟไลน์ ได้แก่ 1.โปสเตอร์/ไวนิลประชาสัมพันธ์ 2.TVC เปิดภายในมหาวิทยาลัย 3.กระจายเสียงผ่าน E-Radio 101.25 MHz ของมหาวิทยาลัย 4.ประชาสัมพันธ์บนหนังสือพิมพ์ อินไซด์ มจธ. 5.จัดกิจกรรมพิเศษ (Events) เปิดตัวข้าวกล้องงอก 6.นิทรรศการ “ข้าว” ในวันพืชมงคล และวันข้าวและชาวนาแห่งชาติ
  • 13. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ทีม ECT ไรซ์สาระ แผนธุรกิจ Rice for Life หน้า 10 กลยุทธ์การตลาด การนาเสนอ กลยุทธ์การให้ข่าวสาร สื่อออนไลน์ ได้แก่ (Public Relation Strategy) 1.เว็บไซต์มหาวิทยาลัย 2,Facebook Face Page 3.YouTube Channel การจัดกิจกรรมเพื่อตอบแทนสังคม ได้แก่ 1.การฝึกอบรมและพัฒนาร่วมกัน ทัง้ด้านการผลิต ด้านการจัดการ และ ด้านการตลาด ปีละ 4 ครัง้ (ทุก 3 เดือน หรือทุกๆไตรมาส) 2.นักเรียนในท้องถิ่น ผ่านการคัดเลือกให้ได้ทุน การศึกษา ในสายวิชาชีพ ในปีแรก 4 คน กลยุทธ์พลัง (Power Strategy) ใช้อานาจในการต่อรองเพื่อสร้างเครือข่าย โดยอาศัยพันธมิตรของมหาวิทยาลัย ในการพัฒนาช่องทางกาจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอก บ้านนางอย-โพน ปลาโหล เช่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าลาดกระบัง ฯลฯ
  • 14. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ทีม ECT ไรซ์สาระ แผนธุรกิจ Rice for Life หน้า 11
  • 15. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ทีม ECT ไรซ์สาระ แผนธุรกิจ Rice for Life หน้า 12
  • 16. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ทีม ECT ไรซ์สาระ แผนธุรกิจ Rice for Life หน้า 13 4.3 พิจารณาโอกาสและความเสี่ยงในธุรกิจ (Opportunities & Threats Analysis) การพิจารณาโอกาสและความเสี่ยงในธุรกิจ ของตัวผลิตภัณฑ์ / บริการ / โครงการฯ โอกาส ความเสียง 1.มจธ.ประกาศตนเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว โดยได้รับ การจัดอันดับให้เป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว อันดับที่ 17 ของโลก 2.ข้าวกล้องงอกเป็นผลิตภัณฑ์ เพื่อสุขภาพซงึ่ผู้บริโภค สนใจผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพมากยิ่งขึน้ 3.แนวโน้มการเพิ่มขึน้ของประชากรผู้สูงอายุ ใน มจธ. 1.มีคู่แข่งที่เป็นวิสาหกิจชุมชนเชน่เดียวกันค่อนข้างมาก 2.มีผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพอื่นๆทดแทน เช่น นา้มัน มะพร้าว นา้มันราข้าว ที่รับประทานง่ายและสะดวกกว่า 4.4 พิจารณาจุดแข็งและจุดอ่อน (Strength & Weakness Analysis) การพิจารณาจุดแขง็และจุดอ่อน ของตัวผลิตภัณฑ์ เพื่อดาเนินตามกลยุทธ์ทางการตลาดที่ได้วิเคราะห์ไว้เบอื้งต้น จุดแข็ง จุดอ่อน 1.คนในชุมชนมีภูมิปัญญาท้องถิ่น และความสามารถ ในการผลิตข้าวกล้องงอก เป็นแห่งแรกในประเทศไทย 2.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีเป็นที่ ปรึกษาในการดาเนินงานวิสาหกิจชุมชนอย่างต่อเนื่อง 1.ชุมชนไม่มีช่องทางการกระจายสินค้า 2.ชุมชนขาดสื่อประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการขาย
  • 17. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ทีม ECT ไรซ์สาระ แผนธุรกิจ Rice for Life หน้า 14 4.5 วิธีวัดและการประเมินผล (Evaluation) ลาดับ วัตถุประสงค์ เป้ าหมาย วิธีการวัดและประเมินผล 1 เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ ผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอก บ้าน นางอย-โพนปลาโหล 1.ผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอก บ้านนางอย-โพนปลาโหล มี มูลค่าสูงขึน้ ร้อยละ 30 1.การเปรียบเทียบราคาก่อนและหลัง ดาเนินการ 2.แบบ สอบถามเกี่ยวกับ ทัศนคติ เกี่ยวกับคุณค่าของผลิตภัณฑ์ข้าว กล้องงอก บ้านนางอย-โพนปลาโหล ของบุคลากรและชุมชนใกล้เคียง มจธ. 2 เพื่อสร้างเสริมทรัพยากรมนุษย์ ในพืน้ที่ศูนย์การเรียนรู้ วิสาหกิจชุมชนในโครงการ พระราชดาริ บ้านนางอย-โพน ปลาโหล 1.การฝึกอบรมและพัฒนา ร่วมกัน ทัง้ด้านการผลิต ด้าน การจัดการ และด้านการตลาด ปีละ 4 ครัง้ (ทุก 3 เดือน หรือ ทุกๆไตรมาส) 2.นักเรียนในท้องถิ่น ผ่านการ คัดเลือกให้ได้ทุน การศึกษา ใน สายวิชาชีพ ในปีแรก 4 คน 1.แบบทดสอบความรู้ หรือแบบการ สังเกต เกี่ยวกับการดาเนินงานภายใน ศูนย์การเรียนรู้วิสาหกิจชุมชนใน โครงการพระราชดาริ บ้านนางอย-โพน ปลาโหล 2.การสาเร็จการศึกษาของนักศึกษา 3 เพื่อเพิ่มช่องทางการจัด จาหน่ายผลิตภัณฑ์ข้าวกล้อง งอก บ้านนางอย-โพนปลาโหล 1.มีช่องทางการจัดจาหน่าย ผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอก บ้าน นางอย-โพนปลาโหล เพิ่มขึน้ ทัง้ในสอื่ออฟไลน์และออนไลน์ 1.จานวนช่องทางการจาหน่ายที่ เพิ่มขึน้ 2.แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อ สื่อออฟไลน์และออนไลน์ฯ 4 เพื่อเพิ่มยอดขายผลิตภัณฑ์ ข้าวกล้องงอก บ้านนางอย- โพนปลาโหล 1.ยอดขายผลิตภัณฑ์ข้าวกล้อง งอก บ้านนางอย-โพนปลาโหล เติบโตร้อยละ 200 ในปีแรก 1.ยอดขายผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอก บ้านนางอย-โพนปลาโหลที่เพิ่มขึน้
  • 18. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ทีม ECT ไรซ์สาระ แผนธุรกิจ Rice for Life หน้า 15 5. แผนกิจกรรมทางการตลาดระยะ 1 ปี ลาดับ รายการ/กิจกรรม กลยุทธ์ ระยะเวลา งบประมาณ 1 การฝึกอบรมและพัฒนาร่วมกัน ทัง้ด้านการผลิต ด้านการจัดการ และด้านการตลาด เช่น การจัดทา ฉลากสินค้า เพื่อนาไปติดบนบรรจุภัณฑ์ สุญญากาศ ผู้รับผิดชอบดาเนินงาน : ศูนย์ส่งเสริมและ สนับสนุนมูลนิธิโครงการหลวงและโครงการอัน เนื่องมาจากพระราชดาริ มจธ, Product Price ในเดือนแรกของ ทุกไตรมาส 120,000 บาท 2 เพิ่มช่องทางการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องฯ ใน มจธ. ทัง้ 3 วิทยาเขต ผู้รับผิดชอบดาเนินงาน : ฝ่ายอาคารสถานที่ มจธ. Place ในเดือน มกราคมและ สิงหาคม 60,000 บาท 3 การจาหน่ายผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ผ่านเว็บไซต์ ของมหาวิทยาลัยควบคู่สังคมออนไลน์ ผู้รับผิดชอบ : สา นักคอมพิวเตอร์ มจธ. Place ตลอดปี 30,000 บาท 4 การจาหน่ายตรงโดยใช้พนักงานขายที่ศูนย์หนังสือ มจธ. , สหกรณ์ มจธ. และธรรมรักษาสแควร์ ผู้รับผิดชอบดาเนินงาน : ศูนย์หนังสือ มจธ. , สหกรณ์ มจธ. และธรรมรักษาสแควร์ Place Personal ตลอดปี - 5 การใช้โอกาสสาคัญต่างๆของมหาวิทยาลัย ในการ จัดจาหน่าย ผู้รับผิดชอบดาเนินงาน : ศูนย์หนังสือ มจธ. , สหกรณ์ มจธ. และธรรมรักษาสแควร์ Public Relation ไตรมาสละ 1 ครัง้ -
  • 19. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ทีม ECT ไรซ์สาระ แผนธุรกิจ Rice for Life ลาดับ รายการ/กิจกรรม กลยุทธ์ ระยะเวลา งบประมาณ 6 จัดกิจกรรมพิเศษ (Events) เปิดตัวข้าวกล้องงอก หน้า 16 โดยให้ท่านอธิการบดีฯ เป็น Presenter ผู้รับผิดชอบดาเนินงาน : บูรณาการกับรายวิชา เรียนในหลักสูตรการศึกษาที่เกี่ยวข้อง Public Relation Personal ไตรมาสละ 1 ครัง้ 40,000 บาท 7 นิทรรศการ “ข้าว” ในวันพืชมงคล และวันข้าวและ ชาวนาแห่งชาติ ผู้รับผิดชอบดาเนินงาน : สา นักวิชาศึกษาทวั่ไป Public Relation ในเดือน พฤษภาคมและ มิถุนายน 40,000 บาท 8 สร้างเครือข่าย โดยอาศัยพันธมิตรของ มจธ. ผู้รับผิดชอบดาเนินงาน : ศูนย์ส่งเสริมและ สนับสนุนมูลนิธิโครงการหลวงและโครงการอัน เนื่องมาจากพระราชดาริ มจธ, Power Place ในเดือน มกราคมและ สิงหาคม 40,000 บาท 9 ประชาสัมพันธ์บนหนังสือพิมพ์ อินไซด์ มจธ. ผู้รับผิดชอบดาเนินงาน : กลุ่มงานการสอื่สาร เชิงกลยุทธ์และการตลาด มจธ. Public Relation ไตรมาสละ 1 ครัง้ - 10 กระจายเสียงผ่าน E-Radio 101.25 MHz ผู้รับผิดชอบดาเนินงาน : ภาควิชาเทคโนโลยีและ สื่อสารการศึกษา Public Relation ตลอดทัง้ปี - 11 TVC เปิดภายในมหาวิทยาลัย โดยให้ท่าน อธิการบดีฯ เป็น Presenter ผู้รับผิดชอบดาเนินงาน : กลุ่มงานการสอื่สาร เชิงกลยุทธ์และการตลาด มจธ. Public Relation Personal ช่วงภาค การศึกษาที่ 1 และช่างภาค การศึกษาที่ 2 10,000 บาท
  • 20. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ทีม ECT ไรซ์สาระ แผนธุรกิจ Rice for Life ลาดับ กิจกรรม กลยุทธ์ ระยะเวลา งบประมาณ 12 โปสเตอร์/ไวนิลประชาสัมพันธ์ หน้า 17 ผู้รับผิดชอบดาเนินงาน : ภาควิชาเทคโนโลยีการ พิมพ์และบรรจุภัณฑ์ Public Relation ช่วงภาค การศึกษาพิเศษ 4,000 บาท 13 สื่อออนไลน์ ได้แก่ เว็บไซต์,Facebook Face Page ,YouTube ผู้รับผิดชอบดาเนินงาน : ภาควิชาเทคโนโลยีและ สื่อสารการศึกษา Public Relation ตลอดทัง้ปี 20,000 บาท 14 คัดเลือกนักเรียนในท้องถิ่น ผ่านการคัดเลือกให้ได้ ทุนการศึกษา ผู้รับผิดชอบดาเนินงาน : ศูนย์ส่งเสริมและ สนับสนุนมูลนิธิโครงการหลวงและโครงการอัน เนื่องมาจากพระราชดาริ มจธ, ร่วมกับส่วน คัดเลือกนักศึกษา มจธ. Public Relation ระหว่างเดือน กุมภาพันธ์ ถึง เมษายน - 15 การส่งเสริมการขาย เช่น การสะสมสลากสินค้า และการแถมที่ตวงข้าว ผู้รับผิดชอบดาเนินงาน : สถานทจีั่ดจาหน่าย Promotion ตลอดทัง้ปี - 16 กิจกรรมเที่ยวบ้านนางอยฯ จังหวัดสกลนคร 4 วัน 3 คืน ในฤดูหนาว ผู้รับผิดชอบดาเนินงาน : ภาควิชาเทคโนโลยีและ สื่อสารการศึกษา Promotion Public Relation ระหว่างเดือน พฤศจิกายน ถึง ธันวาคม 40,000 บาท รวม 404,000 บาท หมายเหตุ : การดาเนินการในบางรายการ/กิจกรรม นั้นเป็นการดาเนินของหน่วยงานภายใน เป็นประจาทุกปีอยู่แล้ว จึงเป็นการดาเนินงานที่ไม่มีค่าใช้จ่าย เป็นการดาเนินงานเพื่อประสานงาน ในการสร้างความร่วมมือกันระหว่าง ระหว่างมหาวิทยาลัยและชุมชน
  • 21. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ทีม ECT ไรซ์สาระ แผนธุรกิจ Rice for Life หน้า 18 6.บทสรุป (Conclusion) และข้อเสนอแนะ (Recommendations) เพื่อชีแ้จงให้คณะกรรมการเห็นด้วยกับการวางแผนการตลาดครัง้นี้ บทสรุป (Conclusion) ข้าว เป็นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญของไทย เชื่อมโยงกับชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทย เป็นทั้งอาหารหลัก ที่ควรให้การส่งเสริมเรื่องการตลาดเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะแผนการตลาดฉบับนี้ที่ได้ต่อยอดจากการดาเนินงานที่ผ่านมา ของมหาวิทยาลัย โดยมุ่งที่จะสร้างกลไก อันประกอบด้วย 1. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มีองค์ประกอบ คือ อาจารย์ บุคลากรและนักศึกษา และ 2. ศูนย์การเรียนรู้วิสาหกิจชุมชน ในโครงการพระราชดาริ บ้านนางอย-โพนปลา โหล อาเภอเต่างอย จังหวัดสกลนคร มีองค์ประกอบคือ ผู้นาชุมชน สมาชิกชุมชน เด็กและเยาวชน) โดยเป็นการต่อยอด พัฒนาเพื่อสร้างการรับรู้ ให้กับสินค้าข้าวกล้องงอก โดยยึดหลักการพัฒนาที่ “คน” เป็นศูนย์กลางของพัฒนา ให้สามารถรักษาระดับการพัฒนาในระยะยาวได้ด้วยตนเอง โดยการระดมสรรพกาลังประชาคม มจธ. เพื่อให้ความ ช่วยเหลือด้านวิชาการ การจัดการ และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ รวมทัง้การศึกษาวิจัยและพัฒนา (R&D) สร้าง ผลิตภัณฑ์ใหม่และกระบวนการใหม่โดยใช้ผลิตผลข้าวกล้องงอกในพืน้ที่ รวมทัง้ปรับปรุงผลิตภัณฑ์และกระบวนการเดิม ที่ช่วยยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม สร้างงาน สร้างรายได้และกระจายรายได้ อนุรักษ์วิถีชีวิตชุมชนให้คงอยู่ เกิดการสร้างมูลค่าเพิ่ม และผันเงินตรามาสู่ชนบท ข้อเสนอแนะ (Recommendations) 1.การดาเนินกิจกรรมใน แผนการตลาดฉบับนี้อยู่ในขอบเขต (Scope) และค่าใช้จ่าย (Cost) ที่มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี สามารถนาไปปรับใช้ได้จริง ภายใต้การสนับสนุนของศูนย์ส่งเสริมและสนับสนุน มูลนิธิโครงการหลวงและโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ มจธ. และสานักกิจการนักศึกษา มจธ. 2.การดาเนินงาน ของ มจธ. ที่เข้าไปเป็นกลไกที่ร่วมขับเคลื่อนร่วมกับชุมชนภายนอก ที่ประสบความสาเร็จ ได้แก่ โครงการมหาวิทยาลัยเพื่อชุมชนและสังคม โครงการมหาวิทยาลัยสีเขียว โครงการครูช่างหัวใจหล่อต่อยอดอาชีพ ซาเล้ง และโครงการครูช่างปล่อยของสอนน้องสร้างหุ่นยนต์คุณธรรมจากขยะ
  • 22. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ทีม ECT ไรซ์สาระ แผนธุรกิจ Rice for Life หน้า 19 7.ข้อสนับสนุนอื่นๆ (Supporting Information & Appendices) กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ในปี 2551 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ร่วมกับ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ แห่งชาติ (ศช.) และสา นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เริ่มให้การสนับสนุนให้ชุมชนเริ่มเรียนรู้ เรื่อง วิสาหกิจชุมชนเพื่อพัฒนาศักยภาพ การรวมกลุ่ม เพื่อสนองแนวพระราชดาริให้ชุมชนสามารถรักษาสภาพความ เป็นอยู่และการพัฒนาต่อไปได้ด้วยกลุ่มของชาวบ้านเอง ทั้งนี้แนวคิดหลักของวิสาหกิจชุมชน มุ่งที่จะพัฒนา ความสามารถในการจัดการ “ทุนชุมชน” ได้อย่างเหมาะสมเพื่อการพึ่งตนเองตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงโดยมี กระบวนการเรียนรู้เป็นหัวใจสา คัญ โดยมีพลวัตรการพัฒนาการที่สา คัญ ดังนี้[4] 1) เกิดการจัดตัง้วิสาหกิจชุมชนขึน้ 4 กลุ่มและรวมกันเป็นเครือข่าย ด้วยความร่วมมือ ร่วมใจของชาวบ้าน ในพืน้ที่ทัง้สองหมู่บ้าน ภายใต้การสนับสนุนด้านวิชาการจาก สวทช. มจธ. และเครือข่ายพันธมิตรใน พืน้ที่ ประกอบด้วย วิสาหกิจชุมชนตามโครงการตามพระราชดาริ บ้านนางอย 1 และ 2 วิสาหกิจ ชุมชนโครงการตามพระราชดาริบ้านโพนปลาโหล และ วิสาหกิจชุมชนข้าวกล้องงอกบ้านนางอย – โพนปลาโหล 2) การดาเนินงานที่สาคัญของเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนประกอบด้วย การผลิตเม็ดพันธ์ุข้าวพันธ์ุดี (หอม มะลิ105 หอมพิเศษ–ทนนา้ท่วม) การปลูกข้าวปลอดสารพิษ ประยุกต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการผลิต ข้าวฮางผสมผสานกับความรู้สมัยใหม่เพื่อผลิตข้าวกล้องงอก 3) ความสาเร็จของเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนในรอบสามปี (2551 – 2553) พบว่ากลุ่มชาวบ้านมีการ พัฒนาการบริหารจัดการเชิงระบบดีขึน้เป็นลาดับ มีการจัดทารายงานทางการเงิน มีการพัฒนา ประสิทธิภาพและคุณภาพผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง มีการจัดเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้น ให้เป็นสวัสดิการ โดยรวมของหมู่บ้าน ตลอดจนมีเงินทุนสา รองของกลุ่ม เกิดกิจกรรมกลุ่มสัจจะออมทรัพย์ เป็นต้น
  • 23. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ทีม ECT ไรซ์สาระ แผนธุรกิจ Rice for Life หน้า 20 กิจกรรมการผลิตข้าวกล้องงอกโครงการตามพระราชดาริ บ้านนางอย และตัวอย่างผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอกโครงการตามพระราชดาริ บ้านนางอย ในปี 2552 ศูนย์การเรียนรู้วิสาหกิจชุมชนอาเภอเต่างอย เกิดขึน้จากพัฒนาการของเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ทัง้ ยังได้รับการสนับสนุนงบประมาณและด้านวิชาการ จาก สวทช.และ มจธ. โดยใช้อาคารบ้านพักและสานักงานของโรงงาน หลวงในอดีต (พ.ศ. 2525) โดยจัดสถานที่และสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมโอกาสในการเรียนรู้ การแลกเปลยี่นประสบการณ์ การสืบทอดภูมิปัญญา วัฒนธรรม ค่านิยม ตลอดจนเอกลักษณ์ของชุมชน และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี เสด็จเยี่ยมโรงงานหลวงที่ 3 และราษฏรบ้านนางอย – โพนปลาโหล ซึ่งอาคารโรงงานและสภาพเครื่องจักร อุปกรณ์การผลิตล้าสมัย เสื่อมสภาพไม่คุ้มที่จะซ่อมบารุงและดาเนินการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพได้ จึงทรงมี พระราชดาริ [4] ● ให้ฟื้นฟูและพัฒนาโรงงานหลวงที่ 3 เพื่อให้ชาวบ้านมีงานทา ● สามารถรับซือ้ผลผลิตการเกษตรและดาเนินการผลิตได้ตลอดทัง้ปี ● ตลอดจนชุมชนใกล้เคียงโรงงานสามารถได้รับประโยชน์จากการคงอยู่ของโรงงานได้ตลอดไป ซงึ่นามาสู่การ รับสนองพระราชดาริโครงการฟื้นฟูและพัฒนาโรงงานหลวงอาหารสาเร็จรูปที่ 3 ในการศึกษาวิเคราะห์ความ เป็นไปได้ในการลงทุน ฟื้นฟู พัฒนา ตลอดจนให้ข้อเสนอแนะด้านการบริหารจัดการ การผลิต การขายและ การตลาด การพัฒนาชุมชนภายใต้แนวคิด “ชุมชนได้รับประโยชน์ ธุรกิจอยู่ได้” โดยเครือธนาคารกสิกรไทยและ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ซึ่งได้ฐานแนวคิดและข้อสรุปที่สาคัญประกอบด้วย ก. เน้นลงทุนในระบบการผลิต ผลิตภัณฑ์ใหม่ ปรับปรุงเครื่องจักร สภาพโรงงานและลงทุนในระบบ พลังงานชีวมวลเพื่อลดต้นทุน ในวงเงินงบประมาณลงทุน ประมาณ 69.5 ล้าบาท ความคุ้มทุนทางการเงิน (NPV) 44.5 ล้านบาท ระยะเวลาคืนทุน ประมาณ 15 ปี ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจและสังคม (NPV) 555.6 ล้านบาท ระยะเวลาคืนทุนประมาณ 4 ปี เน้นสัดส่วนการลงทุนในสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดรายได้เป็นหลัก ไม่เน้น การลงทุนด้านอาคารและสิ่งปลูกสร้าง ข. ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ สังคม ประกอบด้วย
  • 24. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ทีม ECT ไรซ์สาระ แผนธุรกิจ Rice for Life ● เกษตรกร 1) ประมาณ 650 ครัวเรือน มีรายได้เพิ่มขึน้จากการเพาะปลูก นอกฤดูทานา 3.1 หมื่น บาท/ครัวเรือน/ปี 2) มีความรู้ ความเข้าใจที่เกิดจากการส่งเสริมการเพาะปลูกและนาไปสู่การใช้ทรัพยากรอย่าง คุ้มค่าและให้ผลตอบแทนสูงสุด ● ชุมชน 1) ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนเพื่อให้เกิดการรวมตัวกันของเกษตรกรในการประกอบธุรกิจระดับ ชุมชน มีความมนั่คงได้รับการรับรองตามกฎหมาย 2) ส่งเสริมความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น การพัฒนา ความสามารถ ในการจัดการตรงตามความต้องการอย่างแท้จริง 3) ระบบเศรษฐกิจชุมชน มีความ เข้มแข็ง พึ่งพาตนเองได้ มีความพร้อมที่จะพัฒนาสาหรับการแข่งขันทางการค้าในอนาคต ● แรงงาน 1) ลดการเคลื่อนย้ายแรงงานในวัยทางานนอกฤดูทานา 2) เกิดการจ้างงานเพิ่ม 210 ตาแหน่ง มูลค่า 3.28 ล้านบาท/ปี ● สภาพแวดล้อมชุมชน สภาพแวดล้อมโดยรอบชุมชนดีขึน้ จากการที่โรงงาน รับซือ้เศษวัสดุเหลือ ใช้ทางการเกษตร เพื่อผลิตพลังงาน มลพิษทางอากาศลดลงจากการเปลี่ยนระบบพลังงานชีวมวล กิจกรรมด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์และการพัฒนาตลาดเป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับระบบอุตสาหกรรมและธุรกิจ ทวั่ไป สามารถใช้ทุน เทคโนโลยี กาลังคนที่มีการศึกษาการบริหาร รวมทัง้นโยบายของรัฐบาล ในการเพิ่มประสิทธิภาพ ลด ต้นทุนการผลิต และการเปิดตลาดใหม่ได้ การผลิตพืชเกษตรในเชิงเกษตรอุตสาหกรรมนัน้ ตัวแปรสาคัญที่กาหนดความสาเร็จหรือความล้มเหลวคือ เกษตรกร เกษตรกรของไทยมีประสบการณ์และความรู้ที่ถ่ายทอดจากบรรพบุรุษ ด้านการผลิตเพื่อการยังชีพและเพื่อการ ขายในตลาดทวั่ไป มีประสบการณ์ที่ขมขื่นเรื่องการผลิตพืชเกษตรที่ขาดหลักประกันด้านการตลาดรวมทัง้ขาดปัจจัยที่ จาเป็นในการผลิต ขาดความรู้และปัจจัยเพื่อการเพิ่มผลผลิต การผลิตพืชเกษตรในเชิงอุตสาหกรรมต้องการความประณีต ความเข้าใจในเรื่องการวางแผนการเพาะปลูก การดูแลและการเก็บเกี่ยวให้สัมพันธ์กับช่วงเวลาปริมาณและคุณภาพของ วัตถุดิบ การพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรตามที่ตัง้เป้าหมายไว้ในกรอบรวมของการพัฒนาประเทศในระยะยาว จะเกิดขึน้ได้ และมีความเป็นไปได้ทางเศรษฐกิจ เมื่อเราสามารถพัฒนาเกษตรกรให้มีการผลิตพืชเกษตรในเชิงเกษตรอุตสาหกรรมได้ เป้าหมายเชิงพัฒนาของโครงการโรงงานหลวงอาหารสาเร็จรูป อยู่ที่การพัฒนาเกษตรกรให้สามารถผลิตพืช เกษตรในระบบเกษตรอุตสาหกรรม การดาเนินการจึงมุ่งที่จะยกระดับและให้ความสนับสนุนเกษตรกร โครงการโรงงาน หลวงอาหารสาเร็จรูปจึงให้ความสาคัญแก่ระบบเกษตรอุตสาหกรรมไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าขัน้ตอนการแปรรูปผลิตภัณฑ์ ซึ่ง การเน้นหนักนีต้่างจากโรงงานอุตสาหกรรมเกษตรทวั่ไป ในโครงการโรงงานหลวงอาหารสาเร็จรูปมิใช่เพียงสถาน ประกอบการที่รับซื้อวัตถุดิบและแรงงาน เช่น โรงงานอุตสาหกรรมทั่วไปทั้งหลาย แต่โรงงานหลวงอาหาร สา เร็จรูปต้องเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน ต้องมีกิจกรรมเชิงสังคมและตอบสนองความต้องการเชิงสังคมของชุมชน นั้น ๆ ด้วย กิจกรรมเชิงพัฒนาสังคมจึงเป็นส่วนสา คัญของโครงการนี้ การสรุปบทเรียนจากพัฒนาการของโรงงานหลวงดังกล่าว เป็นฐานคิดที่สาคัญต่อการกาหนดทิศทางเพื่อการ หน้า 21 ดาเนินงานในอนาคต ดังนี้ ทิศทางอนาคต ในปี 2551-2553 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จโรงงานหลวงทัง้สาม แห่งหลายครั้ง ทรงมีรับสงั่ถึงการทางานของโรงงานหลวงกับเด็กและเกษตรกร การมีบทบาทของชุมชน การ ส่งเสริมให้เกษตรกรผลิตวัตถุดิบให้ได้มากขึน้
  • 25. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ทีม ECT ไรซ์สาระ แผนธุรกิจ Rice for Life โรงงานหลวงเต่างอย โรงงานหลวงเต่างอยอยู่ในชุมชนที่เก่าแก่กว่าหนงึ่ร้อยปี เก่ากว่าชุมชนรอบโรงงานหลวง ฝางและโรงงานหลวงแม่จัน โรงงานหลวงเต่างอยอยู่ในพืน้ที่การเกษตรขนาดใหญ่ของอิสานเหนือ มีระบบ ชลประทานที่ดี แต่ตัง้อยู่ในพืน้ที่ปิดด้านการเคลื่อนย้ายของคนจากภายนอกและการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม การเดินทาง และการท่องเที่ยว เทียบกับโรงงานหลวงฝางและโรงงานหลวงแม่จัน ผลิตภัณฑ์ตราเต่ายิม้ของวิสาหกิจชุมชนที่ดูไม่น่าสนใจ แนวทางการพัฒนาการหาอัตลักษณ์ของชุมชน หมู่บ้านนางอยเพื่อนามาใช้กับผลิตภัณฑ์ซึ่งมองเห็นภาพภูมิทัศน์ของชุมชนทางกายภาพที่สาคัญ เช่น การใช้ รูปแบบของสถาปัตยกรรมพืน้ถิ่นของชุมชนเองเช่นอาคารยุ้งฉางเก็บข้าวซึ่งมีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมเฉพาะ ของถิ่นที่ไม่เหมือนที่อื่นและไม่มีความหมายเชิงลบมาเป็นรูปแบบสัญลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ รูปฉางข้าวซงึ่เป็นสถาปัตยกรรมท้องถิ่นของหมู่บ้านนางอย โพนปลาโหล และตัวอย่างการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ หน้า 22 ดูน่าสนใจเมื่อมีการปรับรูปแบบแล้วใน การใส่ถุงพลาสติกสุญญากาศ พนื้ที่ภาคอิสานบน โรงงานหลวงควรเป็นผู้นาด้านเกษตรปลอดภัย/เกษตรอินทรีย์ ซงึ่เป็นทิศทางอนาคตของโลก อาหาร วิถีชีวิตของพลเมืองโลก และการรักษาสิ่งแวดล้อม การทางานในอนาคตของโรงงานหลวงเต่างอยควรพัฒนา ด้านเกษตรปลอดภัย/เกษตรอินทรีย์เริ่มจากข้าว ซึ่งน่าจะเปลี่ยนกระบวนทัศน์ด้านเกษตรของชาวบ้านได้เพราะการลงทุนที่ เป็นเงินลดลงและมูลค่าสูงขึน้ และทาผักอื่นๆต่อไป โดยอาจตัง้ต้นที่มะเขือเทศ เกิดผลิตภัณฑ์มะเขือเทศใหม่ที่มาจาก จากการลดและปลอดสารเคมี ทัง้นคี้วรสร้างกลไกการระบายข้าวกล้องเข้าสู่ตลาดควบคู่กัน